แนวปฏิบัติหลักสูตรนานาชาติ 2552

Download Report

Transcript แนวปฏิบัติหลักสูตรนานาชาติ 2552

แนวปฏิบัติสำหรับกำรศึกษำนำนำชำติ
ภูษณิศำ นวลสกุล
นักวิชำกำรศึกษำ 8 ชำนำญกำร
งำนพัฒนำหลักสู ตรและกำรเรียนกำรสอน
มหำวิทยำลัยอุบลรำชธำนี
13/04/58
พระปฐมราโชวาท วันที่ ๒๕ มิถุนายน ๒๕๓๖
13/04/58
พระปฐมราโชวาท วันที่ ๒๕ มิถุนายน ๒๕๓๖
“…กำรสร้ ำงอนำคตทีแ่ จ่ มใสมั่นคงของบัณฑิตกับกำรสร้ ำงมหำวิทยำลัย มีลกั ษณะคล้ายคลึงกัน
คือ ต้องมีกำรวำงแผน และตระเตรียมทีถ่ ูกต้ องและรอบคอบ ต้ องมีกำรสำรวจและปรับปรุ งตนเองอยู่
ตลอดเวลำให้มีความรู้ ความสามารถ ความคิดอ่านที่กา้ วหน้าทัว่ ถึง ทันสมัย ทั้งต้องสังวรระวังที่จะใช้
วิชาและความคิดนั้นอย่างละเอียดสุ ขมุ ให้ได้ประโยชน์สูงสุ ด และตั้งเจตนาให้แน่วแน่ ที่จะอบรม
บารุ งร่ างกาย กาลังใจ กาลังความรู้ ไว้เป็ นรากฐานสาหรับการปฏิบตั ิงาน พยายามพิจารณาวินิจฉัย
ปั ญหาและกรณี ต่าง ๆ ให้เป็ นไปโดยถูกต้อง ด้วยหลักวิชา ความฉลาดรู ้คิด และความสุ จริ ตเป็ นกลาง
พยายามนาความรู้ความคิดของแต่ละคนที่มีอยูม่ าเชื่อมโยงประสานกันให้สอดคล้องและพร้อมเพรี ยง
แล้วนาออกใช้ดว้ ยเหตุผล ทั้งในการแก้ไขจุดที่บกพร่ อง และการส่ งเสริ มจุดที่ดีให้ยงิ่ ดีข้ ึน ถ้าทุกคน
เตรี ยมการเตรี ยมตัวไว้ให้เข้มแข็ง พร้อมที่จะนาสติปัญญา หลักวิชา ความร่ วมมือและความพากเพียร
อดทน มาใช้ได้ทุกเมื่อแล้ว ก็จะสามารถสร้างตัว สร้างบ้านเมือง และต่อสู ้ฟันฝ่ าอุปสรรคทุกประการ
ให้บรรลุความสาเร็จและความเจริ ญมัน่ คงในชีวติ ได้ตามที่มุ่งหมาย...”
13/04/58
ประเด็นกำรนำเสนอ
•
•
•
•
•
นโยบายกรอบพัฒนาอุดมศึกษาของประเทศ
มาตรฐานและกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง
คาจากัดความ
ขั้นตอนการปฏิบตั ิงาน
การประเมิน
13/04/58
แผนพัฒนำอุดมศึกษำระยะยำว พ.ศ.2550 -2558
• นโยบายการพัฒนาประเทศตามแผนพัฒนาการศึกษาฉบับที่ 10
(พ.ศ.2550-2558) และการเปลี่ยนแปลงที่สาคัญในหลายบริ บท
ทั้งที่เป็ นโอกาสและข้อจากัดต่อการพัฒนาประเทศ จึงต้องมีการ
เตรี ยมความพร้อมของคนและระบบให้สามารถปรับตัวพร้อมรับ
การเปลี่ยนแปลงในอนาคตและแสวงหาประโยชน์อย่างรู ้เท่าทัน
โลกาภิวตั น์และสร้างภูมิคุม้ กันให้กบั ทุกภาคส่ วนตามหลักปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพียง ความเปลี่ยนแปลงของประเทศที่สาคัญใน
5 บริ บท ได้แก่
13/04/58
(1)
กำรรวมตัวของกลุ่มเศรษฐกิจและกำร
เปลีย่ นแปลงในตลำดกำรเงินของโลก
• การเคลื่อนย้ายเงินทุน สิ นค้า และบริ การ รวมทั้งคนในระหว่าง
ประเทศมีความคล่องตัวมากขึ้น ประเทศไทยต้ องดาเนินนโยบาย
การค้ าในเชิงรุก ทั้งการหาตลาดเพิม่ และการผลักดันให้ผผู ้ ลิตใน
ประเทศปรับตัวให้สามารถแข่งขันได้บนฐานความรู ้ ฐาน
ทรัพยากรธรรมชาติและความเป็ นไทย
13/04/58
(2)กำรเปลีย่ นแปลงทำงเทคโนโลยีอย่ ำงก้ ำวกระโดด
• ความก้าวหน้าอย่างรวดเร็ วของเทคโนโลยีสารสนเทศ เทคโนโลยีชีวภาพ
เทคโนโลยีวสั ดุ และนาโนเทคโนโลยี สร้างความเปลี่ยนแปลงทั้งด้าน
เศรษฐกิจและสังคมทั้งในด้านโอกาสและภัยคุกคาม
• ต้ องมีการบริ หารจัดการองค์ ความร้ ู อย่ างเป็ นระบบ ทัง้ การพัฒนาหรือสร้ าง
องค์ ความร้ ู รวมถึงการประยกุ ต์ ใช้ เทคโนโลยีทเี่ หมาะสมมาผสมผสาน
