ความมัน่ คงทางอาหาร โดย นางสาวปวรรัตน์ พรรธนประเทศ นิสิตฝึ กงาน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ นิยาม ตามพรบ. คณะกรรมการอาหารแห่ งชาติ พ.ศ.

Download Report

Transcript ความมัน่ คงทางอาหาร โดย นางสาวปวรรัตน์ พรรธนประเทศ นิสิตฝึ กงาน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ นิยาม ตามพรบ. คณะกรรมการอาหารแห่ งชาติ พ.ศ.

ความมัน่ คงทางอาหาร
โดย นางสาวปวรรัตน์ พรรธนประเทศ
นิสิตฝึ กงาน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
นิยาม
ตามพรบ. คณะกรรมการอาหารแห่ งชาติ พ.ศ. 2551
ความมั่นคงด้ านอาหาร
หมายความว่ า การเข้า ถึ ง อาหารที่ มี อ ย่า งเพี ย งพอส าหรั บ การบริ โ ภคของ
ประชาชนในประเทศ อาหารมี ค วามปลอดภัย และมี คุ ณ ค่ า ทาง
โภชนาการเหมาะสมตามความต้องการ ตามวัยเพื่อการมีสุขภาวะที่ ดี
รวมทั้ง การมี ระบบการผลิ ต ที่ เ กื้ อหนุ น รั ก ษาความสมดุ ลของระบบ
นิ เวศวิทยา และความคงอยู่ของฐานทรัพยากรอาหารทางธรรมชาติของ
ประเทศ ทั้งในภาวะปกติหรื อเกิ ดภัยพิบตั ิ สาธารณภัยหรื อการก่อการ
ร้ายอันเกี่ยวเนื่องจากอาหาร
ความมัน่ คงทางอาหาร
อาหารเป็ นหนึ่ งในปั จจัยสี่ ซ่ ึ งเป็ นปั จจัยพื้นฐานที่จาเป็ นต่อการรอดชีวิตและ
การมีสุขภาพทางกายที่ดี ความมัน่ คงทางอาหารจึ งเป็ นเรื่ องสาคัญทั้งในปั จจุบนั
และอนาคต
ประการแรก
แม้เ ราจะมี อ าหารอุ ด มสมบู ร ณ์ จ นประสบปั ญ หาโรคอ้ว นและ
โภชนาการเกิ น ในประชากรกว่า ร้ อ ยละ 10 แล้ว แต่ ย งั มี ค น
ที่ อดอยาก หิ วโหย ขาดอาหารและทุ พโภชนาการอยู่จานวนไม่
น้อ ย เพราะปั ญหาการจัดสรรทรั พยากรที่ ไม่ เหมาะสม คนที่ มี
อยูแ่ ล้วยังได้มากเกิน ในขณะที่คนที่ขาดกลับได้รับน้อยกว่าที่ควร
ความมัน่ คงทางอาหาร
ประการที่สอง
อิทธิ พลครอบงาของระบบทุนนิ ยมและโลกาภิวฒั น์ ทาให้เ รามุ่ง
รั บเทคโนโลยีเพื่อประโยชน์ของการแข่งขันและเห็ นประโยชน์
ของเงิ น ตรามากกว่า คุ ณ ค่ าของมนุ ษ ย์ ท าให้ไ ม่ ใ ห้ค วามส าคัญ
ของความหลากหลายทางชี ว ภาพ ภู มิ ปั ญ ญาท้อ งถิ่ น และภู มิ
ปั ญญาดั้งเดิม จึงเป็ นภัยคุกคามต่อความมัน่ คงทางอาหาร
ประการที่สาม
ความจาเป็ นของการแสวงหาพลังงานทางเลือกใหม่ ทาให้มีการ
ใช้ที่ดินและทรั พยากรจานวนมากที่ เดิ มเคยใช้ผลิ ตอาหาร ไปใช้
ผลิตพลังงานทดแทน
สาเหตุของความไม่มนั่ คงทางอาหาร
1.
ปัญหาความเสื่ อมโทรมของฐานทรัพยากรอาหาร



