10 intro taxonomy

Download Report

Transcript 10 intro taxonomy

ความหลากหลายทางชีวภาพ
องค์ประกอบของความหลากหลายทางชีวภาพ
1. ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต (SPECIES
DIVERSITY)
2. ความหลากหลายทางพันธุกรรม (GENETIC
DEVERSITY)
3. ความหลากหลายของระบบนิเวศ
(ECOLOGICAL DIVERSITY)
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
(SPECIES DIVERSITY) ในรูปใดมีมากกว่ากัน
สิ่งมีชีวิตในโลกนี้ มีลกั ษณะแตกต่าง
กันหลากหลาย เท่าที่ร้จู กั แล้วใน
ขณะนี้ มีกว่าล้านห้าแสนชนิด และ
ยังจะรู้จกั เพิ่มขึน้ อีก การที่จะศึกษา
ค้นคว้าเกี่ยวกับสิ่งมีชีวิตที่มี
มากมายถึงเช่นนี้ ได้ ก็เพราะใช้
วิธีการจัดจาแนกหมวดหมู่เข้ามา
ช่วยนัน่ เอง
นักวิทยาศาสตร์มีวิธีการหลาย
แนวทางในการจาแนกหมวดหมู่
สิ่งมีชีวิต เช่น ไดโคโตมัสคีย์
(dichotomous key) อนุกรมวิธาน
(Taxonomy) เป็ นต้น
ไดโคโตมัสคีย์ (dichotomous key)
เป็ นเครื่องมืออย่างหนึ่ งในการจาแนกสิ่งมีชีวิตออกเป็ นกลุ่มย่อย
โดยพิจารณาจากโครงสร้างทีละลักษณะที่แตกต่างกันเป็ นคู่ ๆ
สัตว์ที่จะจำแนก ได้แก่ จิงโจ้ วัว แมงมุม ผึ้ง
มีโครงร่ ำงแข็งภำยใน
มีกระเป๋ ำหน้ำท้อง ไม่มีกระเป๋ ำหน้ำท้อง
(จิงโจ้)
(วัว)
ไม่มีโครงร่ ำงแข็งภำยใน
มีหกขำ
(ผึ้ง)
ไม่ได้มีหกขำ
(แมงมุม)
ไดโคโตมัสคีย์ (dichotomous key)
1ก มีโครงร่างแข็งภายใน………………….…………ดูข้อ 2
1ข ไม่มีโครงร่างแข็งภายใน…………………………ดูข้อ 3
2ก มีกระเป๋าหน้ าท้อง………………….…………….จิงโจ้
2ข ไม่มีกระเป๋าหน้ าท้อง…………………………….วัว
3ก มีหกขา……………………………………………ผึง้
3ข ไม่ได้มีหกขา…………………………………….แมงมุม
ตัวอย่างจากสัตว์มกี ระดูกสันหลัง ซึง่ ประกอบด้วย ปลา
กระดูกอ่อน ปลากระดูกแข็ง สัตว์ครึง่ บกครึง่ น้ า
สัตว์เลือ้ ยคลาน นก และสัตว์เลีย้ งลูกด้วยนม ดังนี้
1ก
1ข
2ก
2ข
3ก
3ข
มีขน ..................................... ด ูข้อ 2
ไม่มีขน.................................... ด ูข้อ 3
ขนเป็นเส้น......................สัตว์เลี้ยงล ูกด้วยนม
ขนเป็นแผงแบบนก................... นก
มีครีบค ู่ ...................................ด ูข้อ 4
ไม่มีครีบคู่ .............................. ด ูข้อ 5
4ก
4ข
มีแผ่นปิดช่องเหงือก ............... ปลากระด ูกแข็ง
ไม่มีแผ่นปิดช่องเหงือก............. ปลากระด ูกอ่อน
5ก
5ข
ผิวหนังมีเกล็ด ........................ สัตว์เลื้อยคลาน
ผิวหนังไม่มีเกล็ด ........... สัตว์ครึ่งบกครึง่ น้า
จัดจาแนกสิ่งมีชีวิตต่อไปนี้ ตามวิธีไดโคโตมัสคีย์
งูเห่า นกยูง ปลาดุก ผีเสื้อ สิงโต เหยี่ยว จิงโจ้