ร่ วมกับจดุ แข็งในสังคมไทย อาทิ สร้างความเชื่อมโยงเทคโนโลยีกบั
วัฒนธรรมและ
ภูมิปัญญาท้องถิ่น เพื่อสร้างคุณค่าเพิ่มให้กบั สิ นค้าและบริ การ
13/04/58
(3) กำรเปลีย่ นแปลงด้ ำนสั งคม
• ประเทศที่พฒั นาแล้วหลายประเทศกาลังเข้าสู่สงั คมผูส้ ู งอายุ ซึ่งเป็ น
ทั้งโอกาสและภัยคุกคามต่อประเทศไทย โดยด้านหนึ่งประเทศไทย
จะมีโอกาสมากขึ้นในการขยายตลาดสิ นค้าเพื่อสุ ขภาพ และการ
ให้บริ การด้านอาหารสุ ขภาพ ภูมิปัญญาท้องถิ่นและแพทย์พ้นื บ้าน
สถานที่ท่องเที่ยวและการพักผ่อนระยะยาวของผูส้ ูงอายุ จึงนับเป็ น
โอกาสในการพัฒนาภูมิปัญญาท้ องถิน่ ของไทยและนามาสร้ าง
มูลค่ าเพิม่ ซึ่งจะเป็ นสินทรั พย์ ทางปัญญาทีส่ ร้ างมูลค่ าทาง
เศรษฐกิจได้ แต่ในอีกด้านก็จะเป็ นภัยคุกคามในเรื่ องการเคลื่อนย้าย
แรงงานที่มีฝีมือและทักษะไปสู่ประเทศที่มีผลตอบแทนสูงกว่า
13/04/58
(4) กำรเคลือ่ นย้ ำยของคนอย่ ำงเสรี
• ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีการขนส่ งและกระแสโลกาภิวตั น์
ส่ งผลให้มีการเดินทางทั้งเพื่อการท่องเที่ยวและการทาธุรกิจในที่
ต่างๆ ทัว่ โลกมากขึ้น
• ประเทศไทยจึงต้องคานึงถึงมาตรการทั้งด้านการส่ งเสริ มคนไป
ทางานต่างประเทศ การดึงดูดคนต่างชาติเข้ามาทางานในประเทศ
และมาตรการรองรับผลกระทบที่อาจเกิดขึ้น โดยเฉพาะปัญหาที่จะ
มีผลกระทบต่อความมัน่ คงของคนในเชิงสุ ขภาพ และความ
ปลอดภัยในชีวิตทรัพย์สิน
13/04/58
(5)
กำรเปลีย่ นแปลงด้ ำนทรัพยำกรธรรมชำติ
และสิ่ งแวดล้ อม
• จานวนประชากรในโลกที่มากขึ้น ได้สร้างแรงกดดันต่อ
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อมของโลก
• ความแปรปรวนของสภาพภูมิอากาศ และการเกิดภัยธรรมชาติการ
เกิดการระบาดและแพร่ เชื้อโรคที่มีรหัสพันธุกรรมใหม่ๆ
• ประเทศไทยจึงต้ องยกระดับมาตรฐานการจัดการสิ่งแวดล้ อมให้ ดี
ขึ้นกว่ าเดิม โดยปกป้ องฐานทรั พยากรเพือ่ รั กษาความสมดุลยัง่ ยืน
ของระบบนิเวศ
13/04/58
มำตรฐำนอุดมศึกษำ
• พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒(ฉบับที่๒) พ.ศ.
๒๕๔๕ มาตรา ๓๔ กาหนด
• มาตรฐานคุณภาพบัณฑิต คือ บัณฑิตระดับอุดมศึกษาเป็ นผูม้ ี
ความรู ้ มีคุณธรรมจริ ยธรรม มีความสามารถในการเรี ยนรู ้และ
พัฒนาตนเอง สามารถประยุกต์ใช้ความรู ้เพื่อการดารงชีวิตในสังคม
ได้อย่างมีความสุ ขทั้งทางร่ างกายและจิตใจมีความสานึกและความ
รับผิดชอบในฐานะพลเมืองและพลโลก
13/04/58
ตัวบ่ งชี้
• 1. บัณฑิตมีความรู ้ ความเชี่ยวชาญในศาสตร์ของตน สามารถเรี ยนรู ้
สร้างและประยุกต์ความรู ้เพื่อพัฒนาตนเอง สามารถปฏิบตั ิงานและ
สร้างงานเพื่อพัฒนาสังคมให้สามารถแข่งขันในระดับสากล
• 2. บัณฑิตมีจิตสานึก ดารงชีวิตและปฏิบตั ิหน้าที่ตามความ
รับผิดชอบโดยยึดหลักคุณธรรมจริ ยธรรม
• 3. บัณฑิตมีสุขภาพดีท้ งั ทางร่ างกายและจิตใจ มีการดูแลเอาใจใส่
รักษาสุ ขภาพของตนอย่างถูกต้องเหมาะสม
13/04/58
นโยบำยในกำรส่ งเสริมกำรพัฒนำหลักสู ตร
อุดมศึกษำ
• ส่ งเสริ มสนับสนุนให้สถาบันอุดมศึกษาทั้งของรัฐและเอกชนมีการ
ปรับปรุ งและพัฒนาหลักสูตรให้มีมาตรฐานที่เป็ นสากล
• การพัฒนาหลักสูตรให้กระทาทั้งในระดับปริ ญญาตรี และระดับ
