น้ำความมั่นคงแห่งชีวิต - สำนัก สุขาภิบาล อาหาร และ น้ำ

Download Report

Transcript น้ำความมั่นคงแห่งชีวิต - สำนัก สุขาภิบาล อาหาร และ น้ำ

ศ.เกียรติคณ
ุ ไกรสิทธิ์ ตันติศิรินทร์
คณะกรรมการอาหารแห่ งชาติ
บรรยาย ณ โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ กรุงเทพฯ
22 มีนาคม 2555
1
หัวข้อการนาเสนอ
• น้ า และการใช้ประโยชน์
• น้ า และความมั ่นคงด้านอาหาร
• การเพิ่มประสิทธิภาพการใช้น้ า
และการอนุรกั ษ์
คณะกรรมการอาหารแห่ งชาติ
2
โลก ประกอบด้วยน้า... 3 ใน 4 ส่วน
97.5% น้ าทะเล
1.75 % ก้อนน้ าแข็ง/หิมะ
0.75 % น้ าจืด
คณะกรรมการอาหารแห่ งชาติ
3
แหล่งน้าจืด ที่ใช้อุปโภค/บริโภค
1. แม่น้ า(เขื่อน, ฝาย, อ่างเก็บน้ า)
คลอง ทะเลสาบ
2. น้ าผิวดิน : บ่อน้ าตื้น
3. น้ าใต้ดิน
4. น้ าฝน
5. น้ าจืดจากทะเล
(ขณะนี้ ประชาชน 300 ล้านคนใช้อยู)่
คณะกรรมการอาหารแห่ งชาติ
4
แหล่ งน้ำจื ด
ปริมาณน้ าจืดของโลก
≈ 35,000 ล้านลูกบาศก์เมตร
24,360 ล้ ำนลูกบำศก์เมตร
10,550 ล้ ำนลูกบำศก์เมตร
ถูกกักเก็บอยูใ่ นน้ าแข็ง/ธารน้ าแข็ง
หิมะที่ปกคลุมพื้นผิวและชั้นดินเยือกแข็ง
อยูใ่ ต้พ้ นดิ
ื น โดยแทรกซึมอยูใ่ นดินและชั้นหินอุม้ น้ า
ซึ่งได้รบั น้ าที่ซึมลงมาจากผิวดินอีกทอดหนึ่ง
118.6 ล้ ำนลูกบำศก์เมตร
คณะกรรมการอาหารแห่ งชาติ
อยูใ่ นทะเลลาบ แม่น้ า และพื้นที่ชุ่มน้ า
ปริมาณน้ ารวมรวมน้ าในต้นไม้ สัตว์ และบรรยากาศ
5
การใช้ประโยชน์ น้ำจื ด
• 70 % การเกษตร
• 16 % อุตสาหกรรม
• 14 % อุปโภค บริโภค
Source : www.fao.org/nr/water
คณะกรรมการอาหารแห่ งชาติ
6
สถานการณ์ดา้ นฐานทรัพยากร : ดิน ป่ า
ความเสื่อมโทรมของที่ดินและป่ าไม้
ทีด่ นิ 60%
เสื่อมโทรม!