การศึกษาความหลากหลายทางชีวภาพ
• นักชีววิทยาศึกษาโดยอาศัยหลักฐานทางซากดึกดา
บรรพ์ ที่สามารถคานวณอายุได้ และแสดงเป็ น
ตารางธรณี กาล (The geologic time scale)
• Era (มหายุค)
• Period (ยุค)
• Epoch (สมัย)
การศึกษาความหลากหลายทางชีวภาพ
ซากดึกดาบรรพ์
ชีวโมเลกุล
กายวิภาคเปรียบเทียบ
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา
ลักษณะทางนิเวศวิทยา
พฤติกรรม
สายวิวฒ
ั นาการ (phylogeny)
ระบบการจัดหมวดหมู่ของ
สิ่งมีชีวิต (systematics)
อนุกรมวิธาน
(taxonomy)
เกณฑ์โดยทัวไปที
่
่ใช้ในการจัดจาแนกสิ่งมีชีวิต
ในปัจจุบนั ได้แก่
1. เปรียบเทียบโครงสร้างที่เด่นชัดทัง้ ลักษณะ
ภายนอกและลักษณะภายใน
โครงสร้างที่มีต้นกาเนิดเดียวกัน (homologous
structure) แม้จะทาหน้ าที่ต่างกันก็ควรจะอยู่ใน
กลุ่มเดียวกัน ในขณะที่โครงสร้างซึ่งมีต้นกาเนิด
ต่างกัน (analogous structure) แม้จะทาหน้ าที่
เหมือนกันก็ควรจะอยู่คนละกลุ่มกัน
ลักษณะที่ใช้จดั จาแนกสิ่งมีชีวิต
2. แบบแผนของการเจริญเติบโต และโครงสร้างที ่
เกิดขึ้นในระยะทีเ่ ป็ นตัวอ่อน โดยใช้หลักที่ว่า
"สิ่งมีชีวิตใดที่มีลกั ษณะของตัวอ่อนคล้ายคลึงหรือ
มีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกันมาก ย่อมมีความสัมพันธ์
ทางเชื้อสายและวิวฒ
ั นาการมากด้วย
3. ซากดึกดาบรรพ์ ซึง่ อาศัยหลักทีว่ ่าสิง่ มีชีวิตมีวิวฒ
ั นาการ
ดังนัน้ สิ่งมีชีวิตใดที่มีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกันย่อมมีซากดึก
ดาบรรพ์ที่พบในชัน้ หินต่าง ๆ คล้ายคลึงกัน
และอาจทาให้ทราบถึงบรรพบุรษุ ของสิ่งมีชีวิตนัน้ ๆ
4. โครงสร้างของเซลล์และออร์แกเนล เป็ นการศึกษาในระดับ
เซลล์และส่วนประกอบของเซลล์ เช่นการแบ่งสิ่งมีชีวิต
ออกเป็ นพวกที่ไม่เป็ นเซลล์ เช่น ไวรัส และพวกที่เป็ นเซลล์
เช่นสิ่งมีชีวิตทัวไป
่
5. สรีรวิทยาและการสังเคราะห์สารเคมี
6. ลักษณะทางพันธุกรรม
อนุกรมวิธาน (taxonomy)
อนุกรมวิธานเป็ นวิชาที่ว่าด้วยกฎเกณฑ์เกี่ยวกับ
1. การจัดจาแนกสิ่งมีชีวิต (classification) ออกเป็ น
หมวดหมู่ต่างๆ
2. การกาหนดชื่อสากลของหมวดหมู่และชนิดของ
สิ่งมีชีวิต (nomenclature)
3. การตรวจสอบชื่อวิทยาศาสตร์ (Scientific Name)
ของสิ่งมีชีวิต (identification)
ประวัติการจัดจาแนกสิ่งมีชีวิต
Devil Cat
Ghost Cat
Mountain Lion
Screaming Cat
Puma
Florida Panther
Cougar
•There are at least 50 common
names for the animal shown on
the previous 7 slides.
•Common names vary according
to region.
•Soooo……why use a scientific
name?
