ปัจจัยพื้นฐานของมนุษย์ในด้านต่างๆ

Download Report

Transcript ปัจจัยพื้นฐานของมนุษย์ในด้านต่างๆ

120006Human behavior and self
Development
Chotika Thamviset @ RMU
C-2 :
ปั จจัยพื้นฐาน
ของพฤติกรรม
Chotika Thamviset@RMU
Chapter 2 :
ปั จจัยพื้นฐานของ
พฤติกรรมมนุษย์
C-2 :
ปั จจัยพื้นฐาน
ของพฤติกรรม
สังคม
วิทยา
จริยธรรม
ปั จจัยพื้นฐานของ
พฤติกรรม
ชีวภาพ
Chotika Thamviset@RMU
จิตวิทยา
C-2 :
ปั จจัยพื้นฐาน
ของพฤติกรรม
ส่วนที่ 1
ปั จจัยพื้นฐานด้านชีววิทยา
• พันธุกรรม
พันธุกรรม หมายถึง การถ่ ายทอดลักษณะและ
ลักษณะทางชีวภาพ จากคนหนึ่งไปสู่อีกรุ่ นหนึ่ง
โดยผ่ านยีนส์ (Genes)
Chotika Thamviset@RMU
C-2 : ปั จจัยพื้ นฐานของพฤติกรรมมนุ ษย์
• การถ่ ายทอดทางพันธุกรรม
ยีนส์ - หน่วยพื ้นฐานการถ่ายทอดพันธุกรรม
- ทาให้ ลกั ษณะทางชีวภาพของบุคคลแตกต่าง
กัน
- อยูค่ งที่ภายในโคโมโซม ไม่มีการเปลี่ยนแปลง
ไม่วา่ จะถ่ายทอดไปกี่ชวั่ คน
การถ่ายทอดทางพันธุกรรม มี 2 แบบ
- ถ่ายทอดแบบปกติ และถ่ายทอดแบบไม่ปกติ
C-2 : ปัจจัยพื้นฐานของพฤติกรรมมนุษย์
• การถ่ ายทอดทางพันธุกรรม
ความสูง
สีผิว
อื่นๆ
พันธุกรรม
ความฉลาด
ความคล่อง
สีตา สีผม
C-2 : ปั จจัยพื้ นฐานของพฤติกรรมมนุ ษย์
อิทธิพลของพันธุกรรมที่มีต่อลักษณะและพฤติกรรมของบุคคล
ด้ านร่ างกาย พันธุกรรมจะมีอิทธิพลโดยตรงต่อลักษณะร่างกายของบุ
คล เช่น ความสูง น ้าหนัก และส่งผลต่อบุคลิกภาพของบุคคล
ด้ านสติปัญญา แบ่งเป็ น
- ปั จจัยเกิดจากพันธุกรรม มีผลต่อความสามารถทางสติปัญญาของ
บุคคล
- ปั จจัยทางสิง่ แวดล้ อม เช่น การเลี ้ยงดู ฯลฯ
C-2 : ปั จจัยพื้ นฐานของพฤติกรรมมนุ ษย์
อิทธิพลของพันธุกรรมที่มีต่อลักษณะและพฤติกรรมของบุคคล
งานวิจัย ได้ ค้นคว้ าอิทธิพลที่มีผลต่อความสามารถทางสมอง พบว่า
ศักยภาพ ความสามารถทางสติปัญญา ได้ รับอิทธิพลมาจากพันธุกรรม
เช่น กรณีแฝดไข่ใบเดียวกันมีความสัมพันธ์ทางสติปัญญาในระดับสูง
แม้ วา่ จะแยกกันเลี ้ยงดู
สรุ ป พันธุกรรมมีอทิ ธิพลต่ อสติปัญญาของบุคคล
C-2 : ปั จจัยพื้ นฐานของพฤติกรรมมนุ ษย์
2. อวัยวะที่เกี่ยวข้ องกับพฤติกรรม
ระบบกล้ ามเนือ้
ระบบหายใจ
ระบบประสาท
ระบบย่ อยอาหาร
ระบบโครงกระดูก
ระบบหมุนเวียน
โลหิต
ระบบสืบพันธุ์
ระบบต่ อม
ระบบขับถ่ าย
C-2 : ปั จจัยพื้ นฐานของพฤติกรรมมนุ ษย์
ระบบประสาท
( The nervous
system)
C-2 : ปั จจัยพื้ นฐานของพฤติกรรมมนุ ษย์
ระบบประสาท ( The
nervous system)
ระบบประสาท
ส่วนกลาง
ไขสันหลังและสมอง
ระบบประสาทส่วนปลาย :
ประสาท สมอง ไขสันหลัง
และระบบประสาท
อัตโนมัติ
C-2 : ปั จจัยพื้ นฐานของพฤติกรรมมนุ ษย์
รูปร่ างเซลล์ ประสาท
C-2 :
ปั จจัยพื้นฐาน
ของพฤติกรรม
ระบบประสาทส่ วนกลาง (Central
Nervous System : CNS
- สมอง (Brain)
 มีความสาคัญที่สุด หนัก 3 ปอนด์
 ละเอียด และซับซ้ อน
 มีหน้ าที่ควบคุม ความคิด ความจา การทางานของ
กล้ ามเนือ้ ต่ อม ความรู้สึก
 ทาให้ ร่างกายทางานอย่ างมีระบบ
Chotika Thamviset@RMU
C-2 :
ปั จจัยพื้นฐาน
ของพฤติกรรม
สมอง (Brain) มี 3 ส่วน