บัณฑิตศึกษาโดยคานึงถึงทิศทางความก้าวหน้าทางวิชาการ และ
ความต้องการของประเทศ ด้วยการนาทรัพยากรและองค์ความรู ้
ต่างๆ รวมทั้งผูเ้ ชี่ยวชาญจากฝ่ ายต่างๆ มาร่ วมคิดและจัดทา
หลักสูตรอย่างกว้างขวาง
13/04/58
นโยบำยในกำรส่ งเสริมกำรพัฒนำหลักสู ตร
อุดมศึกษำ
• ให้สถาบันอุดมศึกษาดาเนินการพัฒนาหลักสู ตรได้โดยอิสระตามปรัชญา
และจุดมุ่งหมายของแต่ละสถาบัน อาจจัดเป็ นหลักสู ตรของตนเองเป็ นการ
เฉพาะหรื อจัดทาเป็ นโครงการความร่ วมมือระหว่างสถาบันทั้งในประเทศ
และต่างประเทศก็ได้
• ส่ งเสริ มให้สถาบัน องค์กร หน่วยงานทั้งภาครัฐและอกชน รวมทั้ง
สมาคมวิชาการและวิชาชีพ ทั้งภายในประเทศและต่างประเทศเข้ามามีส่วน
ร่ วมในการพัฒนาหลักสู ตรอุดมศึกษาอย่างกว้างขวาง รวมทั้งการรวบรวม
และระดมทรัพยากรที่สาคัญและจาเป็ นต่อการพัฒนา เพื่อให้การพัฒนา
หลักสู ตรอุดมศึกษาเป็ นไปตามเป้ าประสงค์ที่มุ่งหวังไว้
13/04/58
นโยบำยให้ สถำบันอุดมศึกษำต่ ำงประเทศ
มำจัดกำรศึกษำในประเทศไทย
• สถาบันอุดมศึกษาต่างประเทศที่จะเข้ามาจัดการศึกษาในประเทศ
ไทยควรเป็ นสถาบันที่มีคุณภาพและได้รับการรับรองมาตรฐานจาก
ประเทศที่สถาบันนั้นตั้งอยูแ่ ล้ว
• ความร่ วมมือระหว่างสถาบันอุดมศึกษาไทยกับสถาบันอุดมศึกษา
ต่างประเทศนั้น ควรมีจุดมุ่งหมายเพื่อพัฒนาศักยภาพ ความเป็ น
เลิศ และความเข้มแข็งด้านวิชาการของสถาบันอุดมศึกษาไทยให้มี
มาตรฐานสากลและนาไปสู่ความเป็ นศูนย์กลางการเรี ยนรู ้ในระดับ
ภูมิภาคในอนาคต
13/04/58
นโยบำยให้ สถำบันอุดมศึกษำต่ ำงประเทศ
มำจัดกำรศึกษำในประเทศไทย
• ส่ งเสริ มให้มีการแข่งขันในด้านคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา
อย่างเสรี
• ให้มีการเผยแพร่ และประชาสัมพันธ์ เรื่ อง การจัดการศึกษา
ระดับอุดมศึกษาของประเทศไทยอย่างกว้างขวางและแพร่ หลายทั้ง
ในประเทศและต่างประเทศ
13/04/58
มำตรกำรกำรส่ งเสริมสนับสนุนให้
สถำบันอุดมศึกษำต่ ำงประเทศมำจัดกำรศึกษำใน
ประเทศไทย
• ถูกต้องตามกฎหมายของประเทศนั้น และได้รับการรับรอง วิทย
ฐานะหรื อรับรองมาตรฐาน โดยองค์กรของรัฐหรื อองค์กร
• การทาความตกลงร่ วมมือทางวิชาการกับสถาบันอุดมศึกษาไทย
• การจัดการเรี ยนการสอนร่ วมกัน
13/04/58
แนวทำงปฏิบัตคิ วำมตกลงร่ วมมือทำงวิชำกำร
(สำระและขอบเขต)
• สาขาวิชาที่จาเป็ นต้องมีความตกลงร่ วมมือ เป็ นสาขาที่ให้
ประโยชน์แก่นกั ศึกษา อาจารย์ และวงวิชาการวิชาชีพทั้งใน
ระดับชาติและระดับนานาชาติอย่างแท้จริ ง
• สาขาวิชาที่จาเป็ นต้องมีความตกลงร่ วมมือนั้น เป็ นแขนงวิชาที่
สถาบันอุดมศึกษาของไทย ยังอยูใ่ นขั้นของการพัฒนาซึ่งต้องอาศัย
การสนับสนุนทางวิชาการจากสถาบันวิชาการต่างประเทศ
13/04/58
แนวทำงปฏิบัตคิ วำมตกลงร่ วมมือทำงวิชำกำร
(สำระและขอบเขต)
• พันธะความร่ วมมือทางวิชาการมีข้ ึนกับสถาบันวิชาการใน
ต่างประเทศ ที่มีศกั ยภาพสูงเป็ นที่ยอมรับในสาขาวิชานั้น ในกรณี
ที่เป็ นการจัดหลักสูตรร่ วมกัน สถาบันอุดมศึกษาในต่างประเทศที่
เป็ นคู่พนั ธะความร่ วมมือ ต้องได้รับการรับรอง วิทยฐานะสาขาวิชา
จากหน่วยงานที่รับผิดชอบในประเทศนั้นด้วย
13/04/58
แนวทำงปฏิบัตคิ วำมตกลงร่ วมมือทำงวิชำกำร
(สำระและขอบเขต)
• ในกรณี ที่ความตกลงร่ วมมือนั้น เป็ นการจัดการศึกษาร่ วมกัน