การตัง้ ชื่อสิ่งมีชีวิต (nomenclature)
คาโรลัส ลินเนี ยส
(Corolus Linnaeus)
นักชีววิทยาชาวสวีเดนเป็ นผู้
ริเริ่มในการตัง้ ชื่อ
วิทยาศาสตร์ให้กบั สิ่งมีชีวิต
เมื่อ พ.ศ. 2310
โดยเสนอให้ใช้ 2 ชื่อ (binomial
nomenclature)
การตัง้ ชื่อสิ่งมีชีวิต ในการเรียกชื่อสิ่งมีชีวิต มีเรียกกัน 2
ชนิด คือ
• ชื่อสามัญ (Common name)
เป็ นชื่อเรียกสิ่งมีชีวิตชนิดหนึ่ ง ซึ่งแตกต่างกันไปตาม
ภาษาและท้องถิ่น
• ชื่อวิทยาศาสตร์ (Scientific name)
เป็ นชื่อเฉพาะเพื่อใช้เรียกสิ่งมีชีวิตเป็ นแบบสากล ซึ่ง
นักวิทยาศาสตร์ทวโลก
ั่
ไม่ว่าชาติใดภาษาใดรูจ้ กั กันโดย
ใช้ภาษาลาติน สาหรับตัง้ ชื่อวิทยาศาสตร์
หลักการตัง้ ชื่อวิทยาศาสตร์
• ใช้ชื่อภาษาละติน
• ชื่อทางวิทยาศาสตร์ของพืชและสัตว์จะเป็ นอิสระไม่ขึน้
ต่อกัน
• ชื่อวิทยาศาสตร์ของพืชและสัตว์แต่ละหมวดหมู่จะมีชื่อที่
ถูกต้องที่สดุ เพียงชื่อเดียว
• ชื่อหมวดหมู่ในลาดับขัน้ Family ลงไป ต้องมีตวั อย่าง
ต้นแบบของสิ่งมีชีวิตนัน้ ประกอบการพิจารณา เช่น ชื่อ
Family ในพืช จะลงท้ายด้วย aceae แต่ในสัตว์ จะลงท้าย
ด้วย idae
• ชื่อในลาดับขัน้ Genus จะใช้ตวั อักษรตัวใหญ่
นาหน้ า และตามด้วยอักษรตัวเล็ก
• ชื่อในลาดับขัน้ Species จะประกอบด้วย 2 คา โดย
คาแรกจะดึงเอาชื่อ Genus มา แล้วคาที่สองจึงเป็ น
ชื่อระบุชนิด หรือเรียกว่า Specific epithet ซึ่งจะ
ขึน้ ต้นด้วยอักษรตัวเล็ก
• ชื่อในลาดับขัน้ Species จะเขียนตัวเอน หรือ ขีด
เส้นใต้
ชื่อวิทยาศาสตร์ในลาดับชนิดต้องประกอบด้วย
• ชื่อสกุล (generic name) ซึ่งขึน้ ต้นด้วยอักษรตัวใหญ่
• specific epithet ซึ่งมักจะแสดงลักษณะเฉพาะของสิ่งมีชีวิตชนิดนัน้
และเขียนด้วยอักษรตัวเล็ก
• อาจมีชื่อบุคคลผูต้ งั ้ ชื่อวิทยาศาสตร์ (author name) นัน้ กากับไว้ด้วย
ก็ได้ แต่ไม่ต้องเขียนตัวเอนหรือขีดเส้นใต้
• ตัวอย่างเช่น ช้าง Elephas maximus Linn.
อรพิม มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า
Bauhinia winitii Craib.
สาหรับ specific epithet นัน้ แสดงลักษณะเด่นของสิ่งมีชีวิตได้
หลายลักษณะ เช่น
สีสนั : alba = สีขาว , rubra = สีแดง
fla = สีเหลือง, versicolor = หลายสี
รูปร่าง : giganavtea = ขนาดยักษ์, grandis = ขนาดใหญ่
nana = แคระ, repens = เลือ้ ย
การใช้ประโยชน์ : sativus = เป็ นอาหาร, edulis = รับประทานได้
hortensis = ปลูกประดับ, toxicaria = เป็ นพิษ
สถานที่ : indica = อินเดีย, siamensis = ไทย
chinensis = จีน, brasiliensis = บราซิล
ไส้เดือนดิน Lumbricus terrestris
terrestris หมายถึง อาศัยอยู่บนบกหรือในดิน
มะม่วง Mangifera indica
indica หมายถึง ประเทศอินเดีย
จาปี Michelia alba
alba หมายถึง สีขาว
ปูเจ้าฟ้ า Phricothalphusa sirindhorn
sirindhorn มาจากพระนามของสมเด็จพระเทพฯ
การจัดจาแนกกลุ่มของสิ่งมีชีวิต
1. โดเมน (Domian)
2. อาณาจักร
(Kingdom)
3. ไฟลัม (Phylum)
/ ดิวิชนั (Division)
4. คลาส (Class)
5.
6.
7.
8.
ออเดอร์ (Order)
วงศ์ (Family)
สกุล (Genus)
สปี ชีส์ (Species)