Transcript Chapter 1

Chapter 3
Analysis and Design
Aj. Khuanlux Mitsophonsiri
CS.324 & CS.313 System Analysis and Design
ความหมายของการวิเคราะห์ และออกแบบระบบ
ความหมายของการวิเคราะห์และออกแบบระบบสามารถแบ่งการให้ ความหมาย
ออกเป็ น 2 ส่ วนด้ วยกัน คือ
1. การวิเคราะห์ ระบบงาน
“วิเคราะห์” ที่ใช้ กบั การวิเคราะห์ระบบนัน้ ตรงกับภาษาอังกฤษว่า “Analysis” ซึง่
แปลว่า การแยกสิ่งที่ประกอบกันออกเป็ นส่วน ๆ เช่น การแยกระบบใหญ่ออกเป็ น
ส่วนย่อย ๆ คือ เป็ นการแยกปั ญหาออกเป็ นส่วน ๆ เพื่อสะดวกในการพิจารณาหรื อ
ตัดสินใจ
2
ความหมายของการวิเคราะห์ และออกแบบระบบ
การพิจารณาปั ญหาต่าง ๆ ของคนเรานัน้ มีวิธีการใหญ่ ๆ อยูด่ ้ วยกัน 2 วิธี คือ
1.1 วิธีธรรมดา (Natural Determination)
1.2 วิธีการทางวิทยาศาสตร์ (Methodology Determination หรื อ System Analysis)
3
ความหมายของการวิเคราะห์ และออกแบบระบบ

การวิเคราะห์ ระบบ (System Analysis) หมายถึง วิธีการวิเคราะห์ระบบใดระบบหนึง่
โดยมีการคาดหมายและจุดมุง่ หมายที่จะมีการปรับปรุงและแก้ ไขระบบนัน้ การวิเคราะห์
นันจะต้
้ องทาการแยกแยะปั ญหาออกมาให้ ได้ แล้ วกาหนดปั ญหาเป็ นหัวข้ อเพื่อ
ทาการศึกษา และหาวิธีแก้ ไขในทีส่ ดุ

การวิเคราะห์ และออกแบบระบบ (System Analysis and Design) หมายถึง วิธีการที่
ใช้ ในการสร้ างระบบสารสนเทศขึ ้นมาใหม่ในธุรกิจใดธุรกิจหนึง่ หรื อในระบบย่อยของ
ธุรกิจ นอกจากการสร้ างระบบสารสนเทศใหม่แล้ วการวิเคราะห์ระบบช่วยในการแก้ ไข
ระบบสารสนเทศเดิมที่มีอยู่แล้ วให้ ดีขึ ้นด้ วยก็ได้ การวิเคราะห์ระบบ คือ การหาความ
ต้ องการ (Requirements) ของระบบสรสนเทศว่าคืออะไร หรื อต้ องการเพิ่มเติมอะไรเข้ า
มาในระบบ
4
ความหมายของการวิเคราะห์ และออกแบบระบบ
2. การออกแบบระบบงาน
การออกแบบ หมายถึง การนาเอาความต้ องการของระบบมาเป็ นแบบแผน ในการ
สร้ างระบบสารสนเทศให้ ใช้ งานได้ จริง
นักวิเคราะห์ ระบบ (System Analysis)
นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis) นักวิเคราะห์ระบบหรื อที่เราเรี ยกกันว่า SA
คือ
5
ความแตกต่ างระหว่ างโปรแกรมเมอร์ และนักวิเคราะห์ ระบบ
โปรแกรมเมอร์ (Programmer) หมายถึง บุคคลที่มีหน้ าที่รับผิดชอบในด้ านการ
โปรแกรมโดยเฉพาะ งานของโปรแกรมเมอร์ จะเป็ นไปในลักษณะที่มีขอบเขตการทางานที่