ขยายตัว 1 ล้านไร่/ปี
ปี 2551 มีป่าไม้ทั ่วประเทศ
เหลือเพียง 107.7 ล้านไร่ จาก
เดิม 171 ล้านไร่ ในปี 2504
ในปี
2551
คณะกรรมการอาหารแห่ งชาติ
ปี 2551 มีป่าชายเลนทั ่วประเทศ
เหลือเพียง 1,500 ตร.กม. จากเดิม
3,679 ตร.กม. ในปี 2504
ไทยมีท่ีดินการเกษตรทัง้ หมด 112.6 ล้านไร่
7
สถานการณ์ดา้ นฐานทรัพยากรน้ าที่กระทบต่อความมั ่นคงอาหาร
น้ าไม่เพียงพอ หรือ เกิดอุทกภัย
ที่ดินการเกษตร
70 ล้านไร่
อยูน่ อกเขตชลประทาน
การเกษตรต้องใช้น้ า
76%ของความต้องการ
ทั้งหมดในประเทศ
เกิดอุทกภัยรุนแรง
คณะกรรมการอาหารแห่ งชาติ
ต้องพึ่งพาน้ าฝน
อย่างเดียว
ขาดแคลนน้ า
เพื่อการเกษตร
8
คุณภำพน้ำ
40 % น้ำผิวดิน อยู่ในเกณฑ์แย่
ภาคใต้
พบการปนเปื้ อน
ของสารหนู
จังหวัดตาก
พบการปนเปื้ อน
ของแคดเมี่ยม
คณะกรรมการอาหารแห่ งชาติ
9
การบริหารจัดการน้า
พื้นที่ชลประทาน (จาแนกรายภาค)
• ภาคเหนือ
• ภาคกลาง
• ภาคตะวันออก
• ภาคตะวันตก
• ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
• ภาคใต้
5.24 ล้านไร่
9.45 ล้านไร่
2.67 ล้านไร่
1.58 ล้านไร่
6.37 ล้านไร่
3.39 ล้านไร่
รวม 28.7 ล้านไร่ (21.64% ของพื้นที่เกษตร)
คณะกรรมการอาหารแห่ งชาติ
ที่มา : กรมชลประทาน (2554)
10
การใช้น้าในภาคเกษตร
คณะกรรมการอาหารแห่ งชาติ
11
การใช้น้าในภาคอุตสาหกรรม
คณะกรรมการอาหารแห่ งชาติ
12
การใช้น้าเพือ่ อุปโภค และบริโภค
UN ได้ยกตัวอย่างพฤติกรรมการใช้น้ าของมนุษย์
ในแต่ละวันว่า…
• ดื่มน้ าอย่างน้อย
2-5 ลิตร
• ใช้ชกั โครก/ห้องน้ า
5 -15 ลิตร
• ใช้อาบน้ า
50-200 ลิตร
• ใช้น้ าเพื่อการชลประทานและการเกษตร 70 % ของน้ าทั้งหมด
กรุงเทพมหานครได้ชื่อว่าเป็ นเมืองที่ผลาญทรัพยากรน้ า
มากที่สุดในโลก เฉลี่ยแล้วใช้น้ าประมาณ 265 ลิตรต่อคน
ต่อวัน ขณะที่ชาวฮ่องกงใช้น้ าเปลืองน้อยที่สุดในโลก
เพียง 112 ลิตร ต่อคนต่อวัน
คณะกรรมการอาหารแห่ งชาติ
13
สุขอนามัยส่วนบุคคล
“กินร้อน ช้อนกลำง ล้ ำงมือ”
การรณรงค์ให้ประชาชนกินอาหารปรุงสุกใหม่ๆ
ใช้ชอ้ นกลาง และล้างมือก่อนกินอาหาร ส่งผลให้จานวน
ผูป้ ่ วยโรคอุจจาระร่วงลดลงอย่างเห็นได้ชดั
คณะกรรมการอาหารแห่ งชาติ
14
น้าในร่างกายมนุษย์
100%
Brain
80.5%
Bone
13%
75%
Kidney
82.7%
Muscle
75.6%
ร่างกายมนุษย์
ประกอบด้วย
น้ ามากถึง
75 %
Blood
75.6%
0%
คณะกรรมการอาหารแห่ งชาติ
15
คณะกรรมการอาหารแห่ งชาติ
Source : www.fao.org/nr/water
16
World Population (Billions)
UNEP World Population 1950 to 2050
Time (year)
คณะกรรมการอาหารแห่ งชาติ
17
Urban and Rural Population in Asia (in million)
Source : http://esa.un.org/unpd/wup/Fig_7.htm
คณะกรรมการอาหารแห่ งชาติ
18
สาเหตุการขาดแคลนน้า
ประชากรเพิ่มขึ้น
ความเป็ นเมืองมากขึ้น
เศรษฐกิจดีข้ ึน
การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ
ความต้องการน้ าเพื่อการเกษตร
และอุตสาหกรรมเพิ่มขึ้น
6. แหล่งน้ าเสื่อมโทรม/ มีมลพิษ
1.
2.
3.
4.
5.