2.
ปั ญหาของระบบการผลิตอาหารที่ไม่ยงั่ ยืน



3.
การลดลงของพื้นที่ป่าไม้
การเสื่ อมโทรมของดิน
ปัญหาของทรัพยากรน้ า
ปัญหาพันธุกรรมในการผลิตอาหาร
การพึ่งพาปุ๋ ยและสารเคมีการเกษตร
การลดลงของเกษตรกรรายย่อยและการขยายตัวของธุรกิจการเกษตรขนาดใหญ่
ปั ญหาโครงสร้างของที่ดินทากินและสิ ทธิ ในการเข้าถึงทรัพยากร
สาเหตุของความไม่มนั่ คงทางอาหาร
บทบาทของค้าปลีกขนาดใหญ่และโมเดิร์นเทรดที่มีบทบาทมากขึ้นในระบบ
กระจายอาหาร
5. การเปลี่ยนแปลงของภูมิอากาศโลกและผลกระทบต่อการผลิตอาหาร
6. ผลกระทบจากการเปิ ดเสรี การค้าและความตกลงระหว่างประเทศต่อระบบอาหาร
7. ปั ญหาสุ ขภาวะที่เกิดจากระบบอาหาร
8. การแผ่ขยายของอาณานิ คมทางอาหาร
9. วัฒนธรรมอาหารต่างชาติครอบงาวัฒนธรรมอาหารท้องถิ่น
10. การขาดนโยบายเกี่ยวกับความมัน
่ คงทางอาหาร
4.
การฟื้ นฟูวฒั นธรรมอาหารท้องถิ่น
วัฒ นธรรมอาหารมี ค วามส าคัญ เป็ นอย่า งยิ่ ง ต่ อ การรั ก ษาและฟื้ นฟู ฐ าน
ทรั พยากรและความมัน่ คงทางอาหาร เพราะเมื่ อใดก็ตามที่ วิถีและแบบแผนการ
บริ โภคของสังคมไทยเปลี่ยนแปลงไป ระบบการผลิตอาหารก็จะถูกเปลี่ยนแปลง
ไปด้วย
ในบรรดากับข้าวทั้งหมดที่คนไทยทุกภาครับประทานเป็ นประจา “น้ าพริ ก”
น่าจะเป็ นอาหารที่เป็ นที่นิยมมากที่สุดเป็ นอันดับแรก จนอาจเรี ยกได้วา่ น้ าพริ กคือ
เสาหลักของระบบอาหารไทย น้ าพริ กเป็ นส่ วนหนึ่ งของระบบวัฒนธรรมไทย
การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นกับถ้วยน้ าพริ กถ้วยเล็กๆถ้วยหนึ่ งจะมีผลอย่างสาคัญต่อ
ฐานทรัพยากร ระบบการผลิตอาหารและสุ ขภาวะของคนในสังคมไทยทั้งหมด
ความสาคัญของน้ าพริ ก
น้ าพริ กคืออาหารสาคัญที่เชื่อมโยงฐานทรัพยากรอาหารที่สาคัญที่สุดของเรา
คือ ข้าว-ปลา-ผักพื้นเมืองเข้าด้วยกัน เพราะน้ าพริ กทาให้เราสามารถรับประทาน
ผักได้มากขึ้ น รั บประทานข้าวและปลาได้เอร็ ดอร่ อยขึ้น การพัฒนาน้ าพริ กเพื่อ
นามาเป็ นอาหารจึงเป็ นภูมิปัญญาสาคัญของบรรพบุรุษในการใช้ประโยชน์จากฐาน
ทรั พยากรที่ มี โดยทาให้มีอาหารที่ มีโภชนาการครบถ้วน ได้แก่ คาร์ โบไฮเดรต
จากข้าว โปรตีนจากปลา และวิตามิน ธาตุอาหารรองต่างๆจากผักพื้นเมือง
นอกเหนื อจากมีคุณค่าทางโภชนาการแล้ว น้ าพริ กยังป็ นอาหารขั้นพื้นฐาน
ที่ สุ ด คื อ เป็ นอาหารที่ มี ร าคาไม่ แ พงและคนสามารถเข้า ถึ ง ได้ ง่ า ย แต่ ใ น
ขณะเดียวกันก็ไม่ได้มีลกั ษณะทางชนชั้นที่ชดั เจนเพราะน้ าพริ กก็มีความเอร็ ดอร่ อย
และมีคุณค่าโภชนาการสาหรับคนในทุกระดับด้วย
คุณค่าทางโภชนาการและสมุนไพรในสารับน้ าพริ ก