ส่วนหน้ า

สมองส่วนกลาง

สมองส่วนท้ าย
C-2 :
ปั จจัยพื้นฐาน
ของพฤติกรรม
- สมองส่วนหน้า (Forebrain) ขนาดใหญ่ที่สุด
มีหน้าที่ ควบคุมพฤติกรรมที่ซบั ซ้อน มี 3 ส่วน
1 ทาลามัส จากการวิจยั หน้าที่ของทา
ลามัส ยังเป็ นที่สงสัย
2 ไฮโปทาลามัส แสดงออก 2 ลักษณะ
อันแรกแสดงออกลักษณะภายใน เช่น ใจสัน่
หน้าแดง อันที่ 2 แสดงออกภายนอก ควบคุม
ความสมดุลของร่างกาย ความหิว อุณหภูมิ
ความต้องการทางเพศ
C-2 :
ปั จจัยพื้นฐาน
ของพฤติกรรม
สมองส่วนหน้า (Forebrain)
3 ซีรีบรัม ขนาดใหญ่ ทาหน้าที่
เกี่ยวกับ อารมณ์ การเรียนรู ้ ความคิด
ความจา ประกอบด้วย 2 ซีก
C-2 :
ปั จจัยพื้นฐาน
ของพฤติกรรม
Chotika Thamviset@RMU
สมองส่วนกลาง ค่อนข้างเล็ก สัตว์ช้นั ตา่ มี
ความสาคัญ มนุ ษย์สาคัญน้อยเพราะ แค่ทางผ่านของการ
รับรูจ้ ากไขสันหลังไปสู่ชีรีบรัม และจากซีรีบรัม มาสู่ส่วน
ตา่ ลงมา
สมองส่วนท้าย ควบคุมการดารงชีวิต
ประกอบด้วย ซีรีเบลลัมและก้านสมอง
- ซีรีเบลลัม รักษาความสมดุล ควบคุมกล้ามเนื้ อ
เรียบและอวัยวะภายใน ควบคุมการทางานของเซลล์
ประสาทใน ไขสัน
- ก้านสมองแบ่งเป็ น เมดัลลา เป็ นศูนย์
ควบคุมระบบการหมุนเวียน ความดันโลหิต หายใจ การ
หลับ การไอ
C-2 :
ปั จจัยพื้นฐาน
ของพฤติกรรม
Chotika Thamviset@RMU
สมองส่วนท้าย
พอนส์ เป็ นตัวเชื่อมระบบประสาท สัง่ การ
ระหว่างสมองใหญ่ และสมองน้อย ให้การ
เคลื่อนไหวร่างกายมีความสัมพันธ์กนั
ระบบประสาทส่วนปลาย ประกอบด้วย ระบบ
ประสาทกล้ามเนื้ อ และระบบประสาทอัตโนมัติ
- ระบบประสาทกล้ามเนื้ อ อยูภ่ ายใต้การ
ควบคุมของจิตใจ
- ระบบประสาทอัตโนมัติ เป็ นอิสระ ควบคุม
กล้ามเนื้ อเรียบ ควบคุมกล้ามเนื้ อหัวใจ ควบคุม
การทางานของต่อม
- ระบบประสาทอัตโนมัติ มี 2 ระบบ
ระบบซิมพาเธติค เป็ นระบบ
ทางานเด่น ในภาวะความเครียด (มีการ
ตื่นตัว)
ระบบ พาราซิมพาเธติค ร่างกาย
สงบ พักผ่อน ความดันโลหิตตา่
(ทางานในภาวะผ่อนคลาย)
C-2 :
ปั จจัยพื้นฐาน
ของพฤติกรรม
Chotika Thamviset@RMU
ระบบอัตโนมัติ และความเกี่ยวพันภายในอวัยวะต่างๆ
C-2 :
ปั จจัยพื้นฐาน
ของพฤติกรรม
สรุประบบประสาท
ระบบประสาท Nervous System
ระบบประสาทส่ วนกลาง CNS
สมอง Brain
ไขสันหลัง
Spinal Cord
ระบบประสาทส่ วนปลาย PNS
ระบบประสาทกาย
SNS
ซิมพาธีติก
Chotika Thamviset@RMU
ระบบประสาท
อัตโนมัติ (ANS)
พาราซิมพาเธติค
C-2 :
ปั จจัยพื้นฐาน
ของพฤติกรรม
2. ระบบต่อม
เป็ นตัวการสาคัญที่ทาให้
พฤติกรรมเปลี่ยนแปลง
Chotika Thamviset@RMU