แน่นอน คือ จะเขียนโปรแกรมให้ ถกู ต้ องตามวัตถุประสงค์ตามที่ได้ มีการวิเคราะห์ขึ ้นมาแล้ ว
ซึง่ จะทางานเกี่ยวข้ องกับคนจานวนน้ อย เช่น ทางานกับโปรแกรมเมอร์ ด้วยกันกันเองหรื อกับ
นักวิเคราะห์ระบบที่เป็ นผู้วางแนวทางของระบบงานให้ แก่เขา

แต่งานของนักวิเคราะห์ ระบบ…
6
คุณสมบัตขิ องนักวิเคราะห์ ระบบ
ผู้ที่จะทาหน้ าที่เป็ นนักวิเคราะห์ระบบได้ จะต้ องมีคณ
ุ สมบัติดงั ต่อไปนี ้
1. ความรู้ทางด้ านการเขียนโปรแกรม เพื่อจะได้ สื่อสารกับโปรแกรมเมอร์ ได้ อย่างมี
ประสิทธิภาพ นักวิเคราะห์จะต้ องเข้ าใจว่าสิ่งใดที่จะเขียนโปรแกรมได้ หรื อเขียนไม่ได้
2. นักวิเคราะห์ระบบเปรี ยบเทียบเหมือนผู้จดั การทัว่ ไป จะเป็ นผู้ที่ตดั สินใจในการกาหนด
ออกแบบระบบทังหมด
้
3. นักวิเคราะห์ระบบจะต้ องเป็ นผู้ที่ให้ คาแนะนาด้ านเทคนิคที่ควรจะเป็ นให้ แก่
โปรแกรมเมอร์ ผู้ออกแบบรายงานแบบต่าง ๆ และวิศวกร
4. นักวิเคราะห์ระบบจะต้ องเข้ าใจระบบที่จะทาการออกแบบและคนที่อยูใ่ นระบบนัน้ ๆ
5. นักวิเคราะห์ระบบจะต้ องเป็ นผู้ที่ทาหน้ าที่เห็นสือ่ กลางหรื อล่ามระหว่างนักธุรกิจผู้ต้องการ
ให้ ออกแบบระบบกับโปรแกรมเมอร์ หรื อผู้ใช้ ระบบ

7
คุณสมบัตขิ องนักวิเคราะห์ ระบบ
6. นักวิเคราะห์ระบบควรจะมีความรู้ทางด้ านภาษาชันสู
้ ง (High-level Language) อย่าง
น้ อย 1 ภาษา หรื อความรู้ทางด้ าน Fourth Generation Prototyping Language
7. นักวิเคราะห์ระบบจะเป็ นผู้ที่ติดตามประมวลผลระบบที่ออกแบบและติดตังว่
้ าได้ รับผล
ตามวัตถุประสงค์ที่วางไว้ ตงแต่
ั ้ ต้นหรื อไม่ รวมทังการประเมิ
้
นผลเป็ นตัวเลข
เพื่อประโยชน์แก่การชี ้แจงให้ ผ้ ทู ี่ออกแบบระบบเข้ าใจ
8. นักวิเคราะห์ระบบควรจะมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี เนื่องจากนัดวิเคราะห์ระบบจะต้ องเกี่ยวข้ อง
กับคนในทุกระดับในองค์กร รวมถึงระบบปฏิบตั ิการ ช่างเทคนิค พนักงานบัญชี
เลขานุการ พนักงานธุรการ ซึง่ เป็ นส่วนที่มีความสาคัญทีส่ ดุ
9. นักวิเคราะห์ระบบที่ดี ควรจะมีประสบการณ์ทางด้ านการออกแบบระบบพอสมควรโดยใน
ช่วงแรกอาจจะเริ่ มต้ นจากการเป็ นโปรแกรมเมอร์ และการออกแบบเล็ก ๆ น้ อย ๆ ใน
ระบบ เช่น การออกแบบรายงานง่าย ๆ การออกแบบหน้ าจอ (Screen Design) เป็ นต้ น
8
หน้ าที่