การดาเนินงานทั้งในแง่การบริ หาร งบประมาณ การประสาท
ปริ ญญา ต้องเป็ นไปในลักษณะที่ไม่ขดั ต่อพระราชบัญญัติ
มหาวิทยาลัย/สถาบันของรัฐ และพระราชบัญญัติ
สถาบันอุดมศึกษาเอกชน ทั้งนี้ สถาบันอุดมศึกษาจะต้องเสนอ
หลักสูตรให้ทบวงมหาวิทยาลัยพิจารณาให้ความเห็นชอบก่อน
เปิ ดสอนด้วย
13/04/58
แนวทำงปฏิบัตคิ วำมตกลงร่ วมมือทำงวิชำกำร
(สำระและขอบเขต)
• ในกรณี ที่ความตกลงร่ วมมือนั้นมีข้ ึนกับประเทศในกลุ่มสังคมนิยม/
คอมมิวนิสต์ ให้สถาบันดาเนินการให้เป็ นไปตามระเบียบของทาง
ราชการ ว่าด้วยการติดต่อกับประเทศสังคมนิยม/คอมมิวนิสต์ซ่ ึ ง
ครอบคลุมถึงการให้และรับความช่วยเหลือด้านทุกการศึกษาและการ
ฝึ กอบรม การสัมมนา ประชุมดูงาน การรับความช่วยเหลือด้าน
ผูเ้ ชี่ยวชาญ การเข้ามาศึกษาของบุคคลจากประเทศสังคมนิยม/
คอมมิวนิสต์ และความร่ วมมือในลักษณะอื่น ๆ
13/04/58
ควำมตกลงร่ วมมือทำงวิชำกำรระหว่ ำง
สถำบันอุดมศึกษำไทยกับสถำบันวิชำกำรใน
ต่ ำงประเทศ
• หมายรวมถึงความร่ วมมือในด้านการเรี ยนการสอน การวิจยั การบริ การ
วิชาการและกิจกรรมทางวัฒนธรรม สาหรับในด้านการเรี ยนการสอนนั้น
มีขอบเขตครบคลุมถึงการแลกเปลี่ยนอาจารย์ นักศึกษา อุปกรณ์การสอน
ตลอดจนการจัดหลักสู ตรอันเป็ นข้อตกลงร่ วมระหว่างสถาบันด้วย
• ควรเป็ นไปเพื่อสนองเป้ าหมายที่สาคัญ เช่น การบรรลุความเป็ นเลิศทาง
วิชาการ การพัฒนาประสิ ทธิของระบบการเรี ยนการสอน และการขยาย
โอกาสในการให้บริ การทางวิชาการไปสู่ ประชาคมโลก
• ส่ งเสริ มให้ทุกสถาบันที่อยูใ่ นพันธะความร่ วมมือได้รับประโยชน์ในการ
ดาเนินภารกิจของตนได้ดีข้ ึน
13/04/58
กำรเปิ ดสอนหลักสู ตรสำขำวิชำต่ ำง ๆ ทีจ่ ะสอน
เป็ นภำษำต่ ำงประเทศ
1. ให้สถาบันอุดมศึกษาทุกแห่งใช้ภาษาไทยเป็ นสื่ อหลักในการเรี ยน
การสอน
2. การสอนด้วยภาษาต่างประเทศ เป็ นบางกระบวนวิชาตาม
หลักสูตร ให้ทาได้ตามความจาเป็ นโดยไม่ถือว่าขัดกับนโยบายนี้
3. การสอนด้วยภาษาต่างประเทศ ทั้งหลักสูตรสามารถกระทาได้โดย
คานึงถึงหลักการและความเหมาะสม ดังต่อไปนี้
13/04/58
หลักกำรและควำมเหมำะสมในกำรสอนเป็ น
ภำษำต่ ำงประเทศ
• สถาบันอุดมศึกษาที่มีความพร้อมและมีผลงานทางวิชาการเป็ นที่
ยอมรับโดยทัว่ ไป อาจขอเปิ ดสอนหลักสูตรระดับนานาชาติ หรื อ
ระดับภูมิภาค ในสาขาวิชาที่เป็ นที่ยอมรับโดยรับนักศึกษาจาก
ต่างประเทศเป็ นหลัก ทั้งนี้โดยสอดคล้องกับนโยบายของรัฐ
• สาขาวิชานั้นเป็ นสาขาวิชาที่มีความจาเป็ นที่จะต้องผลิตบัณฑิตที่มี
ความรู ้ทางภาษาอย่างดีเลิศ อาทิ นักภาษา หรื อมัคคุเทศก์ เป็ นต้น
• สาขาวิชานั้นมีความจาเป็ นต้องเปิ ดสอนเป็ นภาษาต่างประเทศ เพื่อ
เป็ นการตอบสนองความต้องการของตลาดแรงงานตามนโยบายของ
รัฐเป็ นเฉพาะกรณี
13/04/58
หลักกำรและควำมเหมำะสมในกำรสอนเป็ น
ภำษำต่ ำงประเทศ
• การเปิ ดสอนตามข้อ 3.1 หรื อ 3.2 หรื อ 3.3 ควรกระทาใน
หลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษามากว่าระดับปริ ญญาตรี ยกเว้น
สาขาวิชาที่มีความต้องการและมีความจาเป็ น หรื อเป็ นส่ วนหนึ่ง
ของข้อตกลงกับองค์การระหว่างประเทศที่ประเทศไทยรับรองจึง
อาจจะเปิ ดสอนระดับปริ ญญาตรี ได้
• สถาบันอุดมศึกษาที่เปิ ดสอนด้วยภาษาต่างประเทศ จะต้องมี