C-2 :
ปั จจัยพื้นฐาน
ของพฤติกรรม
2. ระบบต่อม
เป็ นตัวการสาคัญที่ทาให้
พฤติกรรมเปลี่ยนแปลง
ประกอบด้วย ต่อมมีทอ่ และ
ต่อมไร้ทอ่
Chotika Thamviset@RMU
C-2 :
ปั จจัยพื้นฐาน
ของพฤติกรรม
3. ระบบกล้ามเนื้อ
เกี่ยวข้องกับการแสดงออก
เคลื่อนไหว มี กล้ามเนื้อเรียบ
กล้ามเนื้อลาย
Chotika Thamviset@RMU
C-2 :
ปั จจัยพื้นฐาน
ของพฤติกรรม
3. ระบบกล้ามเนื้อ
เกี่ยวข้องกับการแสดงออก
เคลื่อนไหว มี กล้ามเนื้อเรียบ
กล้ามเนื้อลาย และกล้ามเนื้อ
หัวใจ
Chotika Thamviset@RMU
C-2 :
ปั จจัยพื้นฐาน
ของพฤติกรรม
3. ระบบกล้ามเนื้อ
เกี่ยวข้องกับการแสดงออก
เคลื่อนไหว มี กล้ามเนื้อเรียบ
กล้ามเนื้อลาย และกล้ามเนื้อ
หัวใจ
Chotika Thamviset@RMU
C-2 :
ปั จจัยพื้นฐาน
ของพฤติกรรม
ส่วนที่ 2 ปั จจัยพื้นฐาน
ทางจิตวิทยา
•อวัยวะสัมผัส ได้แก่ ตา หู จมูก ลิ้ น ผิวหนัง
การทรงตัว
•สิ่งเร้า
•ความตั้งใจแน่ วแน่
•การเรียนรู ้
•ความเกี่ยวโยง
•ระดับความรูส้ ึก รูส้ ึกตัว ครึ่งหลับครึ่งตื่น ไม่
รูต้ วั
Chotika Thamviset@RMU
C-2 :
ปั จจัยพื้นฐาน
ของพฤติกรรม
ส่วนที่ 3 ปั จจัยพื้นฐาน
ทางสังคมวิทยา
ประชากร
วัฒนธรรม
การรวมกันทางสังคม
สถาบันต่างๆทางสังคม
ทรัพยากรและธรรมชาติในพื้นที่
Chotika Thamviset@RMU
รูปแบบของการดาเนินชีวิต
พฤติกรรม
C-2 :
ปั จจัยพื้นฐาน
ของพฤติกรรม
ส่วนที่ 4 ปั จจัยพื้นฐาน
ทางจริยธรรม
Chotika Thamviset@RMU
กิจกรรม ฉันต้ องการ?
เป้าหมาย กิจกรรม สร้ างสั มพันธภาพและเรียนรู้ความต้ องการของผู้อนื่
• วิธีการ ดาเนินกิจกรรม
1. แจกบัตรให้ ทกุ คน 1 แผ่น
2. เขียนชื่อ-นามสกุลให้ เรี ยบร้ อยมุมขวามือ
3. เขียนโจทย์ตอ่ ไปนี ้ลงในบัตรของตน 3 ข้ อเว้ นคาตอบไว้
- สิ่งที่ข้าพเจ้ าต้ องการมากที่สดุ คือ.......................
- ลักษณะของคนที่ข้าพเจ้ าชอบมากที่สดุ คือ ...................
- ลักษณะของคนที่ข้าพเจ้ าเกลียดมากที่สดุ คือ............................
กิจกรรม ฉันต้ องการ?
เป้าหมาย กิจกรรม สร้ างสั มพันธภาพและเรียนรู้ความต้ องการของผู้อนื่
• 4.ให้ แต่ละคนนาบัตรมาคืน
• 5.ผสมบัตรให้ เข้ ากันแจกบัตรโดยผู้รับต้ องไม่ใช่เจ้ าของชื่อในบัตร
• 6. ให้ ผ้ ถู ือบัตรหาเจ้ าของชื่อให้ เร็วที่สดุ และหาคาตอบให้ ได้ 3 ข้ อ ลงชื่อ
ผู้สมั ภาษณ์แล้ วคืนอาจารย์
• 7. อาจารย์สมุ่ บัตรที่นกั ศึกษาเอามาคืน สอบถามผู้สมั ภาษณ์ที่มีชื่ออยู่
บัตรว่าคนที่เขาสัมภาษณ์ได้ ข้อมูลอะไรบ้ าง ชื่อว่าอะไร
• 8. สรุปกิจกรรม