PowerPoint บทที่ 10 - dusithost.dusit.ac.th

Download Report

Transcript PowerPoint บทที่ 10 - dusithost.dusit.ac.th

บทที่ 10
แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ในอนาคต
วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ
หัวข้อ
 แนวโน้มการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในอนาคต
 เทคโนโลยีสารสนเทศกับความร ับผิดชอบต่อ
่
สังคมและสิงแวดล้
อมในอนาคต
 การปฏิรูปการทางานกับการใช้ข่าวสารบน
ฐานเทคโนโลยีในอนาคต
่
 การปฏิบต
ั ต
ิ นให้ทน
ั ต่อการเปลียนแปลงของ
เทคโนโลยีสารสนเทส
แนวโน้มการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศใน
อนาคต
 ระบบคอมพิวเตอร ์
 ฮาร ์ดแวร ์
 เท็บเล็ต (tablet)
 สมาร ์ทโฟน (smartphone)
 ซอฟต ์แวร ์
 Software as a Service (SaaS)
่ ั (mobile
 โมบายแอพพลิเคชน
application)
 คลาวด ์คอมพิวติง้ (cloud computing)
แนวโน้มการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในอนาคต
 ฮาร ์ดแวร ์
้ พ.ศ. 2554 และจะ
ไดร้ บั ความนิ ยมมาตังปี
้
ไดร้ บั ความนิ ยมอย่างต่อเนื่ องและสูงขึนในอนาคต
โดยเฉพาะอย่างยิง่
ไอเพด (iPad ของ Apple) และ คินเดิล้ (Kindle ของ Amazon) ซึง่
ส่ ว นมากใช ้ส าหร บ
ั การเข า้ ไปอ่ า นหนั ง สือ อิเ ล็ ก ทรอนิ ก ส ์ (e-Book)
โดยการเชื่อมต่ อ การพั ฒ นาของออนไลน์ม าเก็ ต เพลส (online
market place) ของ Amazon หรือ iStore ของ Apple ทาให ้
้
้ ้
ผูใ้ ช ้งานสามารถเขา้ ถึงเนื อหา
(content) ต่างๆ และสามารถซือได
้ นอกจากนี ้ยัง มีค าดการณ์ว่า ในอนาคตจะมีก ารใช ้เครือง
่
สะดวกขึน
่
คอมพิวเตอร ์แบบแท็ บเล็ ตมากกว่าเครืองเน็
ตบุก
๊ (netbook) ดว้ ย
่
่
่ งกว่า
ศักยภาพของเครืองคอมพิ
วเตอร ์แท็บเล็ตทีสามารถประมวลผลที
สู
และมีอุ ป กรณ์เ สริม เช่น คีย บ์ อร ์ดที่มี ที่เสีย บแท็ บ เล็ ต ส าหร บ
ั ผู ท
้ ี่ไม่
่
่
ชอบเวิลชัวร ์คีบรอด (visual keyboard) และแบตเตอรีพกพาเพื
อ
่ ขนาดเบาทา
ยืดเวลาการใช ้งานอุปกรณ์ และด ้วยขนาดของแท็บเล็ตทีมี
่
่
ให ้สะดวกในการพกพา และมีหน้าจอทีแสดงผลแบบสั
มผัสซึงสะดวกต่
อ
้ ร้ ฐั บาลมีนโยบายทีจะแจกเครื
่
่
การใช ้งานอีกดว้ ย ทังนี
องแท็
บเล็ ตใหก้ บ
ั
 1) แท็บเล็ต (tablet)
แนวโน้มการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในอนาคต
 ฮาร ์ดแวร ์
• 2) สมารท
์ โ ฟ น (smartphone) คื อ โ ท ร ศั พ ท ์มื อ ถื อ ห รื อ
โ
ท
ร
ศั
พ
ท์
เ
ค
ลื่
อ
น
ที่
่
ที่สามารถเชือมต่
อ อิน เทอร ์เน็ ตได ้ มีร ะบบปฏิบ ต
ั ิก ารระดับ สูงในตัว มี
้
ความยืดหยุ่นในการใช ้งานสูง สามารถติดตังโปรแกรมได
้หลากหลาย ซึง่
่ ตออกมากกว่า 300 รุน
่ ราคา
ปั จจุบน
ั มีสมาร ์ทโฟนทีผลิ
่ ในตลาด ซึงมี
้
้
่ ร้ บั ความนิ ยมมากคือ ไอโฟน (iPhone)
ตังแต่
5,000 บาทขึนไป
ทีได
่ บ (Sumsung Galaxy Tab) และโนเกีย (Nokia)
ซมั ซุงกาแล็กซีเท็
เป็ นต ้น จากการเปิ ดตัวของระบบปฏิบต
ั ก
ิ ารแอนดรอย ์ (androids) ที่
เ ริ่ ม แ พ ร่ ห ล า ย จึ ง ท า ใ ห ้ ก า ร เ ข ้ า ถึ ง ผู ้ ใ ช ผ
้ ่ า น แ อ พ พ ลิ เ ค ชั่ น
้ ในรูป แบบเรีย ลไทม ์
(application) ต่า งๆ ทาง สมาร ์ทโฟนไดง้ ่ า ยขึน
่
่ ั (mobile
(real time) โดยเฉพาะอย่างยิงการใช
้โมบายแอพพลิเคชน
่
่ าสนใจ
application) เพือสร
้างอรรถประโยชน์โดยตรงผ่านรูปแบบทีน่
่ จ จุบ น
่ ่ดึง ดู ด ความสนใจของคนไทยได ม้ ากที่สุ ด
ซึงปั
ั แอพพลิเ คชันที
่
เกี่ยวข อ้ งกับ การถ่ า ยรู ป และสามารถเชือมโยงกั
บ เครือ ข่ า ยสัง คม
่ นสตราแกรม
ออนไลน์ (online social network) เช่น แอพพลิเคชันอิ
แนวโน้มการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในอนาคต
่
ภาพที่ 10.1 นาเสนอการใช ้โทรศัพท ์มือถือของคนทัวโลก
พบว่าใน
้ การเปลียนแปลงวิ
่
่
ปัจจุบน
ั นี มี
ถก
ี ารใช ้โทรศัพท ์มือถือเชือมโยงการสื
บค ้น
่ างๆ ซึงมี
่ ผลกระทบต่อพฤติกรรมของผูใ้ ช ้ดังนี ้
ข ้อมูลข่าวสารและสือต่
(Online Market Trend, 2012)
้ ใ้ ช ้โทรศัพท ์มือถือโดยเฉลียวั
่ นละมากกว่า 7.2 ชัวโมงซึ
่
่ ด
1) ปัจจุบน
ั นี ผู
งคิ
เป็ น 27% ของเวลาใน 1 วัน
่ างๆ เช่น 67% พิมพ ์บนบนเตียง
2) มีการใช ้โทรศัพท ์มือถือในสถานทีต่
นอน 47% ใช ้สาหร ับการฆ่าเวลาในการรอคอยบางสิง่ 39% ขณะดู
่
โทรทัศน์ 25% สือสารกั
บผูอ้ น
ื่ 22% ใช ้ระหว่างอยู่กบั ครอบคร ัว 19%
้ งสรรค ์
ในห ้องน้า 15% ระหว่างการชอปปิ ้ง และ 15% ในงานเลียงสั
ต่างๆ เป็ นต ้น
้
3) การใช ้โทรศัพท ์มือถือในลักษณะต่างๆ ขึนอยู
่กบั เพศด ้วย เช่น ใช ้
สาหร ับ เล่นเว็บไซต ์โชเชียลมีเดีย (social media), สร ้างความบันเทิง
(entertainment), เล่นเกม (games), ค ้นหาข ้อมูล (general
แนวโน้มการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในอนาคต
่
ภาพที่ 10.1 นาเสนอการใช ้โทรศัพท ์มือถือของคนทัวโลก
พบว่าใน
้ การเปลียนแปลงวิ
่
่
ปัจจุบน
ั นี มี
ถก
ี ารใช ้โทรศัพท ์มือถือเชือมโยงการสื
บค ้น
่ างๆ ซึงมี
่ ผลกระทบต่อพฤติกรรมของผูใ้ ช ้ดังนี ้
ข ้อมูลข่าวสารและสือต่
(Online Market Trend, 2012)
4) การโฆษณาประชาสัมพันธ ์ พบว่าในปัจจุบน
ั การโฆษณาผ่านทาง
้
โทรศัพท ์มือถือมีผลต่อการตัดสินใจซือของผู
บ้ ริโภคมากกว่า 48%
ทางคอมพิวเตอร ์และเว็บไซต ์ 47% และทางโทรทัศน์ 46%
้ นค ้า
5) โทรศัพท ์มือถือมีผลกระทบต่อพฤติกรรมของผูบ้ ริโภคในการซือสิ
่
และบริการมากขึน้ ซึงพบว่
า 42% ใช ้การโฆษณาบนโทรศัพท ์มือถือ
่ ้ทางเลือกทีดี
่ กว่า 26% ช่วยในการค ้นหา
23% นาเสนอข ้อมูลทีให
้ นค ้าและบริการผ่านทางโทรศัพท ์มือถือ
ข ้อมูล และ 14% ซือสิ
แนวโน้มการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในอนาคต
1.2 ซอฟต ์แวร ์ แนวโน้มของซอฟต ์แวร ์ในอนาคตจะมีลก
ั ษณะเป็ น SaaS
่ ้สาหรบั องค ์กรธุรกิจ และ โมบายแอพพลิเคชันส
