Phylum Hemichordata T-O ภาคต_น 2557

Download Report

Transcript Phylum Hemichordata T-O ภาคต_น 2557

Hemichordata & Protochordata
Hemi=ครึ่ง, chordate=สัน
ได้ แก่ pterobranch
ได้ แก่ Acorn worms
ไฟลัมเฮมิคอร์ ดาตา (Phylum Hemichordata)
• สัตว์ ในไฟลัมเฮมิคอร์ ดาตา เรี ยกว่ าพวกเฮมิคอร์ เดต
(hemichordates, Gr. hemi, half + L. chorda, cord)
• สัตว์ ในไฟลัมคอร์ ดาตา ที่เรี ยกว่ าพวกคอร์ เดต (chordates L.
chorda, cord)
• มีลักษณะเป็ นดิวเทอโรสโตมเหมือนเอไคโนเดิร์ม
• นักสัตววิทยาส่ วนใหญ่ เชื่อว่ าสัตว์ เหล่ านีว้ ิวัฒนาการมาจากบรรพ
บุรุษร่ วมกัน
• พวกคอร์ เดตมีลักษณะเฉพาะคือมีเส้ นประสาทเป็ นแท่ งกลวงอยู่
ด้ านหลัง (dorsal tubular nerve cord) มีโนโตคอร์ ด (notochord) มี
ช่ องเหงือกที่ผนังฟาริงซ์ (pharyngeal gill slit) และมีหางอยู่ด้านท้ าย
ของทวารหนัก (postanal tail)
• ลักษณะที่เฮมิคอร์ เดตเหมือนกับคอร์ เดต คือมีช่องเหงือก
และบางชนิดมีเส้ นประสาทเป็ นหลอดกลวงอยู่ด้านหลัง
• เดิมเคยจัดเฮมิคอร์ เดตอยู่ในซับไฟลัมหนึ่งของคอร์ ดาตา
เนื่องจากมีช่องเหงือก โนโตคอร์ ดที่ยังไม่ เจริญเต็มที่
(rudimentary notochord) และเส้ นประสาทด้ านหลัง
• แต่ ปัจจุบันนักสัตววิทยาทราบแล้ วว่ าที่เรี ยกว่ าโนโตคอร์ ด
ของเฮมิคอร์ เดตเป็ นส่ วนที่ย่ นื ของปาก (buccal pouch) และ
ไม่ มีจุดกาเนิดเดียวกัน (not homologous) กับโนโตคอร์ ด
ของพวกคอร์ เดต
• ดังนัน้ จึงแยกเฮมิคอร์ เดตออกเป็ นไฟลัมต่ างหาก
ลักษณะของไฟลัมเฮมิคอร์ ดาตา
1. เป็ นพวกดิวเทอโรสโตม ร่ างกายแบ่ งเป็ น 3 ส่ วนคือ งวง
(proboscis) ปลอกคอ (collar) และลาตัว (trunk) ช่ องว่ าง
ลาตัวแบ่ งเป็ น 3 ส่ วน เป็ นสัตว์ ทะเล
2. มีช่องเหงือกที่ผนังฟาริงซ์ และมีซิเลีย
3. ระบบหมุนเวียนเลือดแบบเปิ ด
4. ทางเดินอาหารสมบูรณ์ แบบ
5. เส้ นประสาทอยู่ด้านหลัง บางทีเป็ นแท่ ง (tubular nerve
cord)
ลักษณะของไฟลัมเฮมิคอร์ ดาตา
1. เป็ นพวกดิวเทอโรสโตม ร่ างกายแบ่ งเป็ น 3 ส่ วนคือ งวง
(proboscis) ปลอกคอ (collar) และลาตัว (trunk) ช่ องว่ าง
ลาตัวแบ่ งเป็ น 3 ส่ วน เป็ นสัตว์ ทะเล
2. มีช่องเหงือกที่ผนังฟาริงซ์ และมีซิเลีย
3. ระบบหมุนเวียนเลือดแบบเปิ ด
4. ทางเดินอาหารสมบูรณ์ แบบ
5. เส้ นประสาทอยู่ด้านหลัง
บางทีเป็ นแท่ ง (tubular nerve cord)
การจัดจาแนก
1. คลาสเอนเทอรรอบนูสตา (Enteropneusta)
• คลาสเอนเทอรรอบนูสตา (Enteropneusta, Gr. entero,
intestine + pneustikos, for breathing) เป็ นพวกหนอนใน
ทะเล ได้ แก่ acorn worm Balanoglossus, Saccoglossus
• มีขนาดยาว 10-40 เซนติเมตร บางชนิดอาจยาวถึง 2
เมตร
• ที่ร้ ู จักมีประมาณ 70 สปี ชีส์
• เป็ นพวกที่ขุดรู อยู่ตามพืน้ ทรายหรื อโคลน
• รู เป็ นรู ปตัวยู ลาตัวมีเมือกหุ้ม
• ลาตัวแบ่ งเป็ น 3 ส่ วน คือ
- งวง (proboscis หรือ protosome) สัน้ ๆ เป็ นรู ป
โคนอยู่ด้านหน้ าของลาตัว ตอนท้ ายของงวงมี
ถุงเล็กๆ ของช่ องว่ างลาตัว เรียกว่ า โพรโท
ซีล (protocoel) ซึ่งมีแขนงจากอุ้งปาก
(buccal diverticulum) ยื่นเข้ ามาในนี ้
และเคยเชื่อว่ าเป็ นโนโตคอร์ ด
- ถัดจากงวงเป็ นปลอกคอ (collar หรือ
mesosome) เป็ นปลอกวงแหวนเป็ นรู ป
ทรงกระบอก
- และส่ วนสุดท้ ายเป็ นลาตัว (trunk หรือ
metasome) ที่ยาว มีรูเหงือก (gill pore)
อยู่ 2 ข้ างลาตัวเรียงเป็ นแถว
• รูเหงือกเปิ ดออกจากถุงเหงือก (gill chamber) ซึ่งติดต่ อกับช่ องเหงือก
(gill slits หรือ pharyngeal slit) ที่ด้านข้ างของฟาริงซ์
• ช่ องเหงือกไม่ ได้ ทาหน้ าที่หายใจ แต่ ทาหน้ าที่รวบรวมอาหาร
• อาหารถูกจับโดยเมือก และถูกนาเข้ ามาในปาก โดยอาศัยซิเลียที่งวงพัด