คณาจารย์ประจาที่มีความสามารถจะสอนสาขาวิชานั้น ๆ เป็ น
ภาษาต่างประเทศได้เป็ นอย่างดี ทั้งด้านเนื้อหาสาระและภาษาที่ใช้
สอน
13/04/58
แนวทำงกำรจัดกำรศึกษำหลักสู ตรนำนำชำติและ
หลักสู ตรภำษำต่ ำงประเทศ
• หลักสูตรภาษาต่างประเทศ หมายถึง หลักสูตรภาษาต่างประเทศทุก
ภาษาที่ใช้เป็ นสื่ อการเรี ยนการสอนเป็ นภาษาต่างประเทศ
หลักสูตรนานาชาติ หมายถึง หลักสูตรที่มีเนื้อหาสาระที่มีมาตรฐาน
และเปิ ดโอกาสให้ใช้ ภาษาเป็ นสื่ อในการเรี ยนการสอนได้ทุกภาษา
รวมทั้งเปิ ดโอกาสให้นกั ศึกษาต่างชาติ เข้าศึกษาได้
13/04/58
อะไรคือควำมเป็ นนำนำชำติ
คานิยามที่ใช้ทวั่ ไปและเป็ นที่ยอมรับทัว่ โลก
“กระบวนการจัดการเรี ยนการสอนที่ผสมผสานความเป็ นนานาชาติ
ความหลากหลายทางวัฒนธรรม และมิติความเป็ นสากลที่บรรจุไว้
ในวัตถุประสงค์ ภารกิจ หรื อกระบวนการเรี ยนการสอนของการ
จัดการเรี ยนการสอนในระดับหลังมัธยมศึกษาตอนปลาย”
13/04/58
13/04/58
EUROPEA
N UNION
Russia
UNITED
KINGDO
M
CHIN
A
JAPA
N
THAILAND
HONG
KONG
Laos
USA
VIETNA
M
Combodia
INDIA
AFRICA
INDONESIA
MALAYSIA
Singapore
13/04/58
LATIN
AMERIC
A
ทาไมจึงควรพัฒนาหลักสูตรนานาชาติ
• Globalization
– ผูล้ งทุนจากต่างประเทศ
– ประเทศไทยไปลงทุนในต่างประเทศ
• สภาพแวดล้อมที่ตอ้ งการบุคลากรที่มี
– ทัศนคติในการทางาน สังคม …
– international experience
13/04/58
ไพฑูรย์ สิ นลารัตน์
อุดมศึกษาปริ ทศั น์ ปี ที่ 5 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม
2534
การพัฒนาหลักสูตร
International Degree Program
• การพัฒนาหลักสูตรนานาชาติระดับปริ ญญาตรี นาไปสู่การแลกเปลี่ยนนิสิตกับ
มหาวิทยาลัยต่างประเทศในระดับปริ ญญาตรี ให้มากขึ้น เพิม่ สัดส่ วนนิสิตต่างชาติต่อนิสิต
ไทยให้มากขึ้นทาให้มหาวิทยาลัยมีบรรยากาศของการศึกษานานาชาติ
• การพัฒนาหลักสูตรนานาชาติระดับปริ ญญาโทและเอก จะนาไปสู่ การแลกเปลี่ยนนิสิต
และบุคลากรให้มากขึ้น ทั้งในด้านการแลกเปลี่ยนเพื่อทางานวิจยั และการเรี ยนการสอน
coursework ต่างๆ เป็ นการพัฒนาความเป็ นเลิศทางวิชาการ
• ทาไมจึงควรมี joint-degree และ double degree
-สร้างศิษย์เก่าให้กบั ภาคธุรกิจไทยที่จะขยายกิจการไปต่างประเทศ
-เตรี ยมข้อมูลและองค์ความรู้ของประเทศเป้ าหมาย จากงานวิจยั ในระดับปริ ญญาโทและ
เอกที่นิสิตต่างชาติเข้ามาทา
-สร้างเครื อข่ายความสัมพันธ์และความรู ้
ไพฑูรย์ สิ นลารัตน์
13/04/58
อุดมศึกษาปริ ทศั น์ ปี ที่ 5 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม
2534
ลักษณะนำนำชำติศึกษำ
(International Studies Program)
• มีเนื้อหาสาระ กิจกรรมครอบคลุมการศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับเศรษฐกิจ
วัฒนธรรม การเมือง ของประเทศต่าง ๆ ซึ่งอาจศึกษาในลักษณะภูมิภาค
ศึกษา (Area Studies) เช่น ไทยศึกษา อเมริ กนั ศึกษา เอเชียศึกษา เป็ นต้น
เพื่อสร้างความสัมพันธ์ และความเข้าใจอันดี (Common Understanding)
การพึ่งพาซึ่งกันและกัน (Inter-dependent World) การขยายโลกทัศน์ให้
กว้าง (Global Perspective) สู่การเป็ นประชาคมโลกที่ตอ้ งมีการค้าขาย
แข่งขันทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศ การถ่ายทอดความรู ้ทางเทคโนโลยี