่ าหรบั ผูบ้ ริโภค ซึง่
ทีใช
มีรายละเอียดดังนี ้
1.2.1 Software as a Service (SaaS) คือ การใช ้ซอฟต ์แวร ์
่
่ ต ้องมีการลงทุนซืออุ
้ ปกรณ์
แอพพลิเคชันเหมื
อนกับการร ับบริการ ซึงไม่
ฮาร ์ดแวร ์และซอฟต แ์ วร ์ใดๆ แต่ ส ามารถใช ้งานซอฟต แ์ วร ์ได ต
้ ามที่
ต ้องการ ซึง่ SaaS เป็ นอีกทางหนึ่ งของการใช ้ซอฟต ์แวร ์ธุรกิจโดยไม่
่ าใหอ้ งค ์กร
ตอ้ งทุน เพียงแต่เสียค่าใช ้จ่ายเป็ นรายเดือนหรือรายปี ซึงท
้
้ ขสิทธิซอฟต
์
ประหยัดค่าใช ้ในการติดตังซอฟต
์แวร ์ ซือลิ
์แวร ์ ค่าใช ้จ่าย
่ แ ลและค่าใช ้อืนๆอี
่
ของเจา้ หน้า ทีดู
กมากมาย ลักษณะของซอฟต ์แวร ์
ประเภท SaaS
โดยทั่วไปจะทางานผ่ านเครือข่ายอินเตอร ์เน็ ตดว้ ย
่ าลัง
โปรแกรมเว็บบราวเซอร ์ (web browser) SaaS เป็ นแนวโน้มทีก
ม า แ ร ง ตั ว อ ย่ า ง ข อ ง ก า ร ป ร ะ ส บ ค ว า ม ส า เ ร็ จ อ ย่ า ง ง ด ง า ม คื อ
saleforce.com เป็ นต ้น
แนวโน้มการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในอนาคต
่ (mobile application) สาหรบั ผูบ้ ริโภคจะมี
1.2.2 โมบายแอพพลิเคชัน
่
้ อยๆ
่
่
่
การเติบโตเพิมมากขึ
นเรื
เนื่ องจากมีอต
ั ราการใช ้อุปกรณ์เคลือนที
่ ่มมากขึน
้ ซึงศู
่ นย ์วิจยั กสิกรไทย
อย่างโทรศัพท ์มือถือ และแท็ บเล็ ต ทีเพิ
่
ได ้วิเคราะห ์ถึงสภาพการณ์ และแนวโน้มตลาดโมบายล ์แอพพลิเคชันใน
ประเทศไทยพบว่าจะมีการเติบโตแบบก ้าวกระโดด ดว้ ยปัจจัยดังต่อไปนี ้
(ศูนย ์วิจยั กสิกรไทย, 2554)
1) การขยายตัวของตลาดสมาร ์ทโฟน เนื่ องจากคุณสมบัตอ
ิ น
ั โดดเด่นของ
สมาร ท
์ โ ฟนในก าร เชื่อ มต่ อ ระบบ อิ น เทอ ร เ์ น็ ต และสา มาร ถล ง
่ างๆไดอ้ ย่างและสะดวก จึงทาใหเ้ กิดความตอ้ งการสูงใน
แอพพลิเคชันต่
่
่
การพัฒนาแอพพลิเคชันเพื
อสร
้างบริการใหม่ๆ ในการตอบสนองความ
ต ้องการของผูบ้ ริโภคในยุคปัจจุบน
ั ได ้ดี
่
่
2) การขยายตัวของตลาดแท็บเล็ต ถึงแม้ว่าฟังก ์ชันการท
างานโดยทัวไป
ของแท็บเล็ตจะมีความคล ้ายคลึงกันกับ สมาร ์ทโฟน แต่ดว้ ยความเร็วใน
่ งกว่า และขนาดของหน้าจอแสดงผลทีใหญ่
่
การประมวลผลขอ้ มูลทีสู
้ ประกอบกับความสามารถในการใช ้งานแอพพลิเคชันที
่ ถู
่ กพัฒนา
ขึน
่ ค้ วามสนใจในการใช ้งานแท็บเล็ต
สาหรบั สมาร ์ทโฟนได ้ ทาใหผ
้ ูใ้ ช ้เริมให
แนวโน้มการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในอนาคต
่ ้ว่านับเป็ นจุดเริมต
่ ้นของการ
3) การเปิ ดให ้บริการ 3G เชิงพาณิ ชย ์ ซึงได
่
่
เปลียนแปลงโฉมหน้
าธุรกิจบริการโทรคมนาคมสูย
่ ค
ุ การสือสารข
้อมูล
ความเร็วสูง และคาดว่าจะส่งผลให ้เกิดการพัฒนาบริการและ
่
่ ้องอาศัยการสือสารความเร็
่
แอพพลิเคชันใหม่
ๆทีต
วสูงด ้วย
่ ก โมบายแอพพลิเคชันที
่ จ่ าหน่ ายผ่าน
4) ราคาจาหน่ ายโทรศัพท ์มือถือทีถู
่
้ั
่ ้องชาระเงิน โดย
ร ้านแอพพลิเคชันออนไลน์
จะมีทงแบบฟรี
และแบบทีต
่ั
แอพพลิชนแบบฟรี
ในตลาดโลกมีสด
ั ส่วนประมาณร ้อยละ 36.2 ในขณะ
่
่ ้องชาระเงินจะมีสด
่ ้วยราคาของ
ทีแบบที
ต
ั ส่วนประมาณร ้อยละ 63.8 ซึงด
่ ไม่
่ แพงมากนักจึงมีความต ้องการของผูใ้ ช ้ทีจะใช
่
โมบายแอพพลิเคชันที
้
่ น้
เพิมขึ
่ ้าถึงง่าย โมบายแอพพลิเคชันจะถู
่
5) ช่องทางการจัดจาหน่ ายทีเข
กขาย
่ ยกว่า “ร ้านแอพพลิเคชัน
่
ออนไลน์ผ่านช่องทางการจัดจาหน่ ายทีเรี
ออนไลน์” (online application store) โดยผูใ้ ช ้สามารถเข ้าถึงได ้
ง่ายบนสมาร ์ทโฟน หรือแท็บเล็ต ประกอบกับการจัดหมวดหมู่
แนวโน้มการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในอนาคต
แนวโน้มการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในอนาคต
่ าลัง
1.3 คลาวด ์คอมพิวติง้ (cloud computing) เป็ นแนวโน้มทีก
่ นแนวคิดสาหรบั แพลตฟอร ์ม (platform) ของ
ได ้รบั ความนิ ยม ซึงเป็
ระบบคอมพิว เตอร ์ในยุ ค หน้า เพื่อเป็ นทางเลือ กให แ้ ก่ผู ใ้ ช ้ในการลด
้
ภาระด า้ นการลงทุ นในเทคโนโลยีส ารสนเทศ ทังการใช
ง้ านในระดับ
องค ์กรธุรกิจ (corporate users) และ ผูใ้ ช ้ระดับส่วนบุคคล
(individual
users)
โดยเป็ นหลักการนาทรพ
ั ยากรของระบบ
สารสนเทศ ทั้งฮาร ์ดแวร ์ และซอฟต แ์ วร ์มาแบ่ ง ปั นในรู ป แบบการ
ใหบ้ ริการ (Software As A Services: SaaS) ในระดับการ
่
ประมวลผลผ่านเครือข่ายอินเทอร ์เน็ ต โดยผูใ้ ช ้ไม่จาเป็ นตอ้ งมีเครือง
้
คอมพิว เตอร ์ประสิท ธิภ าพสู ง หรือ ติด ตังซอฟต
แ์ วร ์ระบบ ตลอดจน
่ านวนมาก เพื่อการท างานที่ซ บ
ซอฟต แ์ วร ์แอพพลิเ คชันจ
ั ซ อ้ น แต่
่ าง ๆ จากผูใ้ หบ้ ริการ
สามารถใช ้บริการประมวลผล และแอพพลิเคชันต่
ระบบประมวลผลคลาวด แ์ ละช าระค่ า บริก ารตามอัต ราการใช ง้ านที่
้ ง ภาพที่ 10.3 แสดงการทางานของระบบคลาวด ์คอมพิวติงที
้ ่
เกิดขึนจริ
มีก ารจัด เก็ บ และประมวลผลผ่ า นระบบคลาวด ์ สามารถรองร บ
ั การ
ทางานระบบคอมพิวเตอร ์ได ้อย่างมีประสิทธิภาพ
แนวโน้มการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในอนาคต
แนวโน้มการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในอนาคต
่
2. ระบบสือสารโทรคมนาคม
2.1 เครือข่ายสังคมออนไลน์ (online social network) หมายถึง
่ บ้ ริการผูใ้ ช ้ใหส้ ามารถสร ้างเว็บ โฮมเพจของตน เขียนเว็บ
เว็บไซต ์ทีให
บล็อก โพสต ์รูปภาพ วีดโี อ ดนตรี เพลง รวมถึงการแชร ์ความคิด และ
่
สามารถเชือมโยงไปยั
ง เว็ บไซต อ์ ื่นๆ เพื่ อค น
้ หาข อ้ มู ล ที่สนใจได ้ ซึง่
ปัจจุบน
ั มีการแสดงข ้อมูลอันดับความนิ ยมเข ้าชมเว็บไซต ์ประจาสัปดาห ์
้ สุ ด เ มื่ อ 2 5 กุ ม ภ าพั น ธ ์ พ . ศ. 25 55 ใน กลุ่ ม อุ ต สา หก รร ม
สิ น
“Computer and Internet – Social Networking and Forum”
มีรายละเอียดดังนี ้
แนวโน้มการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในอนาคต
อ ันด ับ
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
8.
9.
10.