1. จัดทางบประมาณค่าใช้ จ่ายต่าง ๆ รวมทังด้
้ านกาลังคน
2. กาหนดแผนงานและระยะเวลาที่ใช้ ในการพัฒนาระบบงาน
3. ดาเนินการสัมภาษณ์และรวบรวมข้ อมูลที่สาคัญต่อการพัฒนาระบบงาน
4. จัดทาเอกสารและวิเคราะห์ระบบงานของธุรกิจในปั จจุบนั
5. พัฒนาระบบงานโดยใช้ เทคโนโลยีปัจจุบนั เพื่อแก้ ปัญหาให้ แก้ ธรุ กิจ
6. วิเคราะห์ถึงความเหมาะสมต่าง ๆ ของเทคโนโลยี การปฏิบตั ิการ และฐานะทางเศรษฐกิจ
7. ทบทวนและยื่นข้ อเสนอระบบงานเพื่อพิจารณาอนุมตั ิ
9
หน้ าที่
8. ออกแบบและตรวจสอบความถูกต้ องของระบบงาน
9. ออกแบบแฟ้ มข้ อมูลหรื อฐานข้ อมูลและโครงสร้ างงบประมาณต่าง ๆ ที่ใช้ ในระบบ
10. ออกแบบลักษณะการติดต่อระหว่างผู้ใช้ ระบบกับระบบงานคอมพิวเตอร์
(user Interfaces) เช่น ข้ อความต่าง ๆ ที่ปรากฏบนจอมอนิเตอร์ ในขณะป้อนข้ อมูล
11. ออกแบบวิธีการเก็บข้ อมูลและเทคนิค
12. ออกแบบระบบรักษาความปลอดภัย (Security) และการควบคุม (Control) ระบบ
13. ให้ คาแนะนาทางด้ านการเขียนโปรแกรมเพื่อให้ ระบบดาเนินไปได้ ตามเป้าหมาย
14. วางแผนงานต่าง ๆ เพื่อให้ ระบบที่ได้ พฒ
ั นาขึ ้นใหม่ถกู นามาใช้ แทนระบบเดิมโดยให้ มี
ความยุ่งยากน้ อยที่สดุ (Conversion Plans)
10
วิธีการรวบรวมข้ อมูลในการวิเคราะห์ และออกแบบระบบ
ถ้ าต้ องการออกแบบระบบใหม่จะต้ องเข้ าใจว่า ระบบเดิมเป็ นอย่างไร ทางานอย่างไร มี
ขันตอนการท
้
าอย่างไร ปั ญหาก็คือ จะเก็บข้ อมูลอย่างจึงจะทาให้ เข้ าใจระบบเดิม การเก็บ
ข้ อมูลมีด้วยกันหลายวิธี
วิธีการเก็บข้ อมูล
1. การสัมภาษณ์ (Interview) สัมภาษณ์คือ การที่เราจะสามารถได้ ข้อมูลโดยตรงจากผู้ที่
เราต้ องการข้ อมูลและเป็ นเรื่ องเฉพาะที่เราต้ องการทราบ ดังนัน้ ในการสัมภาษณ์หวั ข้ อ
ต่างๆ นันควรจะเป็
้
นสิ่งที่ทาให้ คนที่ให้ สมั ภาษณ์บอกเราได้ ถึงสิ่งที่เขาคิด เกี่ยวกับเรื่ อง
ระบบที่เกิดขึ ้นในปั จจุบนั เป้าหมายขององค์กรและการปฏิบตั ิงานภายในองค์กรทัว่ ๆ ไป
11
การวางแผนการสัมภาษณ์
การเตรี ยมการและวางแผนการสัมภาษณ์มี 5 ขันตอน
้
เริ่ มตังแต่
้ การรวบรวมข้ อมูลพื ้นฐาน
ไปจนถึงการเลือกผู้ที่เราต้ องการจะสัมภาษณ์ ดังนี ้
1. ศึกษา อ่านและเข้ าใจพื ้นฐานข้ อมูลของผู้ถกู สัมภาษณ์ และลักษณะขององค์กร
2. การตังเป
้ ้ าหมายในการสัมภาษณ์ จากหัวข้ อที่ 1
3. การเลือกผู้ที่ถกู สัมภาษณ์
4. เตรี ยมการสัมภาษณ์
5. กาหนดชนิดของคาถามและโครงสร้ าง
12
ประเภทของการสัมภาษณ์
ประเภทของการสัมภาษณ์มี 2 ประการ คือ
1. คาถามแบบไม่ มีโครงสร้ าง (Unstructured interview) เป็ นการสัมภาษณ์แบบเปิ ด
ประเด็นคุยโดยไม่มีหวั ข้ อเจาะจง ข้ อมูลที่ได้ จะกระจัดกระจาย จากนันจึ
้ งค่อยจับประเด็น
2. คาถามแบบมีโครงสร้ าง (Structured interview) เป็ นการสัมภาษณ์ในกรณีที่มีการ
กาหนดหัวข้ อไว้ แล้ ว และค่อย ๆ ขยายรายละเอียดให้ เห็นภาพที่ชดั เจนขึ ้น
13
ลักษณะของคาถาม
1. คาถามปลายเปิ ด (Open – ended Questions) หมายถึง คาถามที่ให้ ผ้ ตู อบ ตอบได้
อย่างอิสระ เปิ ดโอกาสให้ ผ้ ถู กู สัมภาษณ์แสดงความคิด ทัศนคติได้ อย่างกว้ างขวาง
ข้ อดีของการใช้ คาถามปลายเปิ ด
- ทาให้ ผ้ ถู กู สัมภาษณ์มีอิสระในการตอบคาถาม
- ไม่ต้องเตรี ยมรายละเอียดของคาถามมากนัก
- มีการดาเนินการสอบถามอย่างต่อเนื่อง
- ทาให้ ผ้ ถู กู สัมภาษณ์ไม่อดึ อัดในการตอบคาถามและเพิ่มความสนใจในการตอบคาถามมากขึ ้น
- คาถามที่จะใช้ ในการสอบถามควรเป็ นคาถามที่สั ้นและง่ายในการถาม
ข้ อเสียของการใช้ คาถามปลายเปิ ด
- คาตอบที่ได้ มาอาจมีความละเอียดเกินกว่าความต้ องการหรื อไม่ตรงประเด็น
- ทาให้ ผ้ สู มั ภาษณ์ไม่สามารถควบคุมเวลาและคาตอบได้
- อาจเกิดความกดดันสาหรับผู้ถกู สัมภาษณ์ ว่าถูกจับผิด หรื อคิดว่าตนเองเป็ นเหยื่อในการตกปลา
14
ลักษณะของคาถาม
2. คาถามปลายปิ ด (Closed Questions) หมายถึง คาถามที่มีคาตอบกระชับมีขอบเขต
ชัดเจน มีคาตอบให้ เลือก คาถามที่ต้องการให้ คาตอบเป็ นจานวนหรื อต้ องการคาตอบ
เพียง ใช่หรื อไม่
ข้ อเสียของคาถามปลายปิ ด
- ผู้ถกู สัมภาษณ์จะเกิดความเบื่อหน่าย
- จะไม่ได้ รายละเอียดเพิ่มเติม
- จะไม่ได้ ทราบถึงเหตุผลและความคิดของผู้ถกู สัมภาษณ์
- ในระหว่างการสัมภาษณ์นั ้นจะไม่มีสมั พันธภาพระหว่างผู้สมั ภาษณ์และผู้ถกู สัมภาษณ์
15
การบันทึกข้ อมูลที่ได้ จากการสัมภาษณ์
(Making a Record of the Interview)
การบันทึกบทสนทนาระหว่างการสัมภาษณ์เป็ นสิ่งสาคัญ ควรจะทาในขณะที่มีการ
สัมภาษณ์ การเลือกใช้ วิธีใด ขึ ้นอยู่กบั ผู้สมั ภาษณ์ และการนาข้ อมูลไปใช้ หลักการสัมภาษณ์
1. การใช้ เครื่ องอัดเสียง (Tape Recorder)
ข้ อดีในการใช้ เครื่ องอัดเทป
• ความสมบูรณ์ถกู ต้ องในทุกคาพูด