คุณค่าทางโภชนาการของน้ าพริ กแบ่งเป็ น 2 ส่ วน คือ ตัวองค์ประกอบของ
น้ าพริ กโดยตรง เช่น พริ ก หอมแดง กระเทียม ปลาร้า และกะปิ ตัวอย่างเช่น
พริก ให้วิตามินเอประมาณ 2,000 หน่วยสากล วิตามินซี ประมาณ 100-200
มิลลิกรัม
ปลาร้ า ให้แคลเซี ยมประมาณ 940 มิลลิกรัม และฟอสฟอรัสประมาณ 400-650
มิลลิกรัม
กะปิ ให้แคลเซี ยมประมาณ 1,500 มิลลิกรัม และฟอสฟอรัสใกล้เคียงกับปลาร้า
คุณค่าทางโภชนาการและสมุนไพรในสารับน้ าพริ ก
คุณค่าทางโภชนาการของน้ าพริ กอาจไม่ได้อยูท่ ี่ตวั น้ าพริ กเท่านั้น แต่ยงั อยูท่ ี่
ผักแนมด้วย เนื่องจากพบว่ามีผกั ที่รับประทานกับน้ าพริ กชนิ ดต่างๆนั้นหลากหลาย
ชนิด ซึ่ งล้วนแต่มีสรรพคุณในทางยาและมีคุณค่าทางโภชนาการ เช่น
โสน มีเบต้าแคโรทีนสู ง ช่วยเจริ ญอาหาร
บัวบก แก้ฟกช้ า ลดอาการอักเสบได้ดี แก้ร้อนใน บารุ งสมอง บารุ งหัวใจ ลด
อาการแพ้ ลดความดันเลือด
ชะอม อุดมไปด้วยเบต้าแคโรทีน ช่วยยับยั้งการเกิดโรคมะเร็ ง ช่วงลดความร้อน
ภายในร่ างกาย
แค มีฤทธิ์ ดบั พิษร้อนถอนพิษไข้ แก้ไข้หวั ลม
กระถิน เบต้าแคโรทีนสู ง ช่วยด้านอนุมูลอิสระ ยับยั้งการเกิดโรคมะเร็ ง บารุ ง
สายตา
กินเปลี่ยนโลก
“วิถีการบริ โภค”กับ “วิถีการผลิต” คือหลักสาคัญที่สร้างโลกและระบบ
เศรษฐกิจแบบที่เป็ นอยูจ่ ะเป็ นวิถีที่ทาลายระบบเศรษฐกิจนี้และทาลายโลกของเรา
วิถีการกินที่เราเป็ นอยู่ หรื อที่เรี ยกว่า “บริ โภคนิยม” เกิดขึ้นได้เพราะการ
ปฏิวตั ิอุตสาหกรรม และการปฏิวตั ิเกษตรกรรม เป็ นระบบการผลิตทีละมากๆและ
ผลาญทรัพยากร พลังงาน และพึ่งพาเชื้อเพลิงอย่างมาก
วิถีการบริ โภคเช่นนี้ทาให้เกิดปั ญหาโภชนาการและปั ญหาในเรื่ องของความ
ปลอดภัยทางอาหาร เช่น ทาให้เกิดโรคมะเร็ ง โรคเกี่ยวกับหัวใจและระบบหลอด
เลือด โรคเบาหวาน กลายเป็ นโรคสาคัญ
กินเปลี่ยนโลก
กินเปลี่ยนโลก มีแนวคิดมาจากปั ญหาสังคม สิ่ งแวดล้อม และเศรษฐกิจ
ซึ่ งสามารถปฏิบตั ิตาม 3 เงื่อนไขหลักๆ ดังนี้
1. อาหารที่ดีมีคุณค่า (Good) วัตถุดิบคุณภาพดี สดใหม่ ใส่ ใจในทุก
ขั้นตอนการปรุ ง เปี่ ยมด้วยคุณค่าทางโภชนาการ
2. สะอาด (Clean) วัตถุดิบมาจากระบบการผลิตที่ปลอดสารเคมี และไม่
สร้างมลพิษต่อสิ่ งแวดล้อม
3. เป็ นธรรม (Fair) ราคาเป็ นธรรมต่อผูผ้ ลิต ผูข้ าย และผูซ
้ ้ื อ
การประชุมสมัชชาวิชาการความมั่นคงทางอาหาร
ประจาปี 2553
ความมั่นคงทางอาหาร
บนฐานความหลากหลาย
ทางชีวภาพ
หลักการและเหตุผล
แม้ประเทศไทยได้ชื่อว่าเป็ นประเทศส่ งออกอาหารอันดับต้นๆ ของ
โลก แต่ภาพลักษณ์ดงั กล่าวเป็ นเพียงมายาภาพเท่านั้น เนื่องจากปรากฏว่า
ประชาชนอีกเป็ นจานวนมากยังขาดความมัน่ คงทางอาหาร ดังตัวเลขของ
องค์การอาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติที่รายงานว่าร้อยละ 17 ของ
คนไทยยังไม่ได้รับอาหารที่เพียงพอ เช่นเดียวกับข้อมูลของ
กระทรวงศึกษาธิการที่ระบุวา่ ยังมีเด็กนักเรี ยนอีกราวร้อยละ 7 ที่ไม่ได้รับ
อาหารเพียงพอต่อความต้องการสาหรับการเจริ ญเติบโต
หลักการและเหตุผล
นอกเหนือจากความไม่เป็ นธรรมในระบบอาหารข้างต้นแล้ว ความ
มัน่ คงทางอาหารของประเทศยังถูกกัดกร่ อนจากวิกฤติการณ์ดา้ น
สิ่ งแวดล้อม ความเสื่ อมโทรมของทรัพยากร ปัญหาการเปลี่ยนแปลง
ภูมิอากาศ
ผลกระทบจากการเปิ ดเสรี การค้าระหว่างประเทศ และ
แรงผลักดันจากการเปลี่ยนแปลงพื้นที่ผลิตอาหารเป็ นพื้นที่สาหรับผลิต
พืชพลังงาน เป็ นต้น
หลักการและเหตุผล
ทั้งนี้ดว้ ยการสร้างความมัน่ คงและการพึ่งพาตนเองด้านอาหารของ
สังคมไทย และการขจัดความไม่เป็ นธรรมในระบบการเกษตรและ
อาหารมีพ้นื ฐานอยูท่ ี่การฟื้ นฟูศกั ยภาพและการเรี ยกร้องสิทธิของ
เกษตรกรและชุมชนในการอนุรักษ์ พัฒนา และใช้ประโยชน์จาก
ทรัพยากรชีวภาพ การเข้าถึงทรัพยากรขั้นพื้นฐานและการพึ่งพาตนเอง
ในปัจจัยการผลิตทางการเกษตร รวมถึงการตระหนักรู ้เท่าทัน เพือ่
ป้ องกันและขจัดการผูกขาดของบรรษัทขนาดใหญ่ที่พยายามครอบครอง
ฐาน ทรัพยากรอาหาร ระบบการกระจายอาหาร และวัฒนธรรมอาหาร
ไปพร้อมๆ กัน
วัตถุประสงค์
1.
2.
3.
เพื่อเผยแพร่ บทเรี ยน ประสบการณ์ และองค์ความรู ้ของชุมชนและภาคีเครื อข่าย
ในการรักษาฐานทรัพยากรอาหารและทรัพยากรพันธุกรรม โดยเชื่อมโยงข้อมูล
และศักยภาพของพื้นที่สู่ การศึกษาวิจยั และกระบวนการผลักดันเชิงนโยบาย
สาธารณะแบบมีส่วนร่ วม
เพื่อเชื่อมโยงและแลกเปลี่ยนเรี ยนรู ้ร่วมกันระหว่างกลุ่ม องค์กร หน่วยงาน และ
ภาคีเครื อข่ายชุมชนต่างๆ ในการแบ่งปั นข้อมูล จัดทาระบบบันทึกองค์ความรู้
และแลกเปลี่ยนความรู ้ความสามารถด้านการอนุรักษ์และฟื้ นฟูฐานทรัพยากร
อาหารและทรัพยากรพันธุกรรม
พื่อจัดทาข้อเสนอเชิงนโยบายว่าด้วยความมัน่ คงทางอาหารต่อแผนยุทธศาสตร์
การจัดการด้านอาหารของประเทศไทย และแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
แห่งชาติ ฉบับที่ 11 เพื่อสร้างสรรค์ระบบอาหารที่เกื้อกูลและเป็ นธรรม
การปาฐกถานา เพื่อนาประเด็น
มุ่งสื่ อสารแนวคิด หลักการ และความสาคัญของความมัน่ คงทางอาหารบน
ฐานทรัพยากรและความหลากหลายทางชีวภาพ รวมถึงศักยภาพของชุมชนท้องถิน่
ที่อนุรักษ์ ปรับปรุ ง และพัฒนาพันธุกรรมพื้นบ้าน ภายใต้วกิ ฤตการณ์ท้ งั ในปั จจุบนั
และอนาคตอันเนื่องมาจากกระแสเศรษฐกิจโลกาภิวฒั น์
โดย ศาสตราจารย์ เสน่ห์ จามริ ก

ชุมชนควรที่จะสร้างเครื อข่ายร่ วมกัน เพื่อรักษาทรัพยากรที่เป็ นที่หมายปองของโลก
อุตสาหกรรม ผลักดันให้เกิดการปรับปรุ งระบบและกระบวนการศึกษา เพราะคนในชนบท
ส่ งลูกหลานไปเรี ยนที่กรุ งเทพฯ ทาให้ชนบทขาดแคลนทรัพยากรมนุษย์ที่จะเป็ นผูพ้ ฒั นา
หรื อการทาการเกษตร
เสวนานาเสนอบทเรี ยนองค์ความรู้จากปฏิบตั ิการพื้นที่
บทเรียน ประสบการณ์ และการต่ อสู้ ของชุ มชนในการอนุรักษ์ ฟื้ นฟูระบบนิเวศ
รักษาฐานทรัพยากรอาหาร ทีม่ นี ัยสาคัญต่ อชุ มชน ระบบนิเวศ และประเทศชาติ
 เครื อข่ายอนุรักษ์พน
ั ธุ์สัตว์น้ า (วังปลา) จ.อุบลราชธานี
ปัญหาทีพ่ บ
1. ความเสื่ อมโทรมของระบบนิ เวศน์ คือ ชาวประมงใช้อวนตาถี่ในการจับปลา ทาให้
ทรัพยากรปลาลดลง
2. มีการสร้างเขื่อน ซึ่ งเป็ นการตัดวงจรชีวต
ิ ของปลาที่มาวางไข่
 การแก้ ไข
มีการทาวังปลา เพื่อเพิ่มให้ปลามีปริ มาณมากขึ้นและพันธุ์ปลาหายากก็กลับคืนสู่ แหล่งน้ า
(โดยภายในเขตของวังปลานั้น ไม่สามารถจับสัตว์น้ าได้)

เสวนานาเสนอบทเรี ยนองค์ความรู้จากปฏิบตั ิการพื้นที่

กรณี ชุมชนป่ าชายเลน จ. ภูเก็ต
ปัญหาทีพ่ บ
่ ่ามกลางการแย่งชิงทรัพยากรซึ่ งตั้งอยูใ่ จกลางของการขยายตัวของ
1. ชุมชนอยูท
อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว
2. ป่ าชายเลนถูกทาลายและมีสภาพที่เสื่ อมโทรม
 การแก้ ไข
1. อนุรักษ์ ฟื้ นฟู และเฝ้ าระวังทรัพยากรป่ าชายเลนและชายฝั่ง เช่น มีการปลูกป่ าชายเลน
ปล่อยพันธุ์หอย สร้างเขตอนุรักษ์นากทะเล (เนื่องจาก นากทะเลเป็ นตัววัดความอุดม
สมบูรณ์ของป่ าชายเลน)
2. สร้างความเข้าใจกับภาครัฐและสาธารณะ

เสวนานาเสนอบทเรี ยนองค์ความรู้จากปฏิบตั ิการพื้นที่

กรณี กลุ่มอนุรักษ์ป่าทับสะแก จ.ประจวบคีรีขนั ธ์


ปัญหาที่พบ
จ.ประจวบฯถูกผลักดันให้เป็ นเขตอุตสาหกรรมเหล็กครบวงจร เป็ นการสร้างเมืองด้วย
มลพิษ
การแก้ ไข
ผลักดันการแก้ปัญหาทรัพยากรสิ่ งแวดล้อม
เสวนาเรื่ อง การอนุรักษ์ ปรับปรุ งและพัฒนาพันธุกรรม

การพัฒนาพันธุ์ขา้ วพื้นบ้าน โดยกลุ่มอาสาสมัครอนุรักษ์พนั ธุกรรมข้าวพื้นบ้าน
จ.ยโสธร
ปัญหาทีพ่ บ
เกษตรกรปลูกข้าวพันธุ์พ้นื บ้านน้อยลง เนื่องจากข้าวพันธุ์พ้นื บ้านมีผลผลิตที่ไม่สม่าเสมอ
พันธุ์ขา้ วไม่ได้คุณภาพ และขายได้ราคาต่า เกษตรกรส่ วนใหญ่จึงหันมาปลูกพันธุ์ขา้ วอื่นๆ
ทาให้มีการใช้ยาฆ่าแมลงเพิ่มขึ้น
 การแก้ ไข
1. มีการทางานร่ วมกันเป็ นเครื อข่ายภาคี
2. พัฒนาพันธุ์ขา้ วพื้นบ้าน เพราะข้าวพันธุ์พ้น
ื บ้านเป็ นสายพันธุ์ที่มีความต้านทานต่อโรค
และแมลงสูงรวมถึงเหมาะสมต่อสภาพพื้นที่
3. สร้างแนวคิดในการอนุรักษ์พน
ั ธุกรรมพื้นบ้าน เพื่อการคงอยูข่ องเมล็ดพันธุ์ในมือเกษตร

สรุปและข้ อเสนอแนะจากผู้เข้ าร่ วมประชุมสมัชชา
ความมัน่ คงทางอาหาร

ด้ านการพึง่ พาตนเอง



ต้องการให้เกษตรกรต้องรักษาเมล็ดพันธุ์ดว้ ยตนเอง
ชาวนาที่ยงิ่ ใหญ่ได้จะต้องไม่พ่ งึ พิงการผลิตจากภายนอกโดยเด็ดขาด และจะต้องเป็ นผูม้ ี
ข้อมูลของตัวเองให้มากที่สุด และเป็ นประโยชน์กบั ชุมชนมากที่สุด ต้องเชื่อมโยงเครื อข่าย
เกษตรกรเพื่อแลกเปลี่ยนประสบการณ์อย่างต่อเนื่อง
มีเป้ าหมายเดียวกัน ควรประคองเดินร่ วมกัน สร้างเครื อข่ายเข้มแข็ง ให้พ่ งึ พาตนเอง คิดเอง
เป็ น
สรุปและข้ อเสนอแนะจากผู้เข้ าร่ วมประชุมสมัชชา
ความมั่นคงทางอาหาร

การรณรงค์ และสร้ างความร่ วมมือ



สาหรับเรื่ องอาหาร เราควรรณรงค์ในการบริ โภคอย่างจริ งจัง สาหรับอาหารแต่ละอย่างดึง
ความปลอดภัยของตน
เชื่อมองค์กรอิสระต่างๆที่ทางานอยูข่ า้ งประชาชน ให้มาแลกเปลี่ยนความรู ้ ประสบการณ์
และหาทางออกร่ วมกันกับหน่วยงานราชการ และลดการมีอคติที่มีต่อกัน โดยการหัน
มาร่ วมมือเชื่อมโยงในการช่วยเหลือเกษตรกรอย่างแท้จริ ง
ขอให้นกั วิชาการจัดตั้งองค์กรหรื อหน่วยงานอิสระเพื่อชุมชน ปรึ กษาทางด้านกฎหมายเพื่อ
ปกป้ องผลประโยชน์ สิ ทธิของชุมชน เพื่อถ่วงดุลอานาจรัฐและกลุ่มทุนที่ยงั เหลื่อมล้ ากับ
เกษตรกร