โบก และปลอกคอยืดออก
• ปากเปิ ดทางด้ านล่ างของปลอกคอ ซึ่งอยู่ตอนท้ ายของงวง
• เมื่อนา้ เข้ าทางช่ องปากแล้ วจะผ่ านออกทางช่ องเหงือก
• ส่ วนสารอาหารจะผ่ านไปทางฟาริงซ์ และหลอดอาหาร เข้ าสู่ลาไส้
• ทางเดินอาหารเป็ นท่ อตรงมีเอนไซม์ ย่อยอาหารสร้ างจากถุงตับ
(liver sac, hepatic caeca) ทางเดินอาหารสิน้ สุดที่ทวารหนักที่ปลาย
ลาตัว กากอาหารถูกขับออกมากองที่ปากรู มีลักษณะเป็ นเส้ นขด
เป็ นวงอยู่ท่ ปี ากรู
ระบบหมุนเวียนเลือด
• มีหลอดเลือดอยู่กลางด้ านหลัง (dorsal vessel) และกลางด้ านท้ อง
(ventral vessel)
• หลอดเลือดกลางด้ านหลังนาเลือดไปทางด้ านหน้ าไปยังหัวใจที่อยู่
เหนือส่ วนอื่นของช่ องปาก
• จากนัน้ เลือดไหลเข้ าสู่แอ่ งเลือดหรื อไซนัส (sinus) แล้ วไหลกลับไป
ด้ านท้ ายของลาตัวทางหลอดเลือดด้ านท้ อง
• เมื่อเลือดไหลเข้ ามาในแอ่ งเลือดจะเกิดการขับถ่ ายของเสียออก
โดยการกรองผ่ านโกลเมอรู ลัส (glomerulus)
• ของเสียที่กรองออกจะเข้ าสู่ช่องว่ างลาตัวของงวง และปล่ อยออก
ภายนอกทางรู ท่ ผี นังของงวง
• เลือดของ acorn worm ไม่ มีสี และไม่ มีเม็ดเลือด
• เนื่องจาก acorn worm มีขนาดเล็ก การแลกเปลี่ยนแก๊ สและ
ของเสีย (พวกแอมโมเนีย) เกิดโดยการแพร่ ผ่านผนังลาตัว
• นอกจากนีย้ ังมีการแลกเปลี่ยนแก๊ สที่ช่องเหงือก
• ซิเลียในช่ องเหงือกช่ วยให้ นา้ หมุนเวียนเข้ ามาในปาก และ
ออกทางช่ องเหงือก
• เมื่อนา้ ผ่ านช่ องเหงือกเกิดการแลกเปลี่ยนแก๊ สโดยการแพร่
ระหว่ างนา้ กับเลือดในแอ่ งเลือดรอบๆ ฟาริงซ์
• ระบบประสาท: มีเส้ นประสาททางด้ านหลังและด้ าน
ท้ อง บางชนิดเส้ นประสาทด้ านหลังเป็ นช่ องกลวง
• ระบบสืบพันธุ์: มีเพศแยก มีอวัยวะสืบพันธุ์ 2 แถว อยู่ในผนัง
ลาตัวทางด้ านหน้ าของลาตัว อวัยวะสืบพันธุ์แต่ ละอันเปิ ดออก
ภายนอก เกิดการปฏิสนธิภายนอก
• ตัวอ่ อนมีซเิ ลียว่ ายนา้ ได้ เรียกว่ า ตัวอ่ อนทอร์ นาเรีย (tornaria)
• ต่ อมาตัวอ่ อนจะเกาะกับพืน้ และค่ อยๆ เปลี่ยนแปลงเป็ นตัวเต็ม
วัย
คลาสเทอโรแบรงเคีย (Pterobranchia)
• คลาสเทอโรแบรงเคีย (Pterobranchia) (Gr. pteron, wing
of feather + branchia, gill)
• เป็ นคลาสเล็กๆ ของไฟลัมเฮมิคอร์ ดาตา พบในทะเลลึก
ของซีกโลกใต้ ที่ร้ ู จักแล้ วมีประมาณ 20 สปี ชีส์ ได้ แก่
Rhabdopleura สัตว์ ในคลาสนีเ้ รี ยกว่ า เทอโรแบรงค์
(pterobranch)
• เทอโรแบรงค์ มีขนาดเล็กตัง้ แต่ 0.1 ถึง 5 มิลลิเมตร ส่ วนใหญ่
อยู่เป็ นโคโลนี โดยอยู่ในท่ อ (tube) ที่สร้ างขึน้ ร่ างกายแบ่ งเป็ น
3 ส่ วน คล้ าย acorn worm คือ งวง (proboscis) ขยายใหญ่ คล้ าย
โล่ ทาหน้ าที่สร้ างท่ อและช่ วยให้ เคลื่อนที่อยู่ในท่ อ ปลอกคอ
(collar) มีแขน (arm) 2-9 แขน ซึ่งมีหนวด (tentacle) แตกแขนง
ออกไป ส่ วนของลาตัวเป็ นรู ปตัวยู
• เทอโรแบรงค์ กนิ อาหารโดยใช้ ซิเลียที่แขนและหนวดพัด
โบกนา้ เข้ าปาก การแลกเปลี่ยนแก๊ สและของเสียเกิดโดย
การแพร่
• เทอโรแบรงค์ แตกหน่ อเพื่อสร้ างโคโลนีได้ ส่ วนการ
สืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ มีอวัยวะสืบพันธุ์ 1-2 อันอยู่ท่ ี
ลาตัว
• ส่ วนใหญ่ มีเพศแยกกัน การปฏิสนธิเกิดภายนอก
• ตัวอ่ อน (planulalike larva) อาศัยอยู่ในท่ อของตัวเมีย
ระยะหนึ่ง แล้ วจึงออกจากท่ อ เกาะกับพืน้ สร้ างคอคูน
(cocoon) แล้ วเกิดเมตามอร์ โฟซิส เป็ นตัวเต็มวัย
• ลักษณะของ Rhabdopleura แต่ ละตัวที่อยู่ในท่ อ แล้ วยื่นหนวด
ออกมาหาอาหาร แต่ ละท่ อจะติดต่ อถึงกันด้ วยสโตลอน
(stolon)
ไฟลัมคอร์ ดาตา (Phylum Chordata):
โพรโทคอร์ เดต (Protochordates)
• ไฟลัมคอร์ ดาตามีสมาชิกจานวนมาก ประมาณ 45,000
สปี ชีส์
• สมาชิกในไฟลัมนีป้ ระสบความสาเร็จในการปรั บตัวให้ อยู่
ในสภาพแวดล้ อมได้ ทงั ้ ในนา้ จืด นา้ ทะเล และบนบก
• นอกจากนีย้ ังมีรูปร่ างโครงสร้ างของระบบอวัยวะแตกต่ าง
กันมากมาย
ลักษณะสาคัญของไฟลัมคอร์ ดาตา
1. มีโนโตคอร์ ด (notochord) ในระยะหนึ่งของช่ วงชีวิต
2. มีช่องเหงือกที่ผนังของฟาริงซ์ (pharyngeal gill slit) ใน
ระยะใดระยะหนึ่งของช่ วงชีวิต
3. มีเส้ นประสาทเป็ นหลอด อยู่ด้านหลังของลาตัว (dorsal
tubular nerve cord) ด้ านหน้ าของเส้ นประสาทพองออก
เจริญเป็ นสมอง
4. มีหางอยู่ด้านท้ ายของทวารหนัก (postanal tail)
5. มีหวั ใจอยู่ด้านท้ อง (ventral heart) มีระบบหมุนเวียนเลือด
แบบปิ ด โดยมีหลอดเลือดทัง้ ทางด้ านหลังและด้ านท้ อง
6. ทางเดินอาหารสมบูรณ์ แบบมีทงั ้ ปากและทวารหนัก
7. มีโครงร่ างคา้ จุนอยู่ภายในร่ างกาย (endoskeleton) ซึ่งอาจ
เป็ นกระดูกอ่ อน (cartilage) หรื อกระดูกแข็ง (bone)
8. มีกล้ ามเนือ้ เป็ นบัง้ ๆ หรื อเป็ นปล้ อง (segmented muscle)
อยู่ภายในลาตัวที่ไม่ เป็ นปล้ อง (unsegmented trunk)
9. มีสมมาตรแบบครึ่งซีก มีเนือ้ เยื่อ 3 ชัน้ มีช่องว่ างลาตัวที่
เจริญดี
ลักษณะเฉพาะของไฟลัมคอร์ ดาตา
• ลักษณะ 3 ข้ อแรกเป็ นลักษณะเฉพาะของคอร์ เดต
• ลักษณะเหล่ านีจ้ ะเกิดขึน้ ในระยะเอ็มบริโอ
• ซึ่งอาจคงอยู่ เปลี่ยนแปลงไป หรื อหายไปเมื่อเติบโตขึน้
โนโตคอร์ ด (Notocord)
• มีลักษณะเป็ นแท่ งยาว ยืดหยุ่นได้ มีอยู่ตลอดความยาวของ
ลาตัว และอยู่ด้านหลังของลาตัว
• โนโตคอร์ ดเป็ นส่ วนแรกของโครงร่ างภายในที่เกิดในระยะ
เอ็มบริโอ โดยอยู่เหนือทางเดินอาหาร (primitive gut) และเป็ น
แกนให้ กล้ ามเนือ้ เกาะ โนโตคอร์ ดงอได้ จงึ ทาให้ ร่างกาย
เคลื่อนไหวแบบลูกคลื่น (undulating movement)
• ในพวกโพรโทคอร์ เดต (หรื อพวกไม่ มีกระดูกสันหลัง) เช่ น
เพรี ยงหัวหอม (ทูนิเคต, tunicate)
• มีโนโตคอร์ ดอยู่ท่ หี าง และมีแต่ ระยะตัวอ่ อน
• ในแอมฟิ ออกซัส (amphioxus) มีโนโตคอร์ ดตลอดชีวิต
ซึ่งยาวจากหัวจรดหาง
• ส่ วนพวกที่มีกระดูกสันหลัง และมีโนโตคอร์ ดตลอดชีวติ คือ
ปลาปากกลม
• สัตว์ มีกระดูกสันหลังตัง้ แต่ ปลาจนถึงสัตว์ เลีย้ งลูกด้ วยนา้ นมจะ
มีกระดูกสันหลัง (vertebral column) มาแทนที่โนโตคอร์ ด และ
กระดูกสันหลังมีลักษณะเป็ นข้ อๆ เรียงตัวเป็ นแถวตามยาวของ
ลาตัว
เส้ นประสาท (Dorsal tubular nerve cord)
• ในสัตว์ ไม่ มีกระดูกสันหลัง เส้ นประสาทเป็ นหลอดตันอยู่
ทางด้ านท้ องของทางเดินอาหาร
• แต่ ในพวกคอร์ เดต เส้ นประสาทมีเพียง 1 เส้ น อยู่ทาง
ด้ านหลัง (dorsal) ของทางเดินอาหารและด้ านหลังของ
โนโตคอร์ ดและเป็ นหลอดกลวง
• ในสัตว์ มีกระดูกสันหลังด้ านหน้ าของเส้ นประสาทจะขยาย
ออกเป็ นสมอง
• เส้ นประสาทที่เป็ นหลอดกลวงเกิดในระยะเอ็มบริโอ โดยเกิด
จากการเว้ าเข้ า (infolding) ของเอกโทเดิร์มที่อยู่ด้านหลังของ
ลาตัวเหนือโนโตคอร์ ด
• ในสัตว์ มีกระดูกสันหลังจะมีกระดูกสันหลังมาล้ อมรอบ
เส้ นประสาทและมีกะโหลกศีรษะ (cranium) มาห่ อหุ้มสมองไว้
ช่ องเหงือก (Pharyngeal gill slit)
• ช่ องเหงือกมีอยู่เป็ นคู่ๆ เกิดทางด้ านข้ างของฟาริงซ์ ใน
ระยะเอ็มบริโอ
• ช่ องเหงือกเกิดจากการโป่ งของเอนโดเดิร์มที่ฟาริงซ์
(pharyngeal pouch) และเอกโทเดิร์มที่บุอยู่ด้านนอก
ของฟาริงซ์ (pharyngeal groove) บุ๋มเข้ าไป จนมาบรรจบ
กันและทะลุถงึ กันเป็ นช่ องเหงือก ซึ่งพบในสัตว์ มีกระดูก
สันหลังที่อยู่ในนา้
• แต่ ในพวกที่มีเยื่อหุ้มตัวอ่ อน (amniotes) pharyngeal
pouch อาจไม่ บรรจบกันเป็ นช่ องเหงือก แต่ จะเป็ นร่ อง
เท่ านัน้
• ในสัตว์ มีกระดูกสันหลังที่มี 4 ขา (tetrapods)
pharyngeal pouch จะพัฒนาไปเป็ นโครงสร้ างต่ างๆ
เช่ น ท่ อยูสเตเชียน (Eustachian tube) ช่ องชัน้ ในหูกลาง
ต่ อมทอนซิล ต่ อมพาราไทรอยด์
• คอร์ เดตพวกแรกสุดใช้ ช่องเหงือกในการกรองอาหาร
(filter feeding) ซึ่งปั จจุบันยังพบในพวกโพรโทคอร์ เดต
• ส่ วนสัตว์ มีกระดูกสันหลังที่อยู่ในนา้ ได้ พฒ
ั นาช่ อง
เหงือกเพื่อใช้ ในการแลกเปลี่ยนแก๊ ส
การจัดจาแนก
• คอร์ เดตแบ่ งเป็ น 2 กลุ่มใหญ่ คือ
1. กลุ่มสัตว์ มีกระดูกสันหลัง (Vertebrates)
2. กลุ่มสัตว์ ไม่ มีกระดูกสันหลัง หรื อโพรโทคอร์ เดต
(Protochordates)
• โพรโทคอร์ เดตไม่ มีกะโหลกศีรษะหุ้มสมอง จึงเรี ยกว่ า
พวก Acraniata (อะเครนิเอตา, ไม่ มีเครเนียมหรื อไม่ มี
กะโหลกศีรษะ)
• กลุ่มนีย้ ังแบ่ งย่ อยเป็ น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มไม่ มีขากรรไกร
(Agnatha) กับกลุ่มมีขากรรไกร (Gnathostomata) หรื อ
แบ่ งโดยดูจากเยื่อหุ้มตัวอ่ อน (amnion)
• ถ้ าไม่ มีเยื่อหุ้มตัวอ่ อนเรี ยกพวก Anamniota (แอนแอมนิ
โอตา, ไม่ มีแอมเนียมหรื อไม่ มีเยื่อหุ้มตัวอ่ อน) ได้ แก่
ปลาและสัตว์ ครึ่งบกครึ่งนา้
• ถ้ ามีเยื่อหุ้มตัวอ่ อนเรี ยกว่ า Amniota ได้ แก่
สัตว์ เลือ้ ยคลาน นก และสัตว์ เลีย้ งลูกด้ วยนา้ นม
• กลุ่มที่มีขากรรไกรยังแบ่ งออกเป็ นปลาและสัตว์ 4 เท้ า
(Tetrapods)
ไฟลัมคอร์ ดาตา จาแนกดังนี ้
1. กลุ่มโพรโทคอร์ ดาตา หรือพวกไม่ มีกะโหลกศีรษะ (Group
Protochordata; Acraniata) แบ่ งเป็ น
1.1 ซับไฟลัมยูโรคอร์ ดาตา (Subphylum Urochordata) มีโนโต
คอร์ ดและเส้ นประสาทเฉพาะระยะตัวอ่ อน ได้ แก่ ทูนิเคต
(tunicate)
1.2 ซับไฟลัมเซฟาโลคอร์ ดาตา (Subphylum Cephalochordata) มี
โนโตคอร์ ดและเส้ นประสาทตลอดความยาวลาตัว และมีตลอด
ชีวติ ได้ แก่ แอมฟิ ออกซัส (amphioxus หรือ lancelet)
2. กลุ่มมีกะโหลกศีรษะ (Craniata): ซับไฟลัมเวอร์ ทบี ราตา
(Subphylum Vertebrata)
• มีกระดูกสันหลัง ซึ่งอาจเป็ นกระดูกอ่ อนหรือกระดูกแข็งล้ อมรอบไขสัน
หลัง มีโนโตคอร์ ดเฉพาะตอนตัวอ่ อน หรือมีตลอดชีวิตในปลาบางชนิด
แบ่ งเป็ น 2 ซูเปอร์ คลาสตามการมีขากรรไกร
2.1 ซูเปอร์ คลาสแอกนาตา หรือไซโคลสโตมาตา (Superclass Agnatha
หรือ Cyclostomata) ไม่ มีขากรรไกรและรยางค์ ได้ แก่ ปลาปากกลมแฮ
กฟิ ช (hagfish) และแลมเพรย์ (lamprey) แบ่ งเป็ น 2 คลาส คือ
2.1.1 คลาสมิกซินี (Class Myxini) ปลายปากมีหนวด 4 คู่ ช่ องจมูกหรื อ
โพรงจมูก (nasal sac) มีท่อต่ อกับฟาริงซ์ มีช่องเหงือก (gill pouch) 5-15
คู่ ได้ แก่ แฮกฟิ ช
2.1.2 คลาสเซฟาแลสพิโดมอร์ ฟี (Class Cephalaspidomorphi) ได้ แก่
แลมเพรย์ มีปากดูด มีฟัน โพรงจมูกไม่ ตดิ ต่ อกับปาก มีช่องเหงือก 7 คู่
2.2 ซูเปอร์ คลาสนาโทสโตมาตา (Superclass Gnathostomata) มี
ขากรรไกร และมักมีรยางค์ เป็ นคู่ แบ่ งเป็ นคลาสต่ างๆ
2.2.1 คลาสคอนดริกทีอีส (Class Chondrichthyes): ปลากระดูก
อ่ อน ได้ แก่ ฉลาม (shark) ฉลาก (skate) กระเบน (ray) ปลา
กระต่ าย (chimaera) ลาตัวเพรียว มีหางแบบเฮเทอโรเซอคอล
(heterocercal) มีกระดูกอ่ อนเป็ นโครงร่ าง มีเหงือก 5-7 คู่ ซึ่งมี
ช่ องเปิ ดแยกกัน ไม่ มีแผ่ นปิ ดเหงือก (operculum) ไม่ มีกระเพาะ
ลม (swim bladder)
2.2.2 คลาสออสทีอิกทีอีส (Class Osteichthyes): ปลากระดูกแข็ง
พวกโบราณลาตัวแบบ fusiform ช่ องเปิ ดของเหงือกมีช่องเดียว
อยู่ 2 ข้ างของลาตัว และมีแผ่ นปิ ด มักมีกระเพาะหรือปอด
2.2.3 คลาสแอมฟิ เบีย (Class Amphibia): สัตว์ ครึ่งบกครึ่ งนา้
เป็ นพวก ectotherm (อุณหภูมิร่างกายได้ รับจากความร้ อน
จากสิ่งแวดล้ อม และอุณหภูมิร่างกายเปลี่ยนแปลงตาม
สภาพแวดล้ อม) เป็ นสัตว์ 4 เท้ า หายใจด้ วยปอด ด้ วย
เหงือก หรื อผิวหนัง การเจริญเติบโตผ่ านระยะตัวอ่ อน
(larva) ผิวหนังเปี ยกชืน้ มีต่อมเมือก ไม่ มีเกล็ด
2.2.4 คลาสเรปทีเลีย (Class Reptilia): สัตว์ เลือ้ ยคลาน
ectotherm มี 4 เท้ า มีปอด ตัวอ่ อนเจริญอยู่ในเปลือกไข่ ไม่
มีระยะตัวอ่ อน (larva) ผิวหนังแห้ ง ไม่ มีต่อมเมือก มีเกล็ด
ปกคลุม ไข่ มีเยื่อหุ้มตัวอ่ อน (amniotic egg)
2.2.5 คลาสเอวีส (Class Aves): นก endotherm (อุณหภูมิ
ร่ างกายได้ จากความร้ อนที่เกิดจากกระบวนการเมแทบอ
ลิซึม, oxidative metabolism, ภายในเซลล์ ) รยางค์ หน้ า
เปลี่ยนเป็ นปี กใช้ บนิ ร่ างกายปกคลุมด้ วยขนนก
(feather) มีเกล็ดที่เท้ า
2.2.6 คลาสแมมมาเลีย (Class Mammalia): สัตว์ เลีย้ งลูก
ด้ วยนา้ นม endotherm มีต่อมนา้ นม มีขน (hair) ปกคลุม
ตัว มีสมองเจริญดี
กลุ่มโพรโทคอร์ ดาตา (Protochordata)
• กลุ่มโพรโทคอร์ ดาตา หรื อพวกไม่ มีกะโหลกศีรษะ
ได้ แก่ พวกยูโรคอร์ เดต และเซฟาโลคอร์ เดต
• ซึ่งเป็ นพวกที่มีโนโตคอร์ ดอยู่ด้านหลัง (dorsal) ของ
ลาตัวเหนือทางเดินอาหาร แต่ ไม่ มีกระดูกสันหลัง
• กลุ่มนีร้ วมเรี ยกว่ าพวกโพรโทคอร์ เดต (Protochordates)
ซับไฟลัมยูโรคอร์ ดาตา (Urochordata หรือ Tunicata)
• สัตว์ ในซับไฟลัมยูโรคอร์ ดาตา (Urochordata หรือ Tunicata, Gr.
Oura, tail + L. chorda, cord + ata, characterized by) มีจานวน
ประมาณ 1,500 สปี ชีส์ พบในทะเลใกล้ ชายฝั่ งหรือในทะเลลึก
• ส่ วนใหญ่ เมื่อเป็ นตัวเต็มวัยเกาะอยู่กับที่ แต่ บางชนิดอาจหากิน
อิสระ เรียกทั่วไปว่ าพวก ยูโรคอร์ เดต (tail-chordates) มักรู้จัก
กันในชื่อ tunicate หรือ sea squirt ที่เรี ยกว่ า ทูนิเคต เพราะตัว
เต็มวัยมีสารคลุมตัวเรียกว่ า ทูนิค (tunic) คล้ ายหนังหรื อเมือก
ประกอบด้ วยสารเซลลูโลสที่ตวั เต็มวัยหลั่งออกมาและที่เรียกว่ า
sea squirt เพราะสามารถฉีดนา้ ออกจากตัวทางช่ องไซฟอน
ซับไฟลัมยูโรคอร์ ดาตา (Urochordata หรือ Tunicata)
• ในประเทศไทยเรียกชื่อว่ า เพรียงหัวหอม เพราะมีลักษณะ
คล้ ายหัวหอม
• ตัวเต็มวัยของทูนิเคตมีลักษณะของคอร์ เดตที่เปลี่ยนแปลงไป
มาก เพราะลักษณะของคอร์ เดตจะเห็นได้ ชัดในระยะตัวอ่ อน
คือการมีโนโตคอร์ ดเฉพาะที่หาง และมีเส้ นประสาทด้ านหลัง
ลาตัว
• ซึ่งเมื่อตัวอ่ อนมีกระบวนการเมตามอร์ โฟซิสจนเป็ นตัวเต็มวัย
แล้ ว หางจะหายไปรวมทัง้ โนโตคอร์ ด และเส้ นประสาท
ด้ านหลังลาตัวจะลดรู ปเหลือเพียงปมประสาทอันเดียว
ซับไฟลัมยูโรคอร์ ดาตา แบ่ งเป็ น 3 คลาส
1. คลาสแอสซิดเิ อซีย (Ascidiacea) เรี ยกทั่วไปว่ า แอสซิเดียน
(ascidian) หรื อ sea squirt เป็ นพวกที่ร้ ู จักคุ้นเคยมากที่สุด
อาจอยู่เดี่ยว (solitary) หรื อเป็ นโคโลนี (colony) เมื่อโตเต็มวัย
เกาะอยู่กับที่
ซับไฟลัมยูโรคอร์ ดาตา แบ่ งเป็ น 3 คลาส
2. คลาสแอบเพนดิคูลาเรี ย (Appendicularia) หรื อลาวาเซีย (Lavacea)
เป็ นพวกล่ องลอย (plankton) ตัวเต็มวัยยังมีหางและโนโตคอร์ ด ไม่
มีทนู ิคที่เป็ นสารเซลลูโลส เยื่อบุผิวหลั่งสารเจลออกมาปกคลุม
ร่ างกาย
ซับไฟลัมยูโรคอร์ ดาตา แบ่ งเป็ น 3 คลาส
3. คลาสทาลิเอเชีย (Thaliacea) เป็ นพวกล่ องลอย ตัวเต็มวัย
ไม่ มีหาง รู ปร่ างคล้ ายถัง (barrel shape) ท่ อนา้ เข้ าและท่ อนา้
ออกอยู่ด้านตรงข้ ามของลาตัว การไหลเวียนของนา้ เกิดจาก
การหดตัวของผนังลาตัว
ลักษณะของยูโรคอร์ เดต
• พวกยูโรคอร์ เดตที่เกาะอยู่กับที่
(sessile) จะเอาร่ างกายที่คล้ ายถุง
เกาะกับหินหรื อวัตถุแข็งๆ ลาตัว
ด้ านหลังมีท่อยื่นออกมา 2 ท่ อ
คือท่ อนา้ เข้ า (incurrent siphon)
ซึ่งช่ องปากอยู่ภายในจึงเรี ยกว่ า
ท่ อปาก (oral siphon) และจัดเป็ น
ด้ านหน้ า (anterior) อีกท่ อหนึ่ง
คือ ท่ อนา้ ออก (excurrent siphon
หรื อ atrial siphon) ซึ่งอยู่
ด้ านหลัง (dorsal) ของลาตัว
• ผนังลาตัวของทูนิเคตส่ วนใหญ่ ปกคลุมด้ วยสารคล้ ายเนือ้ เยื่อ
เกี่ยวพัน เรียกว่ า ทูนิค มีลักษณะเหนียว ประกอบด้ วยโปรตีน
เกลือต่ างๆ และเซลลูโลสหลั่งออกมาจากชัน้ เอพิเดอร์ มิส
• ส่ วนของทูนิคที่แผ่ ออกคล้ ายราก
เรียกว่ า สโตลอน (stolon)
ช่ วยในการยึดเกาะกับพืน้
ใต้ ผนังลาตัวมีเยื่อชัน้ ในเรียก
แมนเทิล (mantle)
และมีกล้ ามเนือ้ ตามยาว
และกล้ ามเนือ้ วง
ช่ วยทาให้ ตวั เต็มวัยเปลี่ยนรูปร่ างได้
• โครงสร้ างภายในที่มีขนาดใหญ่
ที่สุดคือ ฟาริงซ์ หรื อ branchial sac
และมีช่องล้ องรอบเรี ยก เอเตรี ยม
(atrium) ฟาริงซ์ ต่อมาจาก oral
siphon และไปต่ อกับทางเดิน
อาหาร ด้ านที่ต่อกับ oral siphon มี
หนวดช่ วยพัดสารขนาดใหญ่ ไม่ ให้
เข้ าฟาริงซ์ ฟาริงซ์ มีร่องตะแกรง
จานวนมาก (gill slit) เรี ยก สติกมา
(stigma) ซิเลียที่สติกมาจะพัดโบก
ให้ นา้ หมุนเวียนเข้ าสู่ฟาริงซ์ เข้ าสู่
เอเตรี ยมและออกจากตัวทาง atrial
siphon
ทางเดินอาหารของตัวเต็มวัย
• เริ่มจากท่ อนา้ เข้ า (oral siphon) ซึ่ง
มีปากอยู่ภายใน และต่ อไปยังฟา
ริงซ์ ซ่ งึ มีเอนโดสไตล์ (endostyle)
ที่เป็ นร่ องตามยาวในแนวดิ่ง และ
อยู่ก่ งึ กลางทางด้ านท้ อง (mid
ventral side) ของลาตัว ทาหน้ าที่
สร้ างแผ่ นเมือกและมีซเิ ลีย
• ซิเลียจะพัดพาแผ่ นเมือกไปทาง
ด้ านหลัง (dorsal) เพื่อไปจับกับ
อาหารที่เข้ ามาทางท่ อนา้ เข้ า และ
จะออกทางท่ อนา้ ออกที่ด้านหลัง
ของลาตัว
• อาหารที่ถูกแผ่ นเมือกจับไว้ จะเคลื่อนที่ต่อไปโดยการพัดของซิ
เลียไปยังหลอดอาหาร กระเพาะ ลาไส้ และออกทางทวารหนัก
ที่อยู่ใต้ ท่อนา้ ออก ที่กระเพาะมีการหลั่งเอนไซม์ ออกมาย่ อย
อาหารนอกเซลล์ และการดูดซึมส่ วนใหญ่ เกิดขึน้ ที่ลาไส้
• ที่ฟาริงซ์ ยังมีการแลกเปลี่ยนแก๊ สระหว่ างนา้ ที่หมุนเวียนเข้ ามา
ในตัว
ระบบหมุนเวียนเลือด
• เป็ นระบบปิ ด ประกอบด้ วยหัวใจ (heart) อยู่ด้านท้ าย
(posterior) หรือด้ านฐานของลาตัวใกล้ กับกระเพาะ และมี
หลอดเลือดใหญ่ 2 เส้ น คือ เส้ นหนึ่งไปเลีย้ งอวัยวะด้ านหน้ า
(anterior) อีกเส้ นหนึ่งไปเลีย้ งอวัยวะด้ านท้ าย (posterior) โดย
ไปเลีย้ งอวัยวะย่ อยอาหาร และอวัยวะสืบพันธุ์ เลือดจึงไหล 2
ทิศทาง โดยหัวใจส่ งเลือดไปด้ านหน้ า สักครู่จะพักแล้ วส่ งเลือด
กลับทิศทางไปด้ านตรงข้ ามสลับกัน
• เลือดของทูนิเคตไม่ มีสี
และมีอะมีบอยด์ เซลล์ หลายชนิด
• การขับถ่ ายของเสีย พวกแอมโมเนียเกิดโดยการแพร่
ผ่ านฟาริงซ์ ออกไป นอกจากนีย้ ังมีอะมีบอยด์ เซลล์ ของ
ระบบหมุนเวียนเลือดช่ วยสะสมกรดยูริกไว้ และขับออกที่
ลาไส้
• ระบบประสาท มีปมประสาท (nerve ganglion) อันเดียว
อยู่ท่ ผี นังของฟาริงซ์ ระหว่ างท่ อนา้ ทัง้ สอง แต่ ไม่ มีอวัยวะ
รั บความรู้ สึกเฉพาะ มีแต่ เซลล์ รับความรู้ สึกกระจายอยู่ท่ ี
ผนังลาตัว โดยเฉพาะรอบๆ ท่ อนา้
การสืบพันธุ์
• มีเพศรวมกัน (monoecious)
• อวัยวะสืบพันธุ์อยู่ใกล้ ลาไส้
และท่ อสืบพันธุ์เปิ ดออก
ใกล้ ท่อนา้ ออก
• เซลล์ สืบพันธุ์ปล่ อยออกทาง
ท่ อนา้ ออก เพื่อให้ เกิด
ปฏิสนธิภายนอก
• บางชนิดอาจมีการปฏิสนธิ
ภายใน
• ตัวอ่ อนของยูโรคอร์ เดตมีลักษณะ
คล้ ายลูกอ๊ อด (tadpole larva) ที่
หางมีโนโตคอร์ ด (adhesive gland)
• ทางเดินอาหารสมบูรณ์ มีปาก มี
ช่ องเหงือก เอนโดสไตล์ ลาไส้
และทวารหนัก
• มีระบบหมุนเวียนเลือด มีช่องว่ าง
ลาตัว และระบบประสาท มีสมอง
ปมประสาท มีตาและหู
• ตัวอ่ อนว่ ายนา้ เป็ นอิสระระยะหนึ่ง
ต่ อมาจึงยึดเกาะกับที่ด้วยต่ อมยึด
เกาะ แล้ วเกิดเมตามอร์ โฟซิส โดย
หางหดสัน้ เข้ า
• โนโตคอร์ ด เส้ นประสาทและกล้ ามเนือ้ หดเข้ าไปอยู่ในลาตัว
• ระบบประสาทเหลือแต่ ปมประสาทที่ลาตัว
• ฟาริงซ์ หรือ branchial sac ขยายใหญ่ มีช่องเปิ ดจานวนมาก
และมีหลอดเลือดแทรกเข้ ามา
• กระเพาะและลาไส้ ขยายใหญ่
• ส่ วนของร่ างกายที่อยู่ระหว่ างส่ วนที่ยดึ เกาะและปากเจริญ
อย่ างรวดเร็ว ทาให้ เกิดการบิดตัวเกือบ 180°
• ดังนัน้ ปากจึงมาอยู่ด้านหน้ า (ด้ านที่ไม่ มีได้ ยดึ เกาะ) ทาให้
ทางเดินอาหารเป็ นรูปตัวยู แล้ วอวัยวะสืบพันธุ์จงึ เกิดขึน้
ระหว่ างกระเพาะกับลาไส้ ต่ อมยึดเกาะหายไป และสารคลุม
ตัวเจริญขึน้ มาคลุมทัง้ ตัว
เมตามอร์ โฟซิสของยูโรคอร์ เดตจากตัวอ่ อนจนเป็ นตัวเต็มวัย
ซับไฟลัมเซฟาโลคอร์ ดาตา (Subphylum Cephalochordata)
• สัตว์ ในไฟลัมเซฟาโลคอร์ ดาตา (Subphylum
Cephalochordata, Gr. kephalo, head + L. chorda, cord)
• มีลาตัวยาว หัวแหลมท้ ายแหลม คล้ ายใบหอก จึง
เรี ยกว่ า lancelets มักเรี ยกว่ า แอมฟิ ออกซัส
(Amphioxus)
• ซับไฟลัมนีม้ ี 2 จีนัส คือ Branchiostoma และ
Asymmetron
• มีสมาชิกทัง้ หมดประมาณ 45 สปี ชีส์ มีกระจายทั่วโลก
ในแหล่ งนา้ สะอาด
• เซฟาโลคอร์ เดตมีขนาดเล็กยาวประมาณ 5 เซนติเมตร
• หัวท้ ายเรี ยวคล้ ายปลา แบนทางด้ านข้ าง
• ตัวใสๆ มักฝั งตัวอยู่ท่ พ
ี นื ้ ทรายที่สะอาด
• พวกนีม้ ีลักษณะเฉพาะของไฟลัมคอร์ ดาตา 4 ประการแรก
• นอกจากมีโนโตคอร์ ดซึ่งยาวจากหัวจรดหางแล้ ว ยังมีกล้ ามเนือ้
เป็ นบัง้ ๆ อยู่ 2 ข้ างโนโตคอร์ ด ช่ วยให้ ลาตัวเคลื่อนไหวไปในนา้
ได้
• ด้ านหน้ าลาตัวมีส่วนยื่นของปากเป็ นกรวยปาก (oral hood,
vestibule) ที่มีซเิ ลียด้ วย เรี ยกว่ า เซอไร (cirri) หรื อ tentacle ยื่นออก
ทางด้ านล่ าง เพื่อใช้ ในการกินอาหาร
• ช่ องปากเป็ นช่ องเปิ ดวงกลมมีแผ่ นเยื่อวีลัม (velum)
อยู่ตอนท้ ายของกรวยปาก
• บนแผ่ นเยื่อวีลัมมีหนวด 12 เส้ น ป้องกันสารขนาดใหญ่ ผ่านเข้ า
ปาก ซิเลียในกรวยปากหมุนวนเป็ นรอบเรี ยกว่ า “wheel organ”
• จากปากเปิ ดเข้ าสู่ฟาริงซ์ ท่ มี ีช่องเหงือกจานวนมาก และมีแท่ ง
เหงือก (gill bar) ซึ่งเป็ นกระดูกอ่ อนคา้ จุน รอบๆ ฟาริงซ์ มี
ช่ องว่ างเอเตรียมล้ อมรอบเพื่อป้องกันอันตราย และมีช่องเปิ ด
จากเอเตรียมออกสู่ภายนอกที่เอตริโอพอร์ (atriopore)
• เซฟาโลคอร์ เดตเป็ นพวกกินอาหารโดยการกรอง ระหว่ างหา
อาหารมักฝั งตัวในทราย และยื่นปากขึน้ มา
• ซิเลียที่ปากพัดโบกให้ นา้ เข้ าปากและฟาริงซ์ และกรองออกที่
ช่ องเหงือกไปสู่เอเตรียม และนา้ ออกจากร่ างกายทางเอดริโอ
พอร์
• การเลือกอาหารเกิดที่เซอไร โดยสารขนาดใหญ่ จะถูกซิเลียที่
เซอไรจับไว้
• เมื่อมีมากๆ เซอไรจะหดตัวทิง้ สารเหล่ านีไ้ ป ส่ วนสารอาหาร
ขนาดเล็กจะเข้ าปากพร้ อมกับนา้ และมีแผ่ นเมือกจากเอนโด
สไตล์ มาจับไว้ เอนโดสไตล์ เป็ นร่ องที่มีซเิ ลียอยู่ตามความยาว
ของกึ่งกลางด้ านท้ องของฟาริงซ์ อาหารจะถูกจับเป็ นก้ อน และ
ซิเลียพัดเข้ าทางเดินอาหาร การย่ อยอาหารมีทงั ้ การย่ อยนอก
เซลล์ และการย่ อยในเซลล์ ทางเดินอาหารสิน้ สุดที่ทวารหนักซึ่ง
อยู่ด้านซ้ ายของครีบท้ อง (ventral fin)
• เซฟาโลคอร์ เดตไม่ มีหวั ใจที่แท้ จริง
• การหมุนเวียนเลือดเกิดจากการหดตัวของหลอดเลือดด้ าน
ท้ อง (ventral aorta) ซึ่งจะหดตัวอย่ างต่ อเนื่อง ส่ งเลือดไปยัง
branchial artery หรือ aortic arch ในแท่ งเหงือกแล้ วส่ งไปยัง
dorsal aorta จากนีเ้ ลือดจะกระจายไปอวัยวะต่ างๆ ทั่วตัว แล้ ว
รวมกันกลับมาเข้ าสู่ ventral aorta อีก เลือดไม่ มีสี ไม่ มีทงั ้
ฮีโมโกลบินและเม็ดเลือดแดง
• ระบบประสาท อยู่เหนือโนโตคอร์ ด ประกอบด้ วยเส้ นประสาท
1 เส้ นอยู่ด้านหลัง (dorsal) ด้ านหน้ าขยายใหญ่ เป็ นส่ วนสมอง
• ระบบสืบพันธุ์ มีเพศแยกกัน อวัยวะสืบพันธุ์ย่ นื เข้ าไปในเอ
เตรียม ปล่ อยเซลล์ สืบพันธุ์ออกมาในเอเตรียม และออกนอก
ตัวทางรู เอตริโอพอร์ เพื่อไปปฏิสนธิภายนอก
• ตัวอ่ อนมีสามาตรแบบครึ่งซีก ว่ ายนา้ เป็ นอิสระ ต่ อมาเกาะอยู่
กับที่แล้ วจึงเกิดเมตามอร์ โฟซิสเป็ นตัวเต็มวัย
กลุ่มมีกะโหลกศีรษะ (Craniata)
• หรื อซับไฟลัมเวอร์ ทบี ราตา (Vertebrata)
• ลักษณะสาคัญของซับไฟลัมนี ้ คือมีกระดูกสันหลังซึ่งเป็ น
แกนกลางของร่ างกาย และมีกล่ องสมองหรื อกะโหลก
ศีรษะ (cranium)
• สัตว์ ในกลุ่มนี ้ ได้ แก่ ปลาปากกลม ปลากระดูกอ่ อน ปลา
กระดูกแข็ง สัตว์ ครึ่งบกครึ่งนา้ สัตว์ เลือ้ ยคลาน นก และ
สัตว์ เลีย้ งลูกด้ วยนา้ นม
ลักษณะของซับไฟลัมเวอร์ ทบี ราตา
1. มีโนโตคอร์ ด เส้ นประสาทอยู่ด้านหลังของลาตัว (dorsal
nerve cord) ถุงเหงือกที่ผนังฟาริงซ์ (pharyngeal gill pouches)
และหางอยู่ด้านท้ ายของทวารหนัก ในระยะใดระยะหนึ่งของ
ช่ วงชีวติ
2. มีเครื่องห่ อหุ้มร่ างกาย คือ ชัน้ นอกเป็ นเอพิเดอร์ มิสที่สร้ าง
จากชัน้ เอกโทเดิร์ม และชัน้ ในเป็ นเดอร์ มิส (dermis) ที่สร้ าง
จากเนือ้ เยื่อชัน้ มีโซเดิร์ม นอกจากนีย้ ังมีส่ งิ ที่เปลี่ยนแปลงมา
จากผิวหนัง ได้ แก่ ต่ อมเมือกในสัตว์ นา้ เกล็ด (ปลา), ขน
(hair) ของสัตว์ เลีย้ งลูกด้ วยนา้ นม ขนนก (feather) เขา กรง
เล็บ (claw) และกระดอง (เต่ า) เป็ นต้ น
3. ในสัตว์ มีกระดูกสันหลังที่มีขากรรไกร โนโตคอร์ ดถูกแทนที่
ด้ วยกระดูกสันหลัง ซึ่งอาจเป็ นกระดูกอ่ อนหรื อกระดูกแข็ง
หรือทัง้ 2 อย่ าง โครงร่ างภายในประกอบด้ วยกระดูกสันหลัง มี
กะโหลกศีรษะ วิสเซอรัลอาร์ ก (visceral arch) กระดูกรองรั บ
รยางค์ (limb girdle) และรยางค์ ท่ เี ป็ นข้ อต่ อ 2 คู่
4. มีกล้ ามเนือ้ เกาะติดกับโครงกระดูก เพื่อช่ วยในการเคลื่อนที่
5. มีทางเดินอาหารสมบูรณ์ อยู่ด้านท้ องของกระดูกสันหลัง มี
ต่ อมช่ วยในการย่ อยอาหาร เช่ น ตับ ตับอ่ อน สร้ างนา้ ย่ อย
ออกมาย่ อยอาหาร
6. ระบบหมุนเวียนเลือดแบบปิ ด มีหวั ใจอยู่ด้านท้ องของทางเดิน
อาหาร (ventral heart) หัวใจมี 2-4 ห้ อง มีหลอดเลือดติดต่ อกันทัง้
หลอดเลือดแดง หลอดเลือดดา หลอดเลือดฝอย เลือดมีเม็ดเลือด
แดงที่มีฮีโมโกลบิน และเม็ดเลือดขาว มีระบบนา้ เหลือง ในสัตว์ มี
กระดูกสันหลังชัน้ ต่า ที่อยู่ในนา้ มีเส้ นเลือดแดงใหญ่ (aortic arch)
เป็ นคู่ๆ เชื่อมเส้ นเลือดแดงด้ านท้ อง (ventral aorta) และเส้ นเลือด
แดงด้ านหลัง (dorsal aorta) และส่ งเลือดจากหัวใจไปเหงือก ใน
พวกสัตว์ มีกระดูกสันหลังที่อยู่บนบกมีการเปลี่ยนแปลงของ aortic
arch เป็ นระบบ pulmonary system และ systemic system
7. มีช่องว่ างลาตัว (coelom) เจริญดี มีขนาดใหญ่ บรรจุอวัยวะภายใน
ไว้
8. ระบบขับถ่ ายมีไตเป็ นคู่ๆ
9. ระบบหายใจในพวกชัน้ ต่าใช้ เหงือกที่มีเป็ นคู่ๆ พวกสัตว์ บกใช้
ปอดที่พัฒนามาจากทางเดินอาหารที่โป่ งออก
10. สมองแบ่ งเป็ น 5 ส่ วน มีเส้ นประสาทสมอง (cranial nerve) 10
หรื อ 12 คู่ ซึ่งมีทงั ้ รั บความรู้ สึกและนาคาสั่ง มีเส้ นประสาทสันหลัง
(spinal nerve) และระบบประสาทอัตโนมัติ (autonomic nervous
system)
11. ระบบต่ อมไร้ ท่อ กระจายทั่วร่ างกาย สร้ างฮอร์ โมนส่ งไปกับ
กระแสเลือด เพื่อควบคุมการเจริญเติบโต การสืบพันธุ์ และ
กระบวนการต่ างๆ
12. มีเพศแยกกัน มีอวัยวะสืบพันธุ์เป็ นคู่ๆ มีท่อสาหรั บส่ งเซลล์
สืบพันธุ์ออกมายังโคลเอกาหรื อช่ องเปิ ดโดยเฉพาะ
13. ร่ างกายประกอบด้ วยส่ วนหัว ลาตัว และหาง บางชนิดมีคอ พวก
อยู่บนบกมีรยางค์ 2 คู่ ช่ องว่ างลาตัวมักแบ่ งเป็ นช่ องหัวใจ และ
ช่ องลาตัว สัตว์ เลีย้ งลูกด้ วยนา้ นมมีช่องอกด้ วย