คณะกรรมการอาหารแห่ งชาติ
19
คณะกรรมการอาหารแห่ งชาติ
20
ข้อขัดแย้งเกี่ยวกับ “น้า”
เกิดขึ้นได้ท้งั ใน
ระดับภูมิภาค
ระดับชาติ ระดับ
พื้นที่ และชุมชน
คณะกรรมการอาหารแห่ งชาติ
21
หัวข้อการนาเสนอ
• น้ า และการใช้ประโยชน์
• น้ า และความมั ่นคงด้านอาหาร
• การเพิ่มประสิทธิภาพการใช้น้ า
และการอนุรกั ษ์
คณะกรรมการอาหารแห่ งชาติ
22
Source : www.fao.org/nr/water
คณะกรรมการอาหารแห่ งชาติ
23
ประชากรโลก 1 ใน 8 คน
ไม่สามารถเข้าถึงแหล่งน้าสะอาด
• แต่ละปี ผูค้ น 3.3 ล้ ำนคนทั่ วโลก เสียชีวิตจากปั ญหา
สุขภาพที่เกี่ยวข้องกับน้ า
• การล้างมือด้วยสบู่ช่วยลดอัตราการป่ วยด้วยโรค
ท้องร่วงได้ถึง ร้อยละ 45
• การรณรงค์กาจัดโรคซึ่งรวมถึงการใช้เครื่องกรองน้ า
อย่างง่ายๆ ช่วยลดจานวนผูป้ ่ วยจากพยาธิได้ถึง
ร้อยละ 99.9 นับตัง้ แต่ปี1986 เป็ นต้นมา
คณะกรรมการอาหารแห่ งชาติ
24
การดาเนินงานตลอดห่วงโซ่อาหารในปั จจุบนั
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
แปร
โฆษณา
เพาะปลูก
แหล่ง
จาหน่ าย
สภาพ ขนส่ ง แปรรูป ขนส่ ง จัดเก็บ
&
นาเข้ า เลีย้ งสัตว์ ขนส่ ง ฆ่ า เชือด
รวบรวม
ปรุงจาหน่ าย
บริโภค
เบือ้ งต้ น
ประมง
กระทรวง กระทรวงเกษตร กระทรวง กระทรวง
สาธารณสุข และสหกรณ์ พาณิชย์ อุตสาหกรรม
กระทรวง
กระทรวง
การต่างประเทศ มหาดไทย
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
มากกว่า 30 หน่วยงาน !!
กฎหมายที่เกี่ยวข้อง
มากกว่า 30 ฉบับ !!
ขาดความเป็ นเอกภาพ ในการดาเนินงาน
คณะกรรมการอาหารแห่ งชาติ
25
พ.ร.บ.
คณะกรรมการ
อาหารแห่งชาติ พ.ศ.2551
ครอบคลุม
ความมั ่นคง
ทางอาหาร
(Food Security)
คุณภาพอาหาร
(Food Quality)
ความปลอดภัย
อาหาร
(Food Safety)
อาหารศึกษา
(Food Education)
เชื่อมโยง 11 กระทรวง กว่า 30 หน่วยงาน / พ.ร.บ.กว่า 30 ฉบับ
กลาโหม
คลัง
พาณิชย์
สภาความมั่นคง
แห่ งชาติ
คณะกรรมการอาหารแห่ งชาติ
ต่างประเทศ
มหาดไทย
พัฒนาสังคมฯ
วิทยาศาสตร์ฯ
สภาพัฒน์
อุตสาหกรรม
ศึกษาธิ การ
สนง.คณะกรรมการ
คุ้มครองผู้บริโภค
สาธารณสุข
เกษตรฯ
สนง.สุขภาพ
แห่ งชาติ
26
นิยาม
ตามพรบ. คณะกรรมการอาหารแห่งชาติ พ.ศ. 2551
ความมัน่ คงด้านอาหาร
หมายความว่า การเข้าถึงอาหารที่มีอย่างเพียงพอสาหรับการบริโภค
ของประชาชนในประเทศ อาหารมีความปลอดภัย และมีคณ
ุ ค่าทาง
โภชนาการเหมาะสมตามความต้องการ ตามวัยเพื่อการมีสุขภาวะที่ดี
รวมทั้ง การมีระบบการผลิตที่เกื้อหนุน รักษาความสมดุลของระบบ
นิเวศวิทยา และความคงอยูข่ องฐานทรัพยากรอาหารทางธรรมชาติ
ของประเทศ ทั้งในภาวะปกติหรือเกิดภัยพิบตั ิ สาธารณภัยหรือ
การก่อการร้ายอันเกี่ยวเนื่องจากอาหาร
คณะกรรมการอาหารแห่ งชาติ
27
กรอบยุทธศาสตร์การจัดการด้านอาหารของประเทศไทย
• ความมั ่นคงอาหาร
(พรบ. คณะกรรมการอาหารแห่งชาติ)
• คุณภาพอาหาร • ความปลอดภัยอาหาร • อาหารศึกษา
แนวคิดการจัดทาแผนยุทธศาสตร์
• เป็ นแผนชี้ นา
• มีการวิเคราะห์จุดเสี่ยง
แผนยุทธศาสตร์ดา้ น
อาหารของต่างประเทศ
• อาเซียน • ออสเตรเลีย
• แคนาดา
• ญี่ปุ่น
• อังกฤษ • สหภาพยุโรป
•ฯลฯ
• สร้างการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน • บูรณาการการดาเนินงาน
• มีหลักฐานทางวิชาการสนับสนุน
• เกิดความยั ่งยืน
• การวิเคราะห์สถานการณ์
• SWOT Analysis
กรอบยุทธศาสตร์ดา้ นอาหาร
วิสยั ทัศน์
วัตถุประสงค์
ผลที่คาดว่าจะได้รบั
1 ด้านความมั ่นคงอาหาร
2 ด้านคุณภาพ & ความปลอดภัยอาหาร
3 ด้านอาหารศึกษา
4 ด้านการบริหารจัดการ
คณะกรรมการอาหารแห่ งชาติ
ครอบคลุมตลอดห่วงโซ่/ เชื่อมโยงระดับนานาชาติ
ประเทศ ชุมชน และครัวเรือน
แผนยุทธศาสตร์ของ
หน่วยงานในประเทศ
• สภาพัฒน์ฯ
• สาธารณสุข
• เกษตรและสหกรณ์
• อุตสาหกรรม
• พาณิชย์
• ฯลฯ
จาเป็ นต้องมีงานวิจยั
ใหม่ๆสนับสนุ น
เพิ่มเติม
28
มิติดา้ นอาหารและสุขภาพ
• การเกษตร
• แหล่งอาหาร
• การบริการ
• การผลิตอาหารที่มุ่งหมาย
เพื่อโภชนาการและสุขภาพ
• อาหารมนุษย์ อาหารสัตว์
และพืชพลังงาน
• การเปลี่ยนแปลง
สภาพภูมิอากาศ
• ปั จจัยภายนอก
อาหาร
คุณภาพ
ความปลอดภัยอาหาร
(มีผลต่อผูบ้ ริโภค และ
การค้า)
โภชนาการ
ความต้องการสารอาหาร
การบริโภคอาหาร
ภาวะโภชนาการที่ดี
ความรูด้ า้ นโภชนาการ
สุขภาพ
• ส่งเสริม
• ป้องกัน
• บาบัดรักษา
• ฟื้ นฟู
อาหารมีคุณภาพ
และปลอดภัย
สุขภาวะที่ดี
ความมั ่นคงด้านอาหาร
อาหารและโภชนศึกษา
วัฒนธรรมด้านอาหาร
คณะกรรมการอาหารแห่ งชาติ
29
แผนภูมิ
ห่วงโซ่อาหาร
อาหาร
ปลอดภัย
และมีคณ
ุ ค่าทาง
โภชนาการ
ผลลัพธ์
หลักเกณฑ์วิธีการที่ดี
ในการผลิต
หลักปฏิบตั ทิ ี่ดีดา้ นสุขลักษณะ
หลักปฏิบตั ทิ ี่ดี
การผลิตทางการเกษตรที่ดีและเหมาะสม
ความหลากหลายทาง โภชนาการสาหรับ
ชีวภาพของพืชและ
พืชและสัตว์
สัตว์ (พันธุกรรม)
การใช้ที่ดิน
คณะกรรมการอาหารแห่ งชาติ
การควบคุมและ
การป้องกันโรค
พืชและสัตว์
ประเด็นพื้นฐาน
การจัดการน้ า
30
กรอบยุทธศาสตร์การจัดการ
ด้านอาหารของประเทศไทย
วิสยั ทัศน์
ประเทศไทยผลิตอาหาร
ที่มีคุณภาพและปลอดภัย
มีความมั ่นคงด้านอาหารอย่างยั ่งยืน เพื่อชาวไทยและชาวโลก
วัตถุประสงค์
1. เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการฐานทรัพยากรการผลิตให้เกิดประโยชน์อย่างยั ่งยืน
2. เพื่อให้อาหารที่ผลิตในครัวเรือน ชุมชน และภาคอุตสาหกรรมมีเพียงพอ มีคณ
ุ ภาพ
ปลอดภัยและมีคณ
ุ ค่าโภชนาการ
3. เพื่อสร้างกระบวนการศึกษาค้นคว้า วิจยั และเผยแพร่องค์ความรูเ้ กี่ยวกับอาหารตลอดห่วงโซ่
4. เพื่อพัฒนาระบบบริหารจัดการด้านอาหารให้มีประสิทธิภาพ
(โครงสร้างกฎหมาย ระบบสารสนเทศ และอื่นๆ)
5. เพื่อเกิดความมั ่นคงด้านอาหารระดับครัวเรือน ชุมชน และประเทศ ทั้งภาวะปกติและวิกฤต
ยุทธศาสตร์ (รวม 4 ยุทธศาสตร์, 24 กลยุทธ์, 103 แนวทาง)
ยุทธศาสตร์ที่ 1 ด้านความมั ่นคงอาหาร
ยุทธศาสตร์ที่ 2 ด้านคุณภาพและความปลอดภัยอาหาร
ยุทธศาสตร์ที่ 3 ด้านอาหารศึกษา
ยุทธศาสตร์ที่ 4 ด้านการบริหารจัดการ
คณะกรรมการอาหารแห่ งชาติ
(10 กลยุทธ์ 41 แนวทาง)
( 6 กลยุทธ์ 33 แนวทาง)
( 5 กลยุทธ์ 17 แนวทาง)
( 3 กลยุทธ์ 12 แนวทาง)31
31
ยุทธศาสตร์ที่ 1 ด้านความมั ่นคงอาหาร
หลั กกำร : เพื่อให้ประเทศไทยมีความมั ่นคงด้านอาหารอย่างยั ่งยืน บริหารจัดการ
ทรัพยากรเพื่อการผลิตอาหารอย่างมีประสิทธิภาพโดยการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน
ฐานทรัพยากร/
ปั จจัยการผลิต
การผลิต
• ปฏิรูป • สร้างสมดุล
• อนุรกั ษ์ • เพิ่มประสิทธิภาพ
การบริหารจัดการ
การกระจาย
• พัฒนาประสิทธิภาพ
• ส่งเสริมการเข้าถึงอาหาร
การผลิต
ของชุมชนและครัวเรือน
• กาหนดเขตการผลิต
• พัฒนาระบบโลจิสติกส์
• สร้างแรงจูงใจให้เกษตรกร
สร้างระบบรองรับในภาวะวิกฤต
วิจยั พัฒนาเทคโนโลยี/ นวัตกรรม
สร้างความร่วมมือในการรักษาความมั ่นคงด้านอาหาร (รัฐ เอกชน และภาคประชาชน)
คณะกรรมการอาหารแห่ งชาติ
32
ยุทธศาสตร์ที่ 2 คุณภาพและความปลอดภัยด้านอาหาร
หลั กกำร : ดูแลคุณภาพและความปลอดภัยอาหารในห่วงโซ่อาหารเพื่อการคุม้ ครองผูบ้ ริโภค
และการค้าทั้งในและต่างประเทศ ซึ่งเป็ นพื้นฐานของการแก้ไขปั ญหาความยากจนของเกษตรกร
และผูท้ ี่เกี่ยวข้อง
ส่งเสริมการค้า/ การตลาด
สร้างความเป็ นธรรม และอานวยความสะดวกในการค้า
เสริมสร้างความเข้มแข็งในการควบคุมคุณภาพและความปลอดภัย
สร้างมาตรฐานความ
ปลอดภัยให้เป็ น
มาตรฐานเดียว
การผลิตขั้นต้น
• วิจยั /พัฒนาพันธุ/์ GAP
• ฟาร์มต้นแบบ
• รวมกลุ่มเกษตรกร
• Food educator
คณะกรรมการอาหารแห่ งชาติ
มาตรฐานอาหาร
- มีคุณภาพ
- มีความปลอดภัย
- มีคุณค่าทางโภชนาการ
การผลิตอาหาร
ในระดับชุมชน
• วิจยั และพัฒนาองค์ความรู/้ นวัตกรรม
• แปรรูป/ ถนอมอาหาร/ลดการสูญเสีย
• วัฒนธรรมท้องถิ่น
• ยกระดับ/แหล่ง สถานีรวบรวม
สร้างระบบประกันคุณภาพ
เช่น ระบบตรวจสอบ
รับรองและห้องปฏิบตั ิการ
ภาคอุตสาหกรรม
อาหาร
• เสริมสร้างความเข้มแข็ง
• ยกระดับการผลิต
• สร้างมูลค่าเพิ่ม
• เพิ่มขีดความสามารถสูส่ ากล
33
ที่ 3 ด้านอาหารศึกษายด้านอาหาร
ยุทธศาสตร์ยุทที่ ธศาสตร์
2 คุณภาพและความปลอดภั
หลั กกำร : เน้นกระบวนการส่งเสริมพัฒนา และวิจยั เพื่อให้เกิดความรู ้ ความตระหนัก ในการใช้
ทรัพยากรเพื่อผลิตและกระจายอาหารในห่วงโซ่อาหาร ตลอดจนพฤติกรรมที่พึงประสงค์ในการ
บริโภคอาหาร
วิจยั พัฒนา
ผลลัพธ์
 การวิจยั และพัฒนาองค์ความรู ้
 การรวบรวมองค์ความรู ้
หลักปฏิบตั ิที่ดี
 เผยแพร่องค์ความรูแ้ ก่ผเู ้ กี่ยวข้อง
 การนาความรูไ้ ปใช้ประโยชน์
พื้นฐาน
คณะกรรมการอาหารแห่ งชาติ
ถ่ายทอดความรู ้
34
ยุทธศาสตร์ที่ 4 ด้านการบริหารจัดการ
หลักการ : พัฒนาการจัดการด้านอาหารของประเทศตลอดทั้งห่วงโซ่อาหารอย่างเป็ นระบบให้มี
ความเหมาะสม สร้างความเข้มแข็ งของการดาเนิ นงานทุกภาคส่ว น ให้สามารถรองรับ การ
เปลี่ ย นแปลงของกระแสโลกาภิ วั ต น์ รองรั บ ภั ย คุ ก คามต่ า งๆ ได้อ ย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ
ประสิทธิผล และสอดคล้องกับกติกาการค้าสากล
• ปรับปรุง และ
เสริมความเข้มแข็ง
โครงสร้างองค์กร
ในห่วงโซ่
• ทบทวนภารกิจของ
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
• สร้างกลไกเชื่อมโยง
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
• สนับสนุนการกระจาย/
มอบหมายอานาจให้
ครอบคลุม
• พัฒนา/ปรับปรุง กฎหมาย
ที่เกี่ยวข้องด้านอาหาร
• ติดตาม/ประเมิน อุปสรรค
จากการใช้กฎหมาย
• ส่งเสริมการบังคับใช้
กฎหมาย
• พัฒนาและ
ปรับปรุงกฎหมาย
ในห่วงโซ่
คณะกรรมการอาหารแห่ งชาติ
• พัฒนา
ฐานข้อมูลและ
การจัดการ
• สนับสนุนการเชื่อมโยง/
ใช้ประโยชน์ขอ้ มูล
• ระบบการจัดการข้อมูล
สารสนเทศด้านอาหาร
• พัฒนาระบบเตือนภัยด้าน
อาหาร
35
ผลที่คาดว่ าจะได้ รับ
(1) มีฐานทรั พยากรในการผลิตอาหารที่สมบูรณ์ และยั่งยืน
(2) ชุมชนเกษตรกรมีการผลิตอาหารที่เข้ มแข็ง มีระบบเศรษฐกิจและการ
จัดการอาหารที่เป็ นธรรม สร้ างรายได้ ให้ แก่ เศรษฐกิจของประเทศและ
ท้ องถิ่น
(3) ผู้บริโภคเข้ าถึงอาหารที่มีคุณภาพ และปลอดภัย มีคุณค่ าทางโภชนาการ
(4) มีกลไกและระบบการจัดการที่มีประสิทธิภาพประสิทธิผล ตอบสนองได้
ทัง้ ภาวะปกติและภาวะวิกฤติ
(5) สร้ างความเชื่อมั่นให้ กับอาหารส่ งออก เพิ่มศักยภาพและขยายโอกาส
ด้ านการตลาดผ่ านทางวัฒนธรรมและคุณค่ าทางโภชนาการ
คณะกรรมการอาหารแห่ งชาติ
36
ผลกำรดำเนินงำน ของคณะกรรมการอาหารแห่งชาติ
การจัดทา
“กรอบยุทธศาสตร์การจัดการ
ด้านอาหารของประเทศไทย”
คณะรัฐมนตรีเห็นชอบ
เมื่อวันที่ 25 พ.ย. 2553
การประชุมคณะกรรมการ
อาหารแห่งชาติ
เมื่อวันที่ 30 พ.ย. 2555
คณะกรรมการอาหารแห่ งชาติ
มติคณะรัฐมนตรีมอบหมายงาน ดังนี้
• ให้สภาพัฒน์ฯนากรอบยุทธศาสตร์ผนวกเข้ากับแผนพัฒนา
เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11
• ให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องจัดทาแผนกิจกรรมให้สอดคล้องกับกรอบ
ยุทธศาสตร์และ รายงานผลการปฏิบตั ิงานในที่ประชุมต่อ
คณะกรรมการอาหารแห่งชาติ
แต่งตั้งคณะกรรมการเฉพาะเรื่องเพื่อขับเคลื่อนยุทธศาสตร์
ชุดที่ 1 คณะกรรมการด้านความมั ่นคงอาหารตลอดห่วงโซ่
ชุดที่ 2 คณะกรรมการด้านคุณภาพและความปลอดภัยอาหาร
ชุดที่ 3 คณะกรรมการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์เพื่อสร้างความเชื่อมโยง
ด้านอาหารและโภชนาการ สู่คุณภาพชีวิตที่ดี
ชุดที่ 4 คณะกรรมการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ดา้ นการบริหารจัดการ
37
หัวข้อการนาเสนอ
• น้ า และการใช้ประโยชน์
• น้ า และความมั ่นคงด้านอาหาร
• การเพิ่มประสิทธิภาพการใช้น้ า
และการอนุรกั ษ์
คณะกรรมการอาหารแห่ งชาติ
38
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั กับ
ความมั่นคงนา้
“..หลักสาคัญต้องมีน้ า น้ าบริโภคและน้ าใช้ น้ าเพื่อการ
เพาะปลูกเพราะชีวิตอยูท่ ี่นั ่น ถ้ามีน้ าคนอยูไ่ ด้ ถ้าไม่มีน้ า
คนอยูไ่ ม่ได้ ไม่มีไฟฟ้าคนอยูไ่ ด้ แต่ถา้ มีไฟฟ้า
ไม่มีน้ า คนอยูไ่ ม่ได้”
พระราชดารัส เมื่อวันที่ ๑๗ มีนาคม ๒๕๒๙
ณ พระตาหนักจิตรลดารโหฐาน สวนจิตรลดา
คณะกรรมการอาหารแห่ งชาติ
39
น้ า คือ ชีวิต
โครงการอันเนื่องมาจาก
พระราชดาริกว่า ๒,๐๐๐ โครงการ
กล่าวได้ว่ากว่าครึ่งเป็ นโครงการด้าน
ชลประทานและการพัฒนาแหล่งน้ า
พระองค์ คือ ปราชญ์แห่งน้ า
โดยแท้ ศาสตร์เกี่ยวกับน้ าทั้งปวง
ไม่ว่าจะเป็ นการกักเก็บน้ าให้เพียงพอ การอนุรกั ษ์น้ า การระบาย ทาน้ าเสีย
ให้เป็ นน้ าดี ฯลฯ ทรงเจนจบครบถ้วน
คณะกรรมการอาหารแห่ งชาติ
40
• พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ทรง
แก้ไขปัญหำน้ำท่วม เมื่อคราวเกิดอุทกภัย
กรุงเทพมหานครในปี ๒๕๓๘
• โครงกำรพัฒนำลุ่มน้ำป่ ำสั ก เป็ น
พระราชดาริในการแก้ปัญหาน้ าขาดแคลน
พระราชกรณียกิจ
ด้านการจัดการ
ทรัพยากรน้ า
คณะกรรมการอาหารแห่ งชาติ
• ทฤษฎี “น้ำดีไล่ น้ำเสีย” โดยใช้หลักการ
ตามธรรมชาติแห่งแรงโน้มถ่วงของโลก
เป็ นการใช้น้ าคุณภาพดีมาช่วยบรรเทา
น้ าเน่าเสีย
41
ฝนหลวง
กระบวนการจัดการ
ทรัพยากรน้า
ในบรรยากาศมาใช้ประโยชน์
เทคโนโลยีฝนหลวงเป็ นเทคนิค หรือ วิชาการที่เกี่ยวกับการดัดแปลง
สภาพอากาศ โดยเน้นการทาฝนเพื่อเพิ่มปริมาณฝนตก (Rain enhancement)
และ/หรือ เพื่อให้ฝนตกกระจายอย่างสมา่ เสมอ (Rain redistribution)
สาหรับป้องกันหรือบรรเทาภาวะแห้งแล้งที่เกิดจากฝนแล้ง หรือฝนทิ้งช่วงนั้น
คณะกรรมการอาหารแห่ งชาติ
42
กังหันน้าชัยพัฒนา
กังหันน้ าชัยพัฒนา หรือเครื่องกลเติม
อากาศที่ผิวน้ าหมุนช้าแบบทุ่นลอย
(Chaipattana Low Speed Surface Aerator)
มีคุณสมบัตใิ นการถ่ายเทออกซิเจนได้สูง
ถึง 1.2 กิโลกรัมของออกซิเจน/แรงม้า/
ชั ่วโมง
สามารถนาไปใช้ในกิจกรรมปรับปรุงคุณภาพน้ าได้อย่างอเนกประสงค์ ติดตั้ง
ง่าย เหมาะสาหรับใช้ในแหล่งน้ าธรรมชาติ ได้แก่ สระน้ า หนองน้ า คลอง บึง
ลาห้วย ฯลฯ
คณะกรรมการอาหารแห่ งชาติ
43
การเกษตรทฤษฎีใหม่
การแบ่งพื้นที่ทากิน
ตามหลักเกษตรทฤษฎีใหม่
พืชผักและผลไม้
บ้ าน /พืชสวนครั ว
และสัตว์
ปลูกข้ าว
(เลีย้ งปลาในนาข้ าว)
คณะกรรมการอาหารแห่ งชาติ
สระกักเก็บนา้
และเลีย้ งสัตว์ นา้
ที่มา :http://www.kasetporpeang.com
44
อนุรักษ์และเพิม่ ประสิทธิ ภาพ
การใช้น้า
รัฐบาล
องค์กร
การแก้ปัญหาเรื่องน้า
ต้องอาศัยความร่วมมือ
จากทุกฝ่ าย
“น้าเพียงพอ น้าสะอาด”
ท้องถิ่น/
ครอบครัว/
ชุมชน
อุตสาหกรรม
เกษตรกรรม
คณะกรรมการอาหารแห่ งชาติ
45
ขอขอบคุณ
คณะกรรมการอาหารแห่ งชาติ
46