เว็บไซต ์
Facebook
Youtube
Twitter
Pinterest.com
Yahoo! Answer
LinkedIn
Tagged
Google+
MySpace
Yelp
สัดส่วนการเข้าใช้
งาน (%)
62.38
20.29
1.57
1.06
1.00
0.79
0.66
0.50
0.39
0.36
แนวโน้มการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในอนาคต
2.2 โซเชียลคอมเมิรซ ์ (Social Commerce) คือ การใช ้เครือข่าย
่ นส่ ว นหนึ่ งของระบบพาณิ ชย ์
สัง คมออนไลน์ใ นการค า้ ขาย ซึงเป็
อิเล็ กทรอนิ กส ์ (e-Commerce) เป็ นการนาโซเชียลมีเดีย (social
่
media) และสือออนไลน์
แบบต่างๆ มาช่วยในการสร ้างการปฏิสม
ั พันธ ์
ระหว่า งผู ข
้ ายกับ ผู ซ
้ อื ้ ช่ว ยในการขายสิน ค า้ ออนไลน์ต่า งๆ ผ่ า นทาง
เว็บไซต ์ ในอนาคตโซเซียลคอมเมริซ ์จะกลายเป็ นกลยุทธ ์ทางการตลาด
่
อีก รูป แบบหนึ่ งทีมาแรงในธุ
ร กิจ ออนไลน์ เพราะกระแสความนิ ย มของ
ผูบ้ ริโภคในยุคปั จจุบน
ั ใช ้เครือข่ายสังคม (social network) ดว้ ย
่ าใหม้ ก
่
เทคโนโลยี WEB 2.0 ทีท
ี ารแลกเปลียนข
้อมูลข่าวสาร การรบั รู ้
สิน ค า้ และบริก ารจากเพื่ อนๆ โดยการตลาดแบบบอกต่ อ (virtual
่ ข
marketing) ซึงผู
้ ายไม่จาเป็ นตอ้ งโฆษณามาก เนื่ องจากผูซ
้ อได
ื ้ ร้ บั
่
่
่ ่ในเครือข่ายสังคมของ
ข ้อมูลเกียวกั
บสินคา้ และบริการจากเพือนๆ
ทีอยู
เขานั่นเอง ทาให ้ผูบ้ ริโภคจะมีอานาจการต่อรองสูง สามารถเลือกสินค ้า
้ านวนมาก และสามารถ
โดยการจับตัวเป็ นกลุ่ม ทาใหม้ ีกาลังการซือจ
ต่อรองกับผูผ
้ ลิตสินคา้ ไดเ้ ป็ นอย่างดี โดยไม่จาเป็ นตอ้ งผ่ านพ่ อคา้ คน
แนวโน้มการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในอนาคต
่ ด ้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ได ้แก่ แนวโน้มด ้านข ้อมูล การ
3. แนวโน้มอืนๆ
วิเคราะห ์ธุรกิจ(business analytics) กรีนไอที (green IT) มาตรฐาน
ไอทีและการร ักษาความปลอดภัย (IT standard and IT security)
่ รายละเอียดดังนี ้
และ สมาร ์ทซิตี ้ (smart city) และ ซึงมี
3.1 แนวโน้มด ้านข ้อมูล บริษท
ั ฮิตาชิ ดาต ้า ซิสเต็มส ์ ได ้คาดการแนวโน้ม
้ ปี พ.ศ. 2555 มีดงั นี ้
ด ้านข ้อมูล ตังแต่
3.1.1 ความมีประสิทธิภาพของระบบจัดเก็บข ้อมูล (storage
efficiency) จะมีมากขึน้ เช่น การใช ้ระบบจัดเก็บข ้อมูลเสมือนจริง
้ แบบจ
่
(virtual storage) การจัดสรรพืนที
ากัดตามการใช ้งานจริง
และการเก็บข ้อมูลถาวร (archiving) เป็ นต ้น
3.1.2 จะมีการผสมผสานระบบเข ้าด ้วยกัน (consolidation to
convergence) โดยการผสานรวมเซริฟเวอร ์ (sever) ระบบจัดเก็บ
่ โดยอาศัยแอพพลิเคชันโปรแกรม
่
ข ้อมูล เครือข่าย และแอพพิเคชัน
่
มิง่ (Application Programming Interface :APIs) ซึงจะช่
วย
่
จากัดภาระงาน (workload) ให ้กับระบบจัดเก็บข ้อมูล ทาให ้เครือง
แนวโน้มการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในอนาคต
๊
3.1.3 ข ้อมูลขนาดใหญ่ (big data) หรือเรียกว่า “บิกดาต
้า” นั้นจะมีการ
้ งองค
่
๊
่
เติบโตมากขึนซึ
์กรจะต ้องหาวิธก
ี ารจัดการกับบิกดาต
้าทีจะเกิ
ดขึน้
3.1.4 การย ้ายข ้อมูลแบบเสมือน (virtualization migration) การย ้าย
่ ้วยความสามารถ
ข ้อมูลของอุปกรณ์แบบต ้องหยุดระบบจะถูกแทนทีด
่ กย ้ายข ้อมูลโดยไม่จาเป็ นต ้องรีบต
ใหม่ของระบบเสมือนจริงทีถู
ู
(reboot) ระบบใหม่
3.1.5 การปร ับใช ้ระบบคลาวด ์ (cloud acquisition) การปร ับใช ้ระบบ
้
่ ้งานและความต ้องการ
คลาวด ์ ทังในแบบบริ
การตนเอง แบบจ่ายเท่าทีใช
่
่ ระยะเวลาระหว่าง
จะเข ้ามามีแทนทีวงจรการปร
ับใช ้ผลิตภัณฑ ์ปัจจุบน
ั ทีมี
3-5 ปี เนื่ องจากมีการบูรณาการระบบสารสนเทศเข ้าด ้วยกัน
แนวโน้มการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในอนาคต
่ ข ้อมูล
3.2 การวิเคราะห ์ข ้อมูลธุรกิจ (Business Analytics :BA) เมือมี
จานวนมากองค ์กรจาเป็ นตอ้ งมีการวิเคราะห ์ขอ้ มูลก่อนนาไปใช ้ในเชิง
่ บโตจาก BI (Business
การตลาดและการตัดสินใจ สาหรบั BA ซึงเติ
่ อทีมี
่ ความชาญฉลาดสูงขึน้ ช่วยให ้
Intelligence: BI) ดว้ ยเครืองมื
่
่ อยู่และนาไปสู่
สามารถกลันกรองข
้อมูลและวิเคราะห ์ธุรกิจจากข ้อมูลทีมี
ความก า้ วหน้า หรือ สร า้ งความได เ้ ป รีย บทางธุ ร กิจ เนื่ องจากการ
่ าคัญในการกาหนดแนวทางการปรบั ปรุง
วิเคราะห ์ขอ้ มูลธุรกิจ คือ สิงส
แผนธุรกิจ ตัวอย่างการใช ้ BA ในภาคการผลิต จะทาใหส้ ามารถวาง
่
แผนการผลิตและการขายไดอ้ ย่างแม่นยา ซึงการวิ
เคราะห ์ขอ้ มูลธุรกิจ
่ าคัญทีจะสร
่
สามารถเป็ นตัวสนับสนุ นทีส
้างความสาเร็จใหก้ บ
ั ผูผ
้ ลิตจาก
การคาดการณ์ที่ดีจ ะให ผ
้ ลตอบแทนการลงทุ น (Return
Of
้ ธุ้ รกิจทีมี
่ แนวโน้มในการลงทุนด ้าน
Investment :ROI) ได ้มากขึน้ ทังนี
BA ได ้แก่ อุตสาหกรรมการผลิต สถาบันการเงินและธนาคาร และธรุกจิ
ค ้าปลีก เป็ นต ้น
แนวโน้มการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในอนาคต
3.3 กรีนไอที (Green IT) ในอนาคตแนวโน้มของสินคา้ ทางดา้ น
เทคโนโลยี ส ารสนเทศจะต อ้ งเป็ นมิ ต รกับ สิ่ งแวดล อ้ ม ไม่ ท าลาย
่
่ ยกว่า “กรีนไอที” (green IT) เพราะค่านิ ยมของ
สิงแวดล
อ้ ม ทีเรี
้ ซึงอุ
่ ป กรณ์ท างด า้ นเทคโนโลยี
ผู บ
้ ริโ ภคใส่ใ จต่ อ สิ่งแวดล อ้ มมากขึน
่
สารสนเทศจาเป็ นทีจะต
้องออกแบบใหป้ ระหยัดพลังงาน กินกระแสไฟฟ้ า
่
น้อ ย เกิด ความร อ้ นน้อ ย ซึงในอนาคตจะมี
ก ารพัฒ นา “กรีน พี ซ ”ี
่
่
(green PC) ซึงสามารถตอบโจทย
์ในเรืองของความสะดวกสบายในการ
่
้ ในอนาคตเทคโนโลยี
้
ใช ้งาน และเป็ นมิตรกับสิงแวดล
อ้ มอีก ดว้ ย ทังนี
่ นมิตรกับสิงแวดล
่
่
สารสนเทศทีเป็
้อมจะอยู่ในเงือนไขหลั
กของการจัดซือ้
้ ปั
้ จจุบน
่
ทังนี
ั ยังไม่มข
ี ้อบังคับเรืองคาร
์บอนเครดิต (carbon credit) การ
ประหยัด พลัง งาน การปล่ อ ยก๊า ซออกสู่ส ภาพแวดล อ้ มก็ ต าม แต่ ก รี
่
่
่
นไอทีจะเป็ นเงือนไข
1 ใน 6 เงือนไขแรกที
องค
์กรจะนามาใช ้พิจารณา
้
้ ่และประหยัด
การจัด ซืออย่
า งแน่ นอน เพราะการช่ว ยประหยัด พื นที
่
พลังงาน ซึงจะโยงไปสู
่การประหยัดเวลา ต ้นทุนการปฏิบต
ั ก
ิ าร และการ
่ วยลดต ้นทุนการจัดจ ้างและอบรมบุคลากรต่อไป
บารุงร ักษาทีจะช่
แนวโน้มการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในอนาคต
3.4 ความปลอดภัยและมาตรฐานด ้านเทคโนโลยีสารสนเทศ (IT Security
่ จ่ าเป็ นต่อ
and IT Standard) ความปลอดภัยสารสนเทศเป็ นสิงที
่
องค ์กร และในอนาคตจาเป็ นตอ้ งใหค้ วามสาคัญมากขึน้ ซึงระบบร
กั ษา
้ อให
่ ้
ความปลอดภัยต ้องมีความฉลาดในการทางานได ้ซบั ซ ้อนมากขึนเพื
่ การพัฒนาตัวเองใหเ้ ก่งกว่าเดิมอยู่เวลา ตังแต่
้
รองรบั กับภัยคุกคามทีมี
้
โครงสร ้างพืนฐาน
ระบบเครือข่าย รวมถึงข ้อมูลการใช ้งานต่างๆ รวมถึง
่ อที่
มาตรฐานด ้านเทคโนโลยีสารสนเทศ (IT standard) เป็ นเครืองมื
่ อ ดังนั้ นองค ์กรจาใหค้ วามสาคัญกับการไดร้ บั รอง
สร ้างความน่ าเชือถื
่ ยวข
่
มาตรฐานสากลต่างๆ มากขึน้ โดยเฉพาะมาตรฐาน ISO ทีเกี
้องกับ
เทคโนโลยีส ารสนเทศ เช่น ISO/IEC20000
(International
Standard for IT Service Management), ISO/IEC
27001:2005 (Information Security Management Systems:
่ น
ISMS) , ISO/IEC 270003 (Implementation Guidance) ซึงเป็
แนวทางปฏิบ ต
ั ิส าหร บ
ั การพัฒ นาระบบ ISMS
นอกจากนี ้ยัง มี
่ อีก เช่น ITIL (Information Technology
มาตรฐานสากลอืนๆ
Infrastructure Library) แนวปฏิบต
ั ใิ นการใหบ้ ริการเทคโนโลยี
แนวโน้มการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในอนาคต
3.5 สมาร ์ทซิตี ้ (Smart City) ในอนาคตประเทศไทยจะมีการนา
เทคโนโลยีสารสนเทศมาใช ้เพื่อพัฒนาจังหวัดหรือเมืองในรูปแบบของ
่
อัจฉริยะ ซึงในปั
จจุบน
ั ได ้มีจงั หวัดนครนายกเป็ นจังหวัดนาร่อง โดยไดม้ ี
การจัดทาโครงการ สมาร ์ทโพวินส ์ (smart province) คือ การนา
้ งหวัด ตังแต่
้ ระดับเมือง อาเภอ ตาบล และ
เทคโนโลยีมาปรบั ใช ้ทั่วทังจั
่ เ้ ทคโนโลยี ส ารสนเทศเป็ นเครืองมื
่
หมู่ บ า้ น ซึงใช
อในการยกระดับ
คุณภาพชีวต
ิ ประชาชน
้
่
้
 ระยะที่ 1 จะเกิดขึนในปี
แรก โดยเริมจากการลงโครงสร
้างพืนฐานด
้านเครือข่ายการ
่
่
สือสาร
และมีการใช ้อินเทอร ์เน็ ตไวไฟ (wifi) ฟรี ซึงจะเกิ
ดการใช ้งานในองค ์รวม
่ นในปี
้
่
 ระยะที่ 2 จะเริมขึ
ทีสอง
คือ เกิดหอ้ งปฏิบต
ั ก
ิ าร (management cockpit)
่
ซึงจะเป็
นศู น ย บ
์ ัญ ชาการกลางของจัง หวัด และในอนาคตจะขยายไปสู่ ศู น ย ์
้
บัญชาการในระดับอาเภอ และระดับตาบล โดยจะเกิดข ้อมูลในองค ์รวมทังหมด
เกิด
การวางแผน เกิด เป้ าหมายเกิด ระบบภู มิ ส ารสนเทศ (GIS)
หรือ แผนที่
่
อิเล็กทรอนิ กส ์ ซึงจะช่
วยด ้านการบริหารจังหวัดในภาพรวม
 ระยะที่ 3 ประชาชนจะได ้ใช ้บริการภาครฐั ในรูปแบบของ One Stop Service โดย
้
สามารถใช ้บัตรประชาชนเข ้าถึงทุกบริการของภาครฐั นอกจากนี การใช
้บริการบาง
ประเภทประชาชนไม่ ต อ้ งเดิน ทางไปส านั ก งานแต่ ส ามารถใช ้บริก ารบน Cloud
Service ผ่านเครือข่ายอินเทอร ์เน็ ต
แนวโน้มการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในอนาคต
4. นวัตกรรมด้านเทคโนโลยีสารสนเทศในอีก 5 ปี ข้างหน้า
้ ค
บริษท
ั ไอบีเอ็ม (IBM) ได ้นาเสนอ IBM Give in Five 5 นวัตกรรมลายุ
่
่
ทีคาดว่
าจะเปลียนแปลงชี
วต
ิ ของเรา รวมถึงนาเสนอเทคโนโลยีใหม่ๆ ใน
อีก 5 ปี ข ้างหน้า (พ.ศ. 2556-2560) ดังนี ้
้
่
่ กคนสามารถ
4.1 การสร ้างพลังงานขึนเองเพื
อใช
้ภายในบา้ น คือ การทีทุ
่
้
่
สร ้างพลังงานเพือใช
้ภายในบา้ นขึนเองได
้ การเคลือนไหวต่
างๆ ไม่ว่าจะ
่ กรยาน และสิงต่
่ างๆ ทีอยู
่ ่รอบตัว เช่น ความร ้อนจาก
เป็ นการเดิน ขีจั
่
คอมพิวเตอร ์จะสามารถสร ้างพลังงาน ซึงสามารถเก็
บรวบรวมและนา
้
่ างาน และเมืองต่างๆ
พลังงานสะอาดนี มาใช
้งานภายในบา้ น สถานทีท
่ ต่
่ อเข ้ากับซีล่ อ้ จักรยาน
ตัวอย่างเช่น อุปกรณ์ขนาดเล็กหรือแบตเตอรีที
้
จะสามารถเก็ บรวบรวมพลัง งานที่เกิดขึนในทุ
กรอบของการหมุ นของ
แป้ นจัก รยานและเมื่อกลับ ถึง บ า้ นสามารถถอดอุป กรณ์ดงั กล่าว และ
๊ อดึ
่ งพลังงานนั้นมาใช ้สาหรบั อุปกรณ์ต่างๆ ตังแต่
้ หลอดไฟ
เสียบปลักเพื
้ั
ไปจนถึงเตาไมโครเวฟ และอุปกรณ์ทางด ้านเทคโนโลยีทงหมด
เป็ นต ้น
แนวโน้มการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในอนาคต
4.2 มนุ ษย ์จะใช ้เสียงพูด ใบหน้าและดวงตาแทนรหัสผ่าน ในอนาคตเราจะ
ไม่ตอ้ งใช ้รหัสผ่านอีกต่อไป เพราะขอ้ มูล ทางไบโอเมตริก (biometric)
่
เช่น ข ้อมูลเกียวกั
บเค ้าโครงใบหน้า การสแกนม่านตา และไฟล ์เสียงพูด
จะถู ก ประกอบเข า้ ด ว้ ยกัน ผ่ า นทางซอฟต แ์ วร ์ เพื่ อสร า้ งรหัส ผ่ า น
่
ออนไลน์ ซึงในอนาคตเราเพี
ย งแต่ เ พีย งไปถอนเงิน ที่ตู เ้ อทีเ อ็ ม อย่ า ง
่
ปลอดภัย เพียงแต่พูดชือหรื
อมองเข ้าไปในเซ็นเซอร ์ (sensor) ขนาด
่
เล็กทีสามารถร
ับรู ้ความแตกต่างม่านตาของแต่ละคนได ้ ก็จะทาธุรกรรม
ได ้อย่าง สะดวกและปลอดภัย
่
4.3 มนุ ษย ์สามารถใช ้สมองสังงานแลปทอป
(laptop) และโทรศัพท ์มือถือ
ได ้ ในขณะนี ้ได ม้ ีนั ก วิท ยาศาสตร ์ในสาขาชีว สารสนเทศ หรือไบโอ
่
อินฟอร ์เมติกส ์ (Bioinformatics) กาลังทาการค ้นคว ้าวิธก
ี ารเชือมโยง
สมองของคนเขา้ กับอุปกรณ์ต่างๆ เช่น คอมพิวเตอร ์ หรือ สมาร ์ทโฟน
่ เซ็นเซอร ์พิเศษสาหรบั อ่านคลืนไฟฟ้
่
รวมถึงการออกแบบชุดหูฟังทีมี
า
่ น้ การมีสมาธิจดจ่อและความคิด
สมอง รวมถึงสีหน้า ระดับความตืนเต
่ จาเป็ นต ้องขยับร่างกาย ภายใน 5 ปี ข ้างหน้ามีการ
ของบุคคล โดยทีไม่
่
พยากรณ์ว่ า ยอดจ าหน่ ายอุป กรณ์พ กพาจะอยู่ที่ 5,600 ล า้ นเครือง
แนวโน้มการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในอนาคต
4.4 ทุกคนสามารถเข ้าข ้อมูลต่างๆ ได ้ทุกทีทุกเวลาด ้วยเทคโนโลยี โมบาย
ในช่วง 5 ปี ต่อจากนี ้ ช่องว่างระหว่างผูท้ มี
ี่ ข ้อมูลและผูท
้ ไม่
ี่ มข
ี ้อมูลจะลด
น้อยลงเป็ นอย่างมาก เนื่ องจากความก ้าวหน้าของเทคโนโลยีโมบาย ซึง่
ในประเทศอิน เดีย บริษ ัทไอบีเ อ็ มใช เ้ ทคโนโลยีเ สีย งพู ด และอุ ป ก รณ์
่ วยใหช
่ รู ้หนังสือสามารถถ่ายทอดขอ้ มูลผ่าน
พกพาเพือช่
้ าวชนบททีไม่
่ น ทึกไวใ้ นโทรศัพท ์ และการเขา้ ถึง ขอ้ มูลได อ้ ย่างทีไม่
่
ทางขอ้ ความทีบั
่ าใหค้ ุณภาพชีวต
เคยปรากฏมาก่อน ซึงท
ิ ของประชาชนชาวอินเดียดี
ขึน้ ทาใหส้ ามารถตรวจสอบรายงานสภาพอากาศ รู ้ว่าจะมีแพทย ์เดิน
่ และยังสามารถตรวจสอบระดับราคารบั ซือสิ
้ นคา้
ทางเข ้ามารกั ษาเมือไร
และพืชผลทางการเกษตรไดอ้ ีกดว้ ย สาหรบั ชุมชนที่ขยายใหญ่ ข นจะ
ึ้
สามารถใช ้เทคโนโลยีโ มบายเพื่อรองร บั การเข า้ ถึง ข อ้ มู ล ส าคัญ และ
่ ั (solution) และ
ปรบั ปรุงการใหบ้ ริการแก่ประชาชน โดยอาศัยโซลูชน
รู ป แ บ บ ธุ ร กิ จ ใ ห ม่ ๆ เ ช่ น โ ม บ า ย ค อ ม
เมริร ์ซ (mobile commerce) และบริการทางการแพทย ์ระยะไกล
แนวโน้มการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในอนาคต
4.5 คอมพิวเตอร ์จะคัดกรองขอ้ มูลสาคัญใหส้ อดคลอ้ งกับความตอ้ งการ
และพฤติกรรมของผู ใ้ ช ้ ในอีก 5 ปี ข า้ งหน้าจะการใช ้เทคโนโลยีร ะบบ
่
่นกรองและผนวก
วิเคราะห ์ขอ้ มูลแบบเรียลไทม ์ (real time) เพือกลั
้
ข อ้ มู ล จากทุก แง่ มุ ม ของชีวิต ตังแต่
ข่ า วสาร ไปจนถึง กีฬ า การเมือ ง
หรือ แม้แ ต่ ก ระทั่งเทคโนโลยีที่ผู ใ้ ช ช
้ นชอบ
ื่
และจะตัดโฆษณาที่ผู ร้ บ
ั
ขอ้ มูลไม่ พึง ประสงค ์ออกไป พร ้อมกับ นาเสนอและแนะน าข อ้ มูล ที่เป็ น
ประโยชน์แก่ผูบ้ ริโภคอย่างแท ้จริง
้
่
้
สรุ ป ทังหมดเป็
นนวัตกรรมทางดา้ นเทคโนโลยีสารสนเทศทีจะเกิ
ดขึนใน
่ อ้ งทราบและศึกษาแนวโน้ม
อนาคตอันใกล ้ ดังนั้นนั กศึกษาจาเป็ นทีจะต
่
การเปลียนแปลงทางด
า้ นเทคโนโลยีอยู่เสมอเพื่อใหส้ ามารถปรบั ใช ้กับ
การดาเนิ นชีวิตประจาวันและการประกอบอาชีพอย่างมีประสิทธิ ภ าพ
ต่อไป
เทคโนโลยีสารสนเทศกับความร ับผิดชอบ
่
ต่อสังคมและสิงแวดล้
อมในอนาคต
1. เทคโนโลยีสารสนเทศกับความร ับผิดชอบต่อสังคม
่ ้แก่ การ
1.1 ความร ับผิดชอบต่อสังคมระดับบุคคล ประกอบด ้วย 3 สิงได
่ เกิ
่ ดขึน้ การปฏิบต
เป็ นผูร้ ับผิดชอบต่อสิงที
ั ต
ิ ามกฎเกณฑ ์และการ
่
่
่ คคลแสดงออก ทังนี
้ ความ
้
ตัดสินใจทีวางใจได
้ ซึงจะเป็
นพฤติกรรมทีบุ
ร ับผิดชอบต่อสังคมด ้านการใช ้เทคโนโลยีสารสนเทศ ได ้แก่
1.1.1 การใช ้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีจริยธรรม และถูกต ้องตาม
่ ้กาหนด (รายละเอียดในบทที่ 8)
กฎหมายทีได
่ กบั
1.1.2 การใช ้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างสร ้างสรรค ์ และเป็ นมิตรทีดี
่
คนอืน
่ อให ้เกิดความร ักสามัคคีในหมู่
1.1.3 การใช ้เทคโนโลยีสารสนเทศเพือก่
คณะ
่
่ น
1.1.4 การใช ้เทคโนโลยีสารสนเทศเพือสร
้างกิจกรรมทางสังคมทีเป็
ประโยชน์ เช่น การช่วยเหลือผูป้ ระสบภัย การบริจาค หรือกิจกรรมที่
่
เกียวกั
บข ้องจิตอาสา
เทคโนโลยีสารสนเทศกับความร ับผิดชอบ
่
ต่อสังคและสิงแวดล้
อมในอนาคต
1.2 ความร บ
ั ผิด ชอบต่ อ สัง คมระดับ องค ก์ ร (Corporate
Social
Responsibility: CSR) หมายถึงการดาเนิ นธุรกิจควบคู่ไปกับการใส่ใจ
ดูแ ลร ก
ั ษาสิ่งแวดล อ้ มในชุม ชนและสัง คม ภายใต ห
้ ลัก จริย ธรรม การ
่ (good governance) เพือน
่ าไปสู่การดาเนิ นธุรกิจที่
กากับดูแลทีดี
ประสบความส าเร็จ อย่างยั่งยืน
ในการดาเนิ นธุร กิจอย่างมีความ
รบั ผิดชอบต่อสังคมนั้ น องค ์กรจะตอ้ งตอบสนองต่อประเด็ นดา้ นสังคม
แ ล ะ สิ่ ง แ ว ด ล อ
้ ม โ ด ย มุ่ ง ที่ ก า รให ้ป ร ะ โ ย ช น์ ก ั บ ค น ชุ ม ช น แ ล ะ
่ ้อง
สังคม นอกจากนั้นยังต ้องคานึ งถึงบทบาทขององค ์กรภาคธุรกิจทีต
ปฏิบ ต
ั ิอ ย่ างสอดคล อ้ งกับ ความคาดหวัง ของสัง คมโดยจะตอ้ งทาด ว้ ย
่
ความสมัครใจ และบุคลากรทุกคนในองค ์กรจะต ้องมีบทบาทเกียวข
้องกับ
่
่ ดี
่ งามสูส
กิจกรรมต่างๆ ทีตอบแทนในสิ
งที
่ งั คมอย่างจริงจัง
เทคโนโลยีสารสนเทศกับความร ับผิดชอบ
่
ต่อสังคมและสิงแวดล้
อมในอนาคต
่
2. เทคโนโลยีสารสนเทศกับสิงแวดล้
อม
2.1 เป้ าหมายของกรีนไอที
่ างๆ ก็จะ
2.1.1 การออกแบบจากแหล่งกาเนิ ดไปยังแหล่งกาเนิ ดการใช ้งานของสิงต่
เป็ นวัฎจักรของผลิตภัณฑ ์ โดยการสร ้างผลิตภัณฑ ์ให ้สามารถนากลับมาใช ้งาน
ใหม่ได ้ (recycle)
้
่
2.1.2 การลดข ้อมูล เป็ นการลดทิงและมลพิ
ษ โดยการเปลียนรู
ปแบบของการนาไป
สร ้างผลิตภัณฑ ์และการบริโภค
่
่
2.1.3 พัฒนาสิงใหม่
ๆ เป็ นการพัฒนาเพือเทคโนโลยี
ไม่วา่ จะเป็ นการนาซากสัตว ์มา
้
เป็ นเชือเพลิ
งหรือทางเคมี แต่ก็อาจทาให ้สุขภาพและสภาพแวดล ้อมเสียหายได ้
2.1.4 ความสามารถในการดารงชีวต
ิ สร ้างศูนย ์กลางทางด ้านเศรษฐศาสตร ์ให ้
เหมาะสมกับเทคโนโลยีและผลิตภัณฑ ์ให ้เหมาะสมกับสภาพแวดล ้อม ความเร็วใน
่
การพัฒนาและสร ้างอาชีพใหม่เพือปกป้
องโลก
2.1.5 พลังงาน ต ้องร ับรู ้ข่าวสารทางด ้านเทคโนโลยีสเี ขียวรวมไปถึงการพัฒนาของ
้
เชือเพลิ
ง ความหมายใหม่ของการกาเนิ ดพลังงาน และผลของพลังงาน
่
่ ้นหาสิงที
่ ่
2.1.6 สภาพสิงแวดล
้อม นาไปสูก
่ ารค ้นหาสาหร ับผลิตภัณฑ ์ใหม่ เพือค
่ ด
บรรลุและวิธท
ี ท
ี่ าให ้เกิดการกระทบกับสภาพแวดล ้อมน้อยทีสุ
เทคโนโลยีสารสนเทศกับความร ับผิดชอบ
่
ต่อสังคมและสิงแวดล้
อมในอนาคต
2.2 ตัวอย่างของกรีนไอที
ตัวอย่างของกรีนไอทีได ้ถูกนามาใช ้ในอุปกรณ์ฮาร ์ดแวร ์ในอนาคตจะต ้อง
่ ้คานึ งสิงแวดล
่
่ รายละเอียดดังนี ้
ถูกออกแบบมาเพือให
้อมซึงมี
2.2.1 กรีนคอมพิวเตอร ์ (green computer)
่
เป็ นเครืองคอมพิ
ว เตอร ์ที่ร บั ผิด ชอบต่ อ สิ่งแวดล อ้ มและทร พ
ั ยากรอื่นๆ
ประกอบไปดว้ ยพลัง งานหน่ วยประมวลผลศูนย ก์ ลางที่มีประสิท ธิภ าพ
่
(ซีพี ยู ) เครืองเซิ
ร ์ฟเวอร ์ และอุ ป กรณ์เ สริม เพื่ อลดการท างานของ
่
้
ทรพ
ั ยากรและการจัดการเรืองการสิ
นเปลื
องของอุปกรณ์อเิ ล็กทรอนิ กส ์
่ แนวโน้มการลดพลังงาน ดังนี ้
(e-Waste) ซึงมี
่ ได ้ใช ้งาน ลดการใช ้พลังงานลง
1) ให ้ซีพย
ี ูและอุปกรณ์เสริมต่างๆ ทีไม่
่ ได ้ใช ้งานนาน เช่น เครืองพิ
่
2) ลดพลังงานและการจ่ายไปให ้แก่อป
ุ กรณ์เสริมทีไม่
มพ ์
เลเซอร ์
3) ให ้หันมาใช ้จอภาพหรือมอนิ เตอร ์ในแบบ Liquid-Crystal-Display (LCD) แทน
การใช ้มอนิ เตอร ์ Cathode-Ray-Tube (CRT)
เทคโนโลยีสารสนเทศกับความร ับผิดชอบ
่
ต่อสังคมและสิงแวดล้
อมในอนาคต
่
่
4) ถ ้าเป็ นไปได ้ใช ้เครืองคอมพิ
วเตอร ์โน้ตบุก
๊ มากกว่าเครืองคอมพิ
วเตอร ์
่
เดสก ์ทอป เพราะเครืองคอมพิ
วเตอร ์เดสก ์ทอปจะกินไฟและใช ้พลังงาน
่
มากกว่าเครืองคอมพิ
วเตอร ์โน้ตบุก
๊
5) ใช ้ฟี เจอร ์ Power-Management ให ้ปิ ดการทางานของฮาร ์ดดิสก ์
และหน้าจอมอนิ เตอร ์หากไม่ได ้มีการใช ้งานติดต่อกันนานๆ หลายนาที
่ ด และถ ้าเป็ นไปได ้ก็ให ้นากระดาษกลับมาใช ้งาน
6) ใช ้กระดาษให ้น้อยทีสุ
หมุนเวียนอีก
่
7) ลดการใช ้พลังงานกับเครืองคอมพิ
วเตอร ์เวิร ์กสเตชัน เซิร ์ฟเวอร ์ เน็ ต
เวิร ์กและข ้อมูลส่วนกลาง
เทคโนโลยีสารสนเทศกับความร ับผิดชอบ
่
ต่อสังคมและสิงแวดล้
อมในอนาคต
2.2.2 กรีนดาต ้าเซ็นเตอร ์ (green data center)
กรีนดาต ้าเซ็นเตอร ์ หรือ ศูนย ์ขอ้ มูลกลางสีเขียว คือ การใช ้งานทางดา้ น
การจัดเก็บขอ้ มูล การจัดการทางดา้ นขอ้ มูลและการแพร่กระจายของ
่ ดเก็บไวใ้ นเครืองจั
่ กร อุปกรณ์ไฟฟ้ าและระบบคอมพิวเตอร ์ที่
ขอ้ มูลทีจั
่ พ
่
ออกแบบมาเพือให
้ ลังงานสูงสุดแต่มผ
ี ลกระทบกับสิงแวดล
อ้ มน้อยสุด
้
ทังการออกแบบการค
านวณจะเน้น ศู น ย ข
์ อ้ มู ล กลางสีเ ขีย วรวมถึง
้ งและด ้วยกลยุทธ ์การออกแบบทีใช
่ ้อุปกรณ์ทแผ่
เทคโนโลยี ขันสู
ี่ กระจาย
่ บสนุ นสภาพแวดลอ้ ม
แสงไดน
้ อ
้ ยๆ อย่างการปูพรม การออกแบบทีสนั
้
และลดการสินเปลื
องโดยการนากลับมาใช ้งานอีก เป็ นต ้น
เทคโนโลยีสารสนเทศกับความร ับผิดชอบ
่
ต่อสังคมและสิงแวดล้
อมในอนาคต
่ ร ับผลกระทบจากการใช้งานระบบไอที
3. สภาพแวดล้อมทีได้
เ ค รื่ อ ง ค อ ม พิ ว เ ต อ ร ท
์ ี่ ใ ช ง้ า น อ ยู่ นี ้ ก่ อใ ห ้เ กิ ด ปั ญ ห า ต่ อ
่
สภาพแวดล ้อม แต่พอเครืองคอมพิ
วเตอร ์หมดอายุการใช ้งานกลายเป็ น
่ ปกรณ์บางอย่างก็ไม่
“ขยะคอมพิวเตอร ์” หรือ “ขยะอิเล็กทรอนิ กส ์” ซึงอุ
่
สามารถย่อยสลายได ้ ก่อมลพิษทางดา้ นอากาศ สิงแวดล
อ้ มใหแ้ ก่โลก
่
้ั ประกอบไปด
่
อีกด ้วย ส่วนประกอบของเครืองคอมพิ
วเตอร ์นั้น ก็มท
ี งที
้วย
่ ปัจจุบน
พลาสติก อะลูมเิ นี ยม สังกะสี และอืนๆ
ั มีผูใ้ ช ้งานไดค้ ด
ิ ประดิษฐ ์
่
นาเอาไม้ไผ่เข ้ามาเป็ นส่วนประกอบกับอุปกรณ์เครืองคอมพิ
วเตอร ์ เช่น
่
่
คีย ์บอร ์ด หน้าจอมอนิ เตอร ์ เมาส ์ หรือเครืองคอมพิ
วเตอร ์โน้ตบุก
๊ เพือ
่
ลดปัญหาการย่อยสลายของขยะอิเล็กทรอนิ กส ์ ซึงเราจะต
้องช่วยกันใช ้
่ นมิตรกับสิงแวดล
่
่ าลังทาลาย
เทคโนโลยีเพือเป็
อ้ ม และภาวะโลกร ้อนทีก
สิ่งแวดล อ้ มที่อยู่ ร อบตัว เราก่ อให เ้ กิด ปั ญ หาภัย พิ บ ัต ิท างธรรมชาติ
ตามมา ซึ่งในอนาคตเราจะต อ
้ งค านึ งถึ ง การใช พ
้ ลัง งานอย่ า งมี
่
ประสิทธิภาพ (energy efficiency) ซึงการใช
้คอมพิวเตอร ์เพื่อ
ประมวลผลขอ้ มูลจะตอ้ งคานึ งถึงการปล่อยก๊าซคาร ์บอนไดออกไซด ์สู่
้
่
ชันบรรยากาศ
หรือร่องรอยคาร ์บอน (carbon footprint) จะเป็ นเรือง
การปฏิรูปการทางานก ับการใช้ข่าวสาร
บนฐานเทคโนโลยีในอนาคต
1. การปฏิรู ป การท างานกับ การใช้ข่ า วสารบนฐานเทคโนโลยี
สารสนเทศในอนาคต
1.1 การปฏิรูปรูปแบบการทางานขององค ์กร เทคโนโลยีสารสนเทศ
ก่อให เ้ กิด การปฏิรู ป รู ป แบบของการท างาน เช่น การใช เ้ ทคโนโลยี
สารสนเทศสื่อสารกันในองค ก์ รด ว้ ย อีเ มล ์ กรุ ป๊ แวร ์ (groupware)
่ าใหก้ ารส่ง
หรือแม้แต่กระทั่งเครือข่ายสังคมออนไลน์ อย่างเฟซบุค ทีท
ข ้อมูลข่าวสารของพนักงานไม่จาเป็ นตอ้ งเดินหนังสืออีกต่อไป ลดการ
่ อ้ งพิมพ ์ข่าวสารแจก และสามารถส่งขอ้ มูลข่าวสารเป็ น
ใช ้กระดาษทีต
่ ้องการได ้อย่างรวดเร็ว นอกจากนี รู้ ปแบบการ
จานวนมากไปถึงบุคคลทีต
ทางานแบบ “เวอร ์ช่วลออฟฟิ ศ” (virtual office) คือ สามารถทางาน
่
ได ้ ไม่วา่ จะอยู่ ณ ทีไหน
เวลาใดก็ตาม ด ้วยอุปกรณ์สอสารประเภทใดก็
ื่
่
ไดท้ สะดวกในการใช
ี่
้ติดต่อสือสาร
(anywhere anytime any
่
่ อ้ งมี
device) โดยแนวโน้มการทางานจะเปลียนแปลงไปจากเดิ
มทีต
้ ่ในส านั ก งานให พ
พืนที
้ นั ก งานเข า้ ไปนั่ งประจ าที่เพื่อท างาน (Work
่
้ ใดในออฟฟิ
่
place) มาเป็ นการทางานจากทีใดก็
ได ้ไม่ว่าจะเป็ นพืนที
ศ
่ นภายนอกออฟฟิ
่
่
หรือเป็ นทีอื
ศ ซึงสอดคล
อ้ งกับนโยบายของภาครฐั ที่
การปฏิรูปการทางานก ับการใช้ข่าวสาร
บนฐานเทคโนโลยีในอนาคต
1.2 มีก ารจัด การเชิง กลยุ ท ธ ์ เทคโนโลยีส ารสนเทศถู ก น ามาใช ้ในการ
สนั บสนุ นการจัดการเชิงกลยุทธ ์ขององค ์กรเพื่อสร ้างความไดเ้ ปรียบใน
่
การแข่ ง ขัน ซึงในอนาคตการแข่
ง ขัน แต่ ล ะอุ ต สาหกรรมจะทวีค วาม
้
่ ผลกระทบต่อการดาเนิ น
รุนแรงทังภายในประเทศและนอกประเทศ
ซึงมี
ธุรกิจเป็ นอย่างยิง่ องค ์กรจะตอ้ งปรบั ตัวและอยู่รอด (survival) รวมถึง
การเปลี่ยนแปลงรูป แบบการแข่ ง ขัน ที่มุ่ ง เน้น กัน ที่ความรวดเร็ว ความ
แม่นยา และทันต่อเหตุการณ์ เพื่อสร ้างความไดเ้ ปรียบทางการแข่งขัน
้ ่แข่งขันมีมากขึนไม่
้ จากัดเฉพาะในประเทศเท่านั้ น แต่ค่แู ข่ง
นอกจากนี คู
้
จากต่างชาติมศ
ี ก
ั ยภาพสูงทังทางด
้านการเงินและเทคโนโลยีสมัยใหม่ ได ้
เข ้ามาท ้าทายในเกือบทุกอุตสาหกรรม ดังนั้นการบริหารจัดการองค ์กรจึง
่
่ ่งเน้นให ้
จาเป็ นตอ้ งเปลียนรู
ปแบบ เพราะรูปแบบการบริหารแบบเดิมทีมุ
ความสนใจเฉพาะการบริหารงานภายในองค ์กร โดยมองขา้ มไม่สนใจต่อ
สภาพแวดล อ้ มภายนอกที่เปลี่ยนไป อาจจะท าให เ้ กิด อุป สรรคต่ อ การ
่ ด ดังนั้นผูบ้ ริหารในยุคโลกภิวฒ
ดาเนิ นงานและล ้มเหลวในทีสุ
ั น์จงึ มีความ
จ าเป็ นที่จะต อ้ งท าความเข า้ ใจเกี่ยวกับ บริบ ทของสิ่งแวดล อ้ มที่การ
การปฏิรูปการทางานก ับการใช้ข่าวสาร
บนฐานเทคโนโลยีในอนาคต
่ อในการทางาน เพือให
่ ก้ ารทางาน
1.3 ใช ้เทคโนโลยีสารสนเทศเป็ นเครืองมื
่ น้ เช่น การใช ้ระบบสารสนเทศต่างๆ
คล่องตัวและมีประสิทธิภาพมากยิงขึ
ในองค ก์ ร ไม่ ว่ า จะเป็ นระบบประมวลผลรายการเปลี่ยนแปลงข อ้ มู ล
(Transaction Processing Systems :TPS) เป็ นระบบสารสนเทศ
้
่ ้สนับสนุ นการทางานของผูป้ ฏิบต
พืนฐานขององค
์กรทางธุรกิจทีใช
ั ก
ิ าร
ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ (Management Information
่ ้บริการใหผ้ ูบ้ ริหารเพือสนั
่
Systems: MIS) ทีให
บสนุ นการบริหารจัดการ
ของผูบ้ ริหาร และระบบสนับสนุ นการตัดสินใจ (Decision Support
Systems: DSS) สนับสนุ นการตัดสินใจของผูบ้ ริหาร เป็ นต ้น จะเห็ นได ้
่
ว่าเทคโนโลยีสารจะช่วยเปลียนแปลงและปร
ับปรุงคุณภาพของการทีจ่ านะ
่
่
มาประยุ ก ต ใ์ ช ห้ ลายๆ ด า้ น ซึงจะเป็
นเครืองมื
อ ช่ว ยให ก
้ ารท างานมี
่ นอนว่าเทคโนโลยีสารสนเทศยังคง
ประสิทธิภาพและลดค่าใช ้จ่าย ซึงแน่
่
้
เป็ นเครืองมื
อ ที่ส าคัญในการทางานและเพิ่มความส าคัญ มากขึนอย่
าง
ต่อเนื่ องในอนาคต
การปฏิรูปการทางานก ับการใช้ข่าวสาร
บนฐานเทคโนโลยีในอนาคต
1.4) การใช เ้ ทคโนโลยีส ารสนเทศสร ้างคุ ณ ค่ า ให ก
้ บ
ั องค ก์ รในอนาคต
เทคโนโลยีสารสนเทศจะถูกนามาใช ้เพื่อสร ้างคุณค่า (value) ใหก้ บ
ั
่
องค ์กร เช่น ใช ้ในการสนั บสนุ นการทางานเป็ นทีมดว้ ยการสือสารผ่
าน
ระบบเครือ ข่ า ยสัง คมออนไลน์ ที่ เปิ ดโอกาสให พ
้ นั กงานสามารถ
แลกเปลี่ยนความคิด เห็ น ข อ้ เสนอแนะ และความรู ้แก่ก น
ั และกัน เพื่อ
่
่ ด
พัฒนาสินค ้าและบริการทีตอบสนองความพึ
งพอใจแก่ลูกคา้ ใหม้ ากทีสุ
เป็ นต ้น
การปฏิรูปการทางานก ับการใช้ข่าวสาร
บนฐานเทคโนโลยีในอนาคต
่
่
2. การปร ับตวั ขององค ์กรเพือรองร
ับการเปลียนแปลง
่ ก้ ล่าวมาแลว้ ในขา้ งตน
ดังทีได
้ ว่าปั จจุบน
ั ความกา้ วหน้าของเทคโนโลยี
สารสนเทศได ม
้ ี บ ทบาท ที่ ส าคัญ ต่ อ วิ ถ ี ช ีวิ ต และสัง คมของมนุ ษย ์
เทคโนโลยีส ารสนเทศได ส้ ร ้างการเปลี่ยนแปลงและสร ้างโอกาสให แ้ ก่
องค ก
์ ร เช่ น เปลี่ ยนโครงสร า้ งความสั ม พั น ธ แ์ ละการแข่ ง ขั นใน
่
อุตสาหกรรม ปร ับโครงสร ้างการดาเนิ นงานขององค ์กรเพิมประสิ
ทธิภาพ
ในการผลิตและบริการ เป็ นตน้ เนื่ องจากเทคโนโลยีสารสนเทศก่อใหเ้ กิด
่
รูปแบบใหม่ใน การติดต่อสือสารและมี
ปฏิสม
ั พันธ ์ระหว่างบุคคล ทาใหม้ ี
่ อ้ งอาศัยบุคคลทีมี
่ ความรู ้
การพัฒนาและกระจายตัวของภูมป
ิ ั ญญา ซึงต
และความเขา้ ใจในการใช ้งานเทคโนโลยีใหเ้ กิดประโยชน์ ปัจจุบน
ั องค ์กร
่ วทีจะน
่ าเทคโนโลยีเหล่านี มา
้ ใช ้งานมากขึน้
ในประเทศไทยได ้มีการตืนตั
่ จะท
่ าให ้เราติดตามความเปลียนแปลงที
่
่ ดขึนจากเทคโนโลยี
้
เพือที
เกิ
ได ้ทัน
และสามารถใช ้เทคโนโลยีให ้เป็ นประโยชน์ในการแข่งขัน
การปฏิรูปการทางานก ับการใช้ข่าวสาร
บนฐานเทคโนโลยีในอนาคต
่ ตอ
2.1 ทาความเข้าใจต่อบทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศทีมี
่
่ ้สามารถนาความรู ้ต่าง ๆ มาประยุกต ์ใช ้กับงานที่
ธุรกิจปั จจุบน
ั เพือให
่ มขี
่ ดความสามารถและศักยภาพในการแข่งขันของ
กาลังทาอยู่ เพือเพิ
องค ์การ เช่น การใช ้เครือข่ายสังคมออนไลน์มาช่วยในการสร ้างระบบ
ลูกค ้าสัมพันธ ์ (Customer Relationship Management: CRM)
่ นการร ักษาลูกค ้าและสร ้างความจงร ักภักดีขอลูกค ้าให ้มีตอ
เพือเป็
่ สินค ้า
และบริการขององค ์กร เป็ นต ้น
่ ้การดาเนิ นการสร ้างหรือ
2.2 วางแผนพัฒนาระบบสารสนเทศ เพือให
พัฒนาระบบสารสนเทศเป็ นไปตามวัตถุประสงค ์ขององค ์กรภายใต ้
่ าหนดไว ้ การวางแผนถือเป็ นสิงที
่ ส
่ าคัญ
งบประมาณและระยะเวลาทีก
่ ๆ อีกมาก ซึงจะต
่
เพราะระบบสารสนเทศจะประกอบด ้วยระบบย่อยอืน
้อง
สัมพันธ ์กันและใช ้เวลาในการพัฒนาให ้สมบูรณ์ และจาเป็ นจะตอ้ งมีการ
้
จัดเตรียมโครงสร ้างพืนฐานทางด
้านเทคโนโลยีสารสนเทศ (IT
่
Infrastructure) ทีจ่ าเป็ น เช่น เครืองคอมพิ
วเตอร ์ ซอฟแวร ์ ระบบ
การปฏิรูปการทางานก ับการใช้ข่าวสาร
บนฐานเทคโนโลยีในอนาคต
่
2.3 พัฒนาระบบสารสนเทศเกียวข้
อ งกับ การจ ด
ั การข้อ มู ล หรือ
ความรู ้ขององค ์กร นักวิเคราะห ์ระบบและผูใ้ ช ้จะศึกษาหรือพิจารณาถึง
่
ขอ้ มูลและข่าวสารต่าง ๆ ทีองค
์กรตอ้ งการและใช ้ในการดาเนิ นงานอยู่
เป็ นประจ า เพื่ อที่ จะท าการรวบรวม และจัด ระเบี ย บเก็ บไว ใ้ นระบบ
่ ความตอ้ งการขอ้ มูล ก็สามารถเรียกออกมาใช ้ได ้
สารสนเทศ และเมือมี
ทัน ที โดยการพัฒ นาระบบต อ้ งให ค
้ วามส าคัญ กับ ภาพรวมและความ
้ ้บาง
สอดคล อ้ ง ในการใช ้งานสารสนเทศขององค ก์ รเป็ นส าคัญ ทังนี
องค ์กรจาเป็ นตอ้ งพัฒ นาระบบองค ์ความรู ้ (Knowledge
Based
่ ดเก็บองค ์ความรู ้ขององค ์กรสามารถใช ้เป็ นฐานใน
Systems: KBS) เพือจั
การพัฒนาและสร ้างนวัตกรรมใหม่ๆ ได ้
2.4 พัฒ นาศักยภาพของบุคลากรดา้ นเทคโนโลยีส ารสนเทศ ให ม้ ีความ
่
พร ้อมรองรบั การเปลียนแปลงทางด
า้ นเทคโนโลยี โดยอาจจะมีการตอ้ งมี
การจัดการฝึ กอบรมการใช ้ระบบสารสนเทศหรือเทคโนโลยีใหม่ๆใหก้ ับ
่ ส้ ามารถใช ้เทคโนโลยีสารสนเทศขององค ์กร
บุคลากรขององค ์กร เพือให
่
การปฏิบต
ั ต
ิ นให้ทน
ั ต่อการเปลียนแปลงของ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
1. แนวคิดสาคญ
ั ในศตวรรษที่ 21
แนวคิด ส าคัญในศตวรรษที่ 21 ที่นั ก ศึก ษาจ าเป็ นจะต อ้ งทราบและมี
้
้ นพืนฐานเพื
้
่ ้สามารถประกอบอาชีพได ้อย่างมี
ความรู ้พืนฐานเหล่
านี เป็
อให
่ ของสังคมและมีความสุขในชีวต
“สัมมาชีพ” เป็ นพลเมืองทีดี
ิ คือ
่
1.1 จิตสานึ กต่อโลก คือ ความร ับผิดชอบต่อสังคม สิงแวดล
้อมและโลกใบนี ้ โดยจะต ้อง
มีค วามรู ้และมีแ นวคิดในการด ารงชีว ิต ที่ถู ก ต อ้ ง มีจ ิต ส านึ ก ต่ อโลก มี คุ ณ ธรรม
่
จริยธรรม มีจต
ิ อาสา ร ักษาสิงแวดล
้อม เป็ นผูท้ มี
ี่ ความร ับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
รวมถึ ง ความสามารถที่ จะต อ้ งเรีย นรู แ้ ละท างานรวมกับ คนจากวัฒ นธรรมที่
่
หลากหลาย และสามารถสือสารด
้วยภาษาต่างประเทศได ้
้
1.2 ความรู ้พืนฐานด
้านการเงิน เศรษฐกิจ ธุรกิจ และการเป็ นผูป้ ระกอบการ คือ ทักษะ
่
ใหม่ทจี่ าเป็ น เนื่ องจากมีการเปลียนแปลงอย่
างมากทางด ้านเศรษฐกิจ เช่น จะต ้องมี
่ นใน
้
การวางแผนการออมและการลงทุนหลังเกษียณ ของตนเอง วิกฤตการณ์ทเพิ
ี่ งขึ
่
ภาคธนาคาร ธุรกิจสินเชือและการจ
านอง รวมถึง ภาวะถดถอยทางเศรษฐกิจคร ง้ั
้
ใหญ่ทมี
ี่ ผลกระทบในหลายๆ ประเทศ เป็ นการตอกยาความส
าคัญของความรู ้ความ
เข า้ ใจว่ า พลัง ทางเศรษฐกิจ มี ผ ลต่ อ ชีวิต ของผู ค
้ นมากมายเพีย งใด การตัด สิ น
่
ผิดพลาดทางดา้ นการเงินอาจจะส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวต
ิ ได ้ ซึงในการท
างาน
นั้นจะต ้องเรียนรู ้ว่าจะปร ับตัวและทาประโยชน์ให ้กับองค ์กรได ้อย่างไร และต ้องรู ้จักนา
่
่ และรางวัล
วิธค
ี ด
ิ แบบผูป้ ระกอบการมาใช ้ในชีวต
ิ เมือตระหนั
กถึงโอกาส ความเสียง
่
การปฏิบต
ั ต
ิ นให้ทน
ั ต่อการเปลียนแปลงของ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
1. แนวคิดสาคญ
ั ในศตวรรษที่ 21
้
่
่
1.3 ความรู ้พืนฐานด
้านพลเมือง คือ ความรู ้เกียวกั
บกฎหมาย สิทธิและหน้าทีของการ
่ เพือที
่ จะได
่
่
เป็ นพลเมืองทีดี
้ปฏิบต
ั ต
ิ ามสิทธิและหน้าทีของตนเอง
ไม่ละเมิดสิทธิของ
ผูอ้ นและไม่
ื่
ขด
ั ต่อกฎหมายบ ้านเมือง
้
่
่
1.4 ความรู ้พืนฐานด
้านสุขภาพ คือ ความรู ้เกียวกั
บสุขอนามัยเพือจะได
้มีสข
ุ ภาพที่
่
่
แข็งแรง ทาให ้ดาเนิ นชีวต
ิ ประจาวันได ้อย่างปกติสข
ุ ซึงควรมี
ความรู ้เกียวกั
บ การ
ร ับประทานอาหาร การออกกาลังกาย การมีอารมณ์ทแจ่
ี่ มใสเบิกบาน และการพักผ่อน
นอนหลับ เป็ นต ้น
้
่
้
่
่
1.5 ความรู ้พืนฐานด
้านสิงแวดล
้อม คือ ความรู ้พืนฐานเกี
ยวกั
บสิงแวดล
้อม ลักษณะ
่
ภูมอ
ิ ากาศ ภูมป
ิ ระเทศ ภาวะโลกร ้อน ภัยพิบต
ั ท
ิ างธรรมชาติ และการร ักษาสิงแวดล
้อม
่
การปฏิบต
ั ต
ิ นให้ทน
ั ต่อการเปลียนแปลงของ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
2. ทักษะการเรียนรู ้และนวัตกรรม
้
่ ความจาเป็ นในการทางานใน
ทักษะการเรียนรู ้และนวัตกรรมเป็ นพืนฐานที
มี
่
อนาคต ซึงประกอบด
้วย
2.1 ความคิดสร ้างสรรค ์และนวัตกรรม คือ การคิดนอกรอบ มีการใช ้
้
่ นได ้อย่างชัดเจน คือ
จินตนาการสร ้างสรรค ์นวัตกรรมขึนมา
ตัวอย่างทีเห็
สตีฟ จ็อบส ์ (Steve Jobs) ผูท้ เป็
ี่ น “ตานาน” ของการใช ้ความคิด
สร ้างสรรค ์ในการพัฒนานวัตกรรมของ Apple
2.2 การคิดเชิงวิพากษ ์และการแก ้ไขปัญหา คือ ความสามารถในการคิด
เชิงวิเคราะห ์ วิพากษ ์ วิจารณ์ และสามารถคิดแก ้ไขปัญหาต่างๆ ที่
้ ้ ซึงในอนาคตนั
่
่
เกิดขึนได
กศึกษาจาเป็ นทีจะต
้องมีทก
ั ษะการคิด หรือ
่
ลักษณะจิต 5 ประการ ดังนี ้ 1) จิตเชียวชาญ
(discipline mind) 2)
จิตสังเคราะห ์ (synthesizing mind) 3) จิตสร ้างสรรค ์ (creative
mind) 4) จิตเคารพ (respect mind) และ5) จิตรู ้จริยธรรม (ethical
่ ง้ 5 ลักษณะจิตจาเป็ นต ้องร ับการฝึ กฝนและขัดเกลาอย่าง
mind) ซึงทั
่
การปฏิบต
ั ต
ิ นให้ทน
ั ต่อการเปลียนแปลงของ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
่
3. ทักษะด้านสารสนเทศ สือและเทคโนโลยี
ทักษะด ้านสารสนเทศ สือ่ และเทคโนโลยีน้ัน เป็ นทักษะและความรู ้ที่
่
่ ้มีสามารถปฏิบต
่
นักศึกษาจาเป็ นทีจะต
้องฝึ กฝนและเรียนรู ้ เพือให
ั ต
ิ นเพือ
่
รองร ับต่อการเปลียนแปลงทางด
้านเทคโนโลยีในกระแสโลกาภิวฒ
ั น์ ซึง่
จาเป็ นต ้องมี
้
3.1 ความรู ้พืนฐานด
้านสารสนเทศ คือ สามารถพัฒนา จัดเก็บ สืบค ้น และ
่
แพร่กระจายสารสนเทศเพือสนั
บสนุ นการทางานและดาเนิ น
ชีวต
ิ ประจาวันได ้อย่างมีประสิทธิภาพ
้
3.2 ความรู ้พืนฐานด
้านสือ่ มีความรู ้ ความเข ้าใจ และทักษะในการใช ้สือ่ ซึง่
่
้
มีอยู่มากมายในโลกปัจจุบน
ั และจะเพิมมากขึ
นในโลกอนาคต
ต ้องรู ้เท่า
่ นเครืองมื
่ อในการปฏิบต
ทันสือ่ และใช ้สือเป็
ั งิ านได ้
้
่
3.3 ความรู ้พืนฐานทางเทคโนโลยี
สารสนเทศและการสือสาร
เป็ นทักษะที่
่ กศึกษาจะต ้องมีความสามารถในการใช ้ระบบคอมพิวเตอร ์
สาคัญ ทีนั
่
ระบบการสือสาร
อย่างถูกต ้อง และอย่างชาญฉลาด
่
การปฏิบต
ั ต
ิ นให้ทน
ั ต่อการเปลียนแปลงของ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
4. ทักษะชีวต
ิ และการทางาน
เป็ นทั ก ษะใหม่ ที่ ความส าคั ญในการด ารงชีว ิ ต อย่ า งมี ค วามสุ ข ซึง่
ประกอบด ้วย
4.1 ความยืดหยุ่นและความสามารถในการปร ับตัว
่
4.2 ความริเ ริมและการชี
น้ าตนเอง เป็ นสิ่งที่มีค วามส าคัญ เนื่ องจากเป็ น
่ ้องพัฒนาให ้ตัวเราสามารถดาเนิ นชีวต
่ กต ้อง
ทักษะทีต
ิ ไปในทางทีถู
4.3 ทักษะทางสังคมและการเรียนรู ้ข ้ามวัฒนธรรม เนื่ องจากในอนาคตการ
ทางานมิได ้อยู่เพียงแต่ภายในประเทศเท่านั้น แต่การทางานในอนาคตจะ
้
เปิ ดกวา้ งมากทังในระดั
บภูมิภาคอาเซียนและระดับโลก ดังนั้ นนั กศึกษา
จาเป็ นที่จะตอ้ งมีการฝึ กฝนทักษะทางสัง คม และการเรีย นรู ้และท างาน
ข ้ามวัฒนธรรมของต่างประเทศได ้
่
่
4.4 การเพิมผลผลิ
ตและความรู ้รบั ผิด คือ การใช ้เทคโนโลยีสารสนเทศเพือ
่
่ ได
่ ้ทาขึน้
เพิมผลผลิ
ตให ้กับองค ์กร รวมถึงการร ับผิดชอบต่อสิงที
4.5 ความเป็ นผูน้ าและความร ับผิดชอบ ประการสุดทา้ ยคือ จะต ้องฝึ กความ
่
่ ร้ บั มอบหมาย และ
เป็ นผูน
้ าและมีความรบั ชอบต่อหน้าทีของตนเองที
ได