• ทาให้ ผ้ สู มั ภาษณ์มีอิสระในการฟั งและติดตามอย่างรวดเร็ว
• สามารถสบสายตาซึง่ จะเป็ นสิง่ ที่ทาให้ ผ้ สู มั ภาษณ์มีความเป็ นกันเอง
• ทาให้ ผ้ อู ื่นที่อยู่ในกลุม่ ทางานวิเคราะห์ระบบได้ ยินการสนทนาทุกขั ้นตอนเมือ่ นามาฟั งใหม่
ข้ อเสียในการใช้ เครื่ องอัดเทป
• ผู้ถกู สัมภาษณ์จะรู้สกึ อึดอัดที่จะนอบเนื่องจากถูกบันทึก
• ทาให้ ผ้ สู มั ภาษณ์ขาดความเอาใจใส่ในการฟั ง เนื่องจากคิดว่าจะมีการบันทึกเสียงแล้ ว
• บางครัง้ เป็ นการยากที่จะใช้ ในการจับใจความสาคัญ ในกรณีที่บนั ทึกเสียงนาน
• เพิ่มค่าใช้ จ่ายเนื่องจากมีการใช้ เทปในการบันทึก
16
การบันทึกข้ อมูลที่ได้ จากการสัมภาษณ์
(Making a Record of the Interview)
2. การใช้ การจดบันทึก (Note taking) การจดบันทึกอาจะเป็ นวิธีเดียวที่สามารถบันทึกการ
สนทนาได้ ถ้ าผู้ถกู สัมภาษณ์ไม่อนุญาตให้ บนั ทึกเสียงด้ วยเทป ซึง่ มีข้อดีข้อเสีย คือ
ข้ อดีในการจดบันทึก
• ทาให้ ผ้ สู มั ภาษณ์มีความตื่นตัวในการจดบันทึก
• ทาให้ สามารถย ้าในหัวข้ อคาถามที่สาคัญ ๆ
• ช่วยให้ การสัมภาษณ์นั ้นมีแนวโน้ มไปตามต้ องการ
• แสดงให้ เห็นว่าผู้สมั ภาษณ์มีความสนใจผู้ถกู สัมภาษณ์
ข้ อเสียในการจดบันทึก
• การสร้ างความเป็ นกันเองจะเป็ นไปได้ ยาก โอกาสที่จะสบตากันน้ อยมาก
• จะขาดลักษณะของการสนทนา พูดคุยกัน
• ทาให้ ผ้ ถู กู สัมภาษณ์ ขาดความต่อเนื่องในการตอบ เพราะต้ องรอผู้สมั ภาษณ์จดบันทึกให้ เสร็จก่ อน
• ทาให้ การคิดตาม หรื อความรู้สกึ ต่าง ๆ ของผู้สมั ภาษณ์ไม่ค่อยสอดคล้ องผู้สมั ภาษณ์
17
ภาษาที่ใช้ ในแบบสอบถาม
ภาษาที่ใช้ ควรมีมาตรฐานของกลุม่ คาถามที่ควรคานึงถึงการพัฒนาระบบ ซึง่ ควรเป็ นศัพท์ที่
ใช้ เฉพาะที่ คาศัพท์ที่ใช้ จากกลุม่ ที่เกี่ยวข้ อง ข้ อแนะนาในการเลือกภาษาที่ใช้ ใน
แบบสอบถาม มีดงั นี ้
1. ใช้ ภาษาที่ตอบสนองได้ ดี ใช้ คาที่เข้ าใจง่าย
2. หลีกเลี่ยงการใช้ คาถามที่เป็ นคาเฉพาะให้ มากที่สดุ เนื่องจากอาจเป็ นคาที่มีความหมายไม่ชดั เจน
3. ใช้ คาถามที่สนั ้ กระชับ ได้ ใจความ
4. ไม่ใช้ คาหยาบคาย
5. หลีกเลี่ยงคาที่มีความเอนเอียงต่าง ๆ ในคาถาม
6. คาถามที่ตงขึ
ั ้ ้นมานันต้
้ องแน่ใจว่าเป็ นเทคนิคที่ถกู ต้ องก่อนที่จะใช้
7. คาถามนันต้
้ องมีเป้าหมายที่ตอบสนองได้ ตรงกับที่ผ้ สู มั ภาษณ์ต้องการทราบ
18