Medical gas distribution system

Download Report

Transcript Medical gas distribution system

MEDICAL GAS DISTRIBUTION SYSTEMS
MEDICAL GAS DISTRIBUTION SYSTEMS
Gas cylinder
Pipeline system
GAS CYLINDER
Gas cylinder
•ท่อบรรจุก๊าซ
•High pressure gas or gas mixture
Gas container
•ภาชนะ, ถังบรรจุก๊าซเหลว
•Low pressure gas in liquid form
COMPONENTS
Body
• ตัวถัง ทาจากเหล็กหรือโลหะผสม
• Aluminum – compatible for MRI room
Valve
• ควบคุมการจ่ายกาซ
• ถอดเฉพาะเมือ่ ทาการทดสอบหรือซ่อมบารุง
Port
• จุดทีก่ ๊าซไหลออก
• ควรจะปิ ดไว้เมือ่ ขนย้ายเพือ่ ป้ องกันสิง่ สกปรก
Pressure relief device
•Rupture disc
•Fusible plug
•Combination rupture disc/fusible plug
•Pressure relief valve
•ทาหน้าทีร่ ะบายก๊าซออกในกรณีทคี่ วามดันภายในสูงกว่าทีก่ าหนด เช่นเมือ่
มีอุรหภูมสิ ูง หรือเติมกาวมากเกินไป
SAFETY
Testing
• ทุก5ปี หรือ10ปี ในบางกรณี
• ได้รบั การรับรองมาตรฐาน
Filling
• ตามมาตรฐานของก๊าซแต่ละชนิด
• บรรจุโดยผู เ้ ชีย่ วชาญทีไ่ ด้รบั อนุญาตเท่านัน้
SAFETY
Port with noninterchangeable safety systems
• Pin index safety system (small cylinder)
• Valve outlet connection (large cylinder)
Color
• สีไม่ลอก เห็นชัดเจนทัง้ จากด้านข้างและด้านบน
• Oxygen เขียว
• Carbon dioxide เทา
• Nitrous oxide น้าเงิน
• Nitrogen ดา
• Air เหลือง
Markings, labeling, tags
MARKINGS
LABEL & TAG
HANDLING & STORAGE
Handling
•ใช้เครือ่ งมืออุปกรณ์สาหรับการเคลือ่ นย้าย
•ผู กหรือมัดให้แน่น
•cylinderขนาดใหญ่ให้ปิดcapไว้ตลอด
•ห้ามยกหรือแบกในระยะทางไกลๆโดยไม่ใช้เครือ่ งมือ ห้ามกลิง้
STORAGE
เก็บในทีซ่ งึ่ งจัดไว้เฉพาะ ในหรือนอกอาคารก็ได้ โดยต้องสะอาด มีการระบายอากาศทีด่ ี มี
ทีก่ าบังป้ องกันจากแดดฝน มีป้ายบอกชัดเจนถึงชนิดก๊าซทีเ่ ก็บ
 วางตัง้ ยึดติดกับผนังให้แน่นหนา หรือวางนอนในชัน้ ไม่ลม้ หรือกระแทกกับสิง่ ของอืน่ หรือ
กระแทกกันเอง
 ในกรณีทไี่ ม่มวี ธิ ที ยี่ ด
ึ กับผนังทีด่ ี วางนอนจะดีกว่าวางตัง้
 ป้ ายและเครือ่ งหมายต่างๆ ต้องสมบูรณ์ไม่มอี ะไรบดบัง
 ไม่ควรเก็บในทีร่ ้อนเกินกว่า 52˚c
 ห้ามใช้gas cylinderเพือ่ วัตถุประสงค์อนื่ ๆ

STORAGE
Cylinder ทีม่ กี ๊าซและทีใ่ ช้หมดแล้วแยกเก็บชัดเจน มีป้ายบอกชัดเจน
 ไม่ควรคลุมด้วยผ้าหรือวัตถุอนื่ ใด เพราะอาจมีการสะสมของก๊าซอยู่ใต้ผา้ คลุม
 เก็บห่างจากไฟหรือแหล่งความร้อน

PIPELINE SYSTEM
Liquid gas container
• โรงพยาบาลหรือหน่วยงานขนาดใหญ่ มีปริมาณการใช้ก๊าซมาก
• ลงทุนสูง
• ค่าใช้จ่ายต่อหน่วยก๊าซทีใ่ ช้นอ้ ยกว่า
• ใช้พน้ ื ทีน่ อ้ ยกว่า
Compressed gas (cylinder) manifold
• โรงยาบาลขนาดเล็ก ปริมาณการใช้นอ้ ย
• ค่าใช้จา่ ยในการขนส่งก๊าวสูงกว่า
• ใช้พน้ ื ทีม่ ากเมือ่ เทียบปริมาณก๊าซทีเ่ ท่ากัน
MANIFOLD
MANIFOLD
2 banks
• แต่ละbank ควรจะจ่ายก๊าซได้สาหรับ1วันเป็ นอย่างน้อย
• แยกกันทางานโดยอิสระ มีvalve และ pressure regulator แยกกัน
• ใช้งานทีละด้าน ให้ด้านหนึง่ เป็ นprimary อีกด้านใช้เป็ นสารอง
• อาจมีระบบสารองเพิม่ เติม
Installation place
• มีสถานทีซ่ งึ่ จัดไว้เฉพาะ
• อากาศถ่ายเทได้ด ี
• มีส่วนกาบังป้ องกันจากสภาพอากาศ
• มีป้ายชัดเจน
LIQUID SUPPLY CONTAINER
ควรจะอยู่ในพืน้ ทีซ่ งึ่ การเข้าเติมก๊าซด้วยรถบรรทุกทาได้โดยง่าย
 ตัง้ อยู่ห่างจากแหล่งความร้อนและประกายไฟ
 มีพน้ ื ทีห่ ่างจากสิง่ ก่อสร้างรอบข้างพอสมควร
 ล้อมรัว้ หรือมีการป้ องกันจากผู ไ้ ม่เกีย่ วข้อง
 มีป้ายบอกชัดเจน

VAPORIZER
PIPE DISTRIBUTION SYSTEM
Main lines
•ท่อหลักจากแหล่งจ่ายก๊าซไปยังตึกต่างๆ
Riser
•ท่อในแนวตัง้ ต่อจากmain line ไปยังแต่ละชัน้ ภายในตึก
Branch lines
•ท่อแยกจากriser ในแต่ละชัน้ และแยกย่อยต่อไปยังจุดต่างๆ
PIPE DISTRIBUTION SYSTEM
Pressure relief valves
• ติดตัง้ อยู่ก่อน shutoff valve ของแต่ละระบบ เพือ่ ป้ องกันความดันสูงเกินไปในกรณีทsี่ hutoff valveปิ ด
• ปกติจะเท่ากับ 50%เหนือค่าความดันทีใ่ ช้งานปกติ
Shutoff valves
• ควรจะมีอยู่ในทุกระบบและทุกลาดับของระบบจ่ายก๊าซ เพือ่ จะได้แยกการใช้งาน เปิ ด-ปิ ดเพือ่ การซ่อมบารุงได้โดยไม่ต้องปิ ดระบบอืน่ ๆ
• ควรจะอยู่ในทีซ่ งึ่ เข้าถึงได้ง่าย
• บุคคลากรทีท่ างานในพืน้ ทีค่ วรจะต้องรู้ถงึ วิธกี ารเปิ ดปิ ด
Emergency oxygen supply connector
• ติดตัง้ อยู่นอกอาคาร
• ใช้เพือ่ ต่อกับแหล่งจ่ายก๊าซoxygenภายนอกในกรณีทรี่ ะบบทีต่ ดิ ตัง้ อยู่มปี ญั หาจ่ายก๊าซได้ไม่พอเพียง
• ควรดูแลไม่ให้มสี งิ่ กีดขวางการเข้าถึง แต่มกี ารป้ องกันการใช้โดยบุคคลทีไ่ ม่ได้รบั อนุญาต
ALARMS
Master alarm system
• Monitor central supply and main lines of all
systems
• Visual + audio alarm with pressure gauge
• ติดตัง้ อย่างน้อย2จุด
• หน่วยงานทีร่ บั ผิดชอบ
• บริเวณพืน้ ทีท่ มี่ เี จ้าหน้าทีท่ างานอยู่ประจาตลอด
• นอกจากสัญญาณเมือ่ มีปญั หาแล้ว ระบบควรจะมีสญั ญาณแจ้งเมือ่ ระบบเปลีย่ นแหล่งจ่าย
ก๊าซจากแหล่งหนึง่ ไปใช้อกี แหล่ง เช่นเปลีย่ นจากหน่วยจ่ายกลางไปใช้ระบบสารอง
ALARMS
Area alarm system
•ระบบเตือนของแต่ละหน่วย ควรจะต้องมีอยู่ในทุกหน่วยทีส่ าคัญ เช่นห้องผ่าตัด, ห้องพักฟื้ น
, ICU
•โดยปกติมกั จะติดตัง้ อยู่ใกล้ๆshutoff valves
•มีสญั ญาณเตือนเมือ่ ความดันก๊าซในระบบลดลงกว่าระดับปกติ20%
Pressure gauges
•Main lines and each branch lines
TERMINAL UNITS
Base block
 Primary valve
 Secondary valve
 Gas-specific connection points

 Diameter
index safety system (DISS)
 Quick connector
TESTING
Initial testing
• Before wall closing
System verification
• After wall closing
Periodic testing
• Scheduled as manufacturer’s recommendation
• Hose, terminal unit ปี ละครัง้
PROBLEM
Low or inadequate pressure and supply
• มีการวางแผนและแนวทางปฏิบตั ไิ ว้ลว่ งหน้า มีการอบรมเจ้าหน้าทีท่ เี่ กีย่ วข้อง
• แจ้งผู ร้ บั ผิดชอบ ผู เ้ กีย่ วข้องและผู ป้ ระสานงานเช่นศูนย์โทรศัพท์
• แจ้งหน่วยงานอืน่ ๆทีใ่ ช้ก๊าซเช่น ICU, PACU, respiratory care
• เตรียมและตรวจสอบระบบสารอง แหล่งสารองก๊าซภายนอก
• ลดการใช้ โดยใช้ low flow anesthesia, manual ventilation แทน
ventilator
• งดผ่าตัด elective case จนกว่าระบบจะกลับมาใช้ได้ตามปกติ