(Technology Transfer)
13/04/58
หลักสู ตรนำนำชำติ
(International Programs)
1) เปิ ดโอกาสให้ท้ งั ชาวไทยและชาวต่างประเทศเข้าศึกษา
• การรับนักศึกษาต่างชาติ (Foreign students)
• นักเรี ยนนอก (Study aboard)
• การแลกเปลี่ยนนักศึกษา (Student exchange)
2) จัดเนื้อหาของหลักสูตรให้มีความเป็ นนานาชาติ
3) ผูส้ อนต้องมีประสบการณ์ในเนื้อหาวิชาที่สอนและมีความรู ้ภาษาที่ใช้สอนอยูใ่ น
เกณฑ์ดีมาก มีการพัฒนาคณาจารย์ (Faculty development)
4) อุปกรณ์ประกอบการเรี ยนการสอน ตาราเรี ยน สื่ อเทคโนโลยีสารสนเทศต่าง ๆ
และ สิ่ งสนับสนุนอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง ต้องมีความทันสมัยและเอื้อให้นกั ศึกษา
สามารถใช้ประโยชน์ได้มากที่สุด
13/04/58
หลักสู ตรนำนำชำติ
(International Programs)
5) มีกิจกรรมของสถาบัน (Institutional Activities)เช่น
กิจกรรมด้านการเรี ยนการสอนเพื่อส่ งเสริ มความเป็ นนานาชาติ
กิจกรรมแลกเปลี่ยนแนวทางการศึกษากับสถาบันต่างประเทศ
กิจกรรมด้านศิลปวัฒนธรรมระหว่างชาติเป็ นต้น
6) มีความร่ วมมือทางวิชาการกับสถาบันต่างประเทศ
(Institutional relationship)
7) จัดสถาบันให้มีความเป็ นนานาชาติ
• การมีแหล่งข้อมูลในเชิงนานาชาติ
• การมีศูนย์การศึกษานานาชาติ
• การมีทรัพยากรที่สนับสนุนกิจกรรมนานาชาติ
• การมีอาจารย์ในเชิงนานาชาติ
• การมีผบู้ ริ หารที่มีทศั นะในเชิงนานาชาติ
13/04/58
รูปแบบกำรจัดกำรศึกษำหลักสู ตรนำนำชำติ
สามารถทาได้หลายรู ปแบบ เช่น
• การขอความช่วยเหลือจากต่างประเทศในด้านการพัฒนาหลักสูตร
• การส่ งผูเ้ ชี่ยวชาญมาทาการสอน
• การแลกเปลี่ยนอาจารย์และนักศึกษา
• การเทียบโอนหน่วยกิต
• การให้ปริ ญญาระหว่างสถาบัน (Joint Degree Program)
• และการร่ วมมือกับต่างประเทศในรู ปแบบอื่น ๆ (Joint Venture)
13/04/58
ปรัชญำมหำวิทยำลัยอุบลรำชธำนี
สร้างสติและปั ญญาแก่สงั คมบนพื้นฐานความพอเพียง
13/04/58
วิสัยทัศน์
มหาวิทยาลัยแห่งคุณภาพ
ที่เน้นนวัตกรรมการจัดการเรี ยนรู ้
เพื่อเพิ่มขีดความสามารถของบัณฑิตและประชาชน
บนพื้นฐานภูมิปัญญาอีสานใต้และอนุภูมิภาคลุ่มน้ าโขง
13/04/58
พันธกิจ
•
•
•
•
ผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพมาตรฐานในระดับสากล มีคุณธรรมนาความรู้ คิด
เป็ น ทาเป็ น และดารงชีวติ บนพื้นฐานความพอเพียง
วิจยั และสร้างนวัตกรรมเพื่อให้เกิดองค์ความรู ้ใหม่และผลงานสร้างสรรค์
ที่สามารถนาไปใช้ได้อย่างมีความสุ ขและพอเพียง
บริ การวิชาการแก่สังคมเพื่อชีวิตที่ดีของประชาชน สร้างมูลค่าเพิ่มใน
กิจกรรมของชุมชนและอุตสาหกรรมท้องถิ่นอีสานใต้ และอนุภมู ภิ าคลุ่มน้ า
โขง เพื่อให้เกิดทักษะเพียงพอต่อการพัฒนาตนเองและประเทศชาติ
ทานุบารุ ง ฟื้ นฟู ศิลปวัฒนธรรมอันดีงามของท้องถิ่นและภูมิภาคอื่นเพื่อ
การเรี ยนรู้ รับรู้ และรักษาไว้ภายใต้บริ บทโลกาภิวตั น์
13/04/58
ยุทธศำสตร์ ของมหำวิทยำลัย
• ยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาอาจารย์และบุคลากรเพื่อเตรี ยมความพร้อมต่อการ
พัฒนามหาวิทยาลัยในยุคที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ ว
• ยุทธศาสตร์ที่ 2 พัฒนานักศึกษาให้เกิดทักษะ มีเครื่ องมือ มีความรู้ในทฤษฎี
พื้นฐาน และสามารถนาความรู ้ไปคิดแก้ปัญหาในพื้นที่จริ งได้
• ยุทธศาสตร์ที่ 3 ส่ งเสริ มการวิจยั และสร้างนวัตกรรม เพื่อให้เกิดองค์ความรู้
ใหม่และผลงานสร้างสรรค์ที่สามารถนาไปใช้เพิ่มขีดความสามารถของ
ชุมชนในท้องถิ่นและประเทศให้อยูไ่ ด้อย่างมีความสุ ข
13/04/58
ยุทธศำสตร์ ของมหำวิทยำลัย
• ยุทธศาสตร์ที่ 4 เสริ มสร้างความเป็ นเลิศด้านฐานข้อมูล องค์ความรู้ และผูร้ ู้ใน
อีสานใต้และอนุภมู ิภาคลุ่มน้ าโขงเพื่อการบริ การวิชาการแก่ชุมชน และสร้าง
มูลค่าให้กบั มหาวิทยาลัยผ่านการเรี ยนรู ้ร่วมกับชุมชน
• ยุทธศาสตร์ที่ 5 ส่ งเสริ ม ทานุบารุ งและฟื้ นฟูรูปแบบ และความคิดทาง
ศิลปวัฒนธรรมอันดีงามของท้องถิ่นและชาติ โดยการซึ มซับเข้าสู่ วิถีการ
ดารงชีวิตเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงภายใต้ความหลากหลายทางวัฒนธรรม
• ยุทธศาสตร์ที่ 6 บริ หารด้วยหลักธรรมาภิบาลเพื่อพัฒนาองค์กรและบุคลากร
ให้มีคุณภาพและมีความสุ ข
13/04/58
The Curriculum Competency
Ubon Ratchathani University 2008
Base on National Qualification Framework (NQF)
• 1. Ethic การพัฒนาคุณธรรมจริ ยธรรม
• 2. Knowledge ความรู้
• 3. Skill of Thinking / intelligence
ทักษะทางปัญญา
• 4. Skill of Relationship
ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
• 5. Skill of Analysis and communication
ทักษะการคิดวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่ อสาร และสารสนเทศ
•
13/04/58
สภำพกำรณ์ และประเด็นปัญหำกำรจัดกำรศึกษำ
Globalization
ความเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ
สังคม
การแข่งขันก้านการ
ผู้เรียน
บริ การการศึกษา
นักศึกษาไม่เห็นความ
ผูใ้ ช้บณ
ั ฑิตยังไม่จาเป็
เห็นนความ
จาเป็ นาวหน้าICTของ
ความก้
โลก
ผู้สอน
จัดกำรศึกษำสู่ สำกล
จุดขาย/ธรรมชาติ/
เอกลักษณ์ไทย
ความเป็ นมิตร/ความร่ วมมือ
Internet/MIS
ในมหาวิทยาลัย
13/04/58
บริกำรกำรศึกษำ
เงินทุน
ระบบบริ หาร
บริ การของมหาวิทยาลัย
หลักสู ตร
ความรู ้ใหม่
การตลาด
กำรแข่ งขัน คุณภำพ
รำยได้ จำนวนรับ
บุคลำกร
กลยุทธ์
พัฒนาอาจารย์
ก้าวสู่ สากล
ดึงดูดและจูงใจ
ให้อาจารย์ไปต่างประเทศ
จรรยาบรรณวิชาชีพ
สร้างอัตลักษณ์/
จุดเด่น
กำรนำองค์ กร
นโยบาย/เป้ าหมายองค์กร
ความมุ่งมัน่ ขององค์กร
การเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรมการทางาน
แผนยุทธศาสตร์
แผนและงบประมำณ
การแสวงหารายได้
การบริ หารจัดการ
ความคุม้ ทุน
ลูกค้ ำ/ผู้ใช้ บัณฑิต/steakeholder
ให้ชุมชนและอุตสาหกรรมเข้ามามี
ส่ วนร่ วมในการจัดการเรี ยนการสอน
การพัฒนาหลักสู ตร แหล่งเงินทุน
ทรัพยากร
ความพึงพอใจของนักศึกษา บัณฑิต และผูใ้ ช้บณั ฑิต
กำรวัด วิเครำะห์ KM
การบริ หาร
คุณภาพ
การประกันคุณภาพ
13/04/58
ผลผลิต
คุณภาพของ
บัณฑิต
ความเป็ นสากล
การได้งานทา
กระบวนงำน
หลักสู ตรปรับปรุ งให้เป็ นสากล/ทัน
เหตุการณ์
การบูรณาการหลายศาสตร์และสาขาวิชา
E-learning/ ICT
การเทียบโอนผลการเรี ยนระหว่างสถาบัน/ประเทศ
การเรี ยนการสอนเน้นทักษะประสบการณ์
การสร้างผลงานทางวิชาการ/องค์ความรู้/
การต่อยอดและพัฒนาความรู ้สู่ระดับสากล/
อุตสาหกรรม
Program of study (International
program) : U.BU.
• Faculty of Management Science
• DegreeDisciplines
Bachelor –
Graduate Diploma
(Tourism Management) Since 2549 ไม่มีนกั ศึกษา
Master
Master of Business
(Tourism Management) Since 2549
มีน.ศ. รวม 13 คน (ไทย 8 คน ต่างชาติ 5 คน)
Ph.D. 13/04/58
จะทำอย่ ำงไร? เมื่อต้ องกำรเปิ ดหลักสู ตร
นำนำชำติ
• 1. เสนอแผนกำรเปิ ดหลักสู ตร/สำขำวิชำทีจ่ ะเปิ ดต่ อกองแผนฯ เพือ่ ให้ สภำ
มหำวิทยำลัยอนุมตั /ิ ปรับแผนฯก่ อน ไม่ น้อยกว่ ำ 1 ปี กำรศึกษำ
• 2. จัดทำบทสรุ ปแสดงถึงเหตุผล ควำมสำคัญ ทีต่ ้ องเปิ ดหลักสู ตรนี้ โดยแสดง
โอกำสทำงกำรศึกษำ ควำมต้ องกำรของตลำดแรงงำน ผลกำรศึกษำสำรวจ
ควำมพร้ อมของทรัพยำกรทุกด้ ำน ทั้งผู้สอน อำคำรสถำนที่ ห้ องสมุด
งบประมำณ แสดงจัดเตรียมควำมพร้ อมด้ ำนกำรเรียนกำรสอนให้
สอดคล้องกับลักษณะนำนำชำติ
• 3. กำรจัดทำหลักสู ตร เสนอหลักสู ตรเป็ นภำษำไทย ตำมหัวข้ อและเกณฑ์
• มำตรฐำนหลักสู ตร ที่ www. ubu.ac.th~eddev
13/04/58
จะทำอย่ ำงไร? เมื่อต้ องกำรเปิ ดหลักสู ตรนำนำชำติ
4. เมื่อสภามหาวิทยาลัยอนุมตั ิหลักสูตร หากมีสภา/หน่วยงาน/องค์กร
วิชาชีพควบคุม ต้องส่ งหลักสูตรให้วิชาชีพพิจารณาก่อน
5. เสนอสานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษารับทราบแล้ว
สกอ. ส่ งหลักสูตรให้ กพ. รับรองคุณวุฒิปริ ญญา
6. ดาเนินการประชาสัมพันธ์ การรับนักศึกษา
* หลักสูตรต้องได้รับการอนุมตั ิจากสภามหาวิทยาลัยก่อนจึงจะ
ประชาสัมพันธ์หรื อรับนักศึกษาได้
13/04/58
จะทำอย่ ำงไร? เมื่อต้ องกำรเปิ ดหลักสู ตร
นำนำชำติ
• 7. หากเป็ นหลักสูตรที่มีภำษำไทยแล้วปรับปรุงเป็ นหลักสู ตร
นำนำชำติ ถือว่ายกเลิกหลักสูตรภาษาไทยและหลักสูตรนานาชาติ
เป็ นหลักสูตรปรับปรุ ง
• 8. มีหลักสู ตรภำษำไทยและขอเปิ ดหลักสู ตรนำนำชำติควบคู่กนั ไป
ถือว่าหลักสูตรนานาชาติเป็ นหลักสูตรใหม่แต่ไม่ตอ้ งเข้าแผนแต่
ต้องเสนอสภามหาวิทยาลัย
• 9. เปิ ดหลักสู ตรนำนำชำติอยู่แล้วขอเปิ ดหลักสู ตรภำษำไทยอีก ถือ
ว่าหลักสูตรภาษาไทยเป็ นหลักสูตรใหม่แต่ไม่ตอ้ งปรับแผน แต่ตอ้ ง
เสนอสภามหาวิทยาลัย
13/04/58
จะทำหลักสู ตรควำมร่ วมมือกับต่ ำงประเทศ?
• 1. หลักสูตรที่เป็ นความร่ วมมือกับต่างประเทศโดยใช้หลักสูตรของ
มหาวิทยาลัยต่างประเทศ ต้องเสนอสภามหาวิทยาลัยและ สกอ.
อนุมตั ิและรับทราบก่อน
• 2. หลักสูตรที่เป็ นความร่ วมมือกับต่างประเทศและรับปริ ญญาสอง
สถาบัน ต้องจัดทาหลักสูตรให้เป็ นไปตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร
และเสนอตามขั้นตอนการขอเปิ ดหลักสูตรใหม่
• 3. ต้องใช้ชื่อปริ ญญาให้สอดคล้องกัน
13/04/58
ทาหรื อไม่ทา หลักสูตรนานาชาติ
• หลักสูตรนานาชาติ เป็ นทางเลือกหนึ่ง พิจารณาถึง ข้อดี ข้อด้อยต่าง ๆ
• ผลตอบแทนการลงทุน ( คุม้ ทุน ลงทุนสูง ผลที่ได้ )
– ทั้งที่วดั ได้ดว้ ยตัวเลข และที่วดั ไม่ได้ง่ายนัก
• หากไม่มีความจาเป็ นในสาขาที่จะต้องทาเป็ นหลักสูตรนานาชาติ
ก็ไม่สมควรทา
13/04/58
กำรประเมินมำตรฐำนหลักสู ตรนำนำชำติ
มาตรฐานหลักสูตรนานาชาติ
1.เนื้อหาหลักสู ตรมีความเป็ นนานาชาติ ด้านเศรษฐกิจ วัฒนธรรม การเมืองของ ประเทศ
ต่าง ๆ ซึ่งอาจศึกษาในลักษณะภูมิภาคศึกษา (Area Studies) เช่น ไทยศึกษา อเมริ กนั
ศึกษา เอเชียศึกษา เป็ นต้น เพื่อสร้างความสัมพันธ์ และความเข้าใจอันดี (Common
Understanding)การพึ่งพาซึ่งกันและกัน (Inter-dependent World)
การขยายโลกทัศน์ให้กว้าง (Global Perspective) สู่ การเป็ นประชาคมโลกที่ตอ้ งมีการ
ค้าขายแข่งขัน ทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศ การถ่ายทอดความรู ้ทางเทคโนโลยี
(Technology Transfer)
2.ใช้ภาษาเป็ นสื่ อในการเรี ยนการสอนได้ทุกภาษา
3. มีนกั ศึกษาทั้งชาวไทยและชาวต่างประเทศเข้าศึกษา
4. อาจารย์ผสู้ อนมีประสบการณ์ในเนื้อหาวิชาที่สอน และมีความรู้ภาษาที่ใช้สอนใน
เกณฑ์ดีมาก 13/04/58
-1
ไม่แน่ใจ
0
ไม่
สอดคล้อง
+1
สอดคล้อง
กำรประเมินมำตรฐำนหลักสู ตรนำนำชำติ
มาตรฐานหลักสูตรนานาชาติ
5.อุปกรณ์ประกอบการเรี ยนการสอน ตาราเรี ยน สื่ อเทคโนโลยีสารสนเทศ
ต่าง ๆ และสิ่ งสนับสนุนอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง ต้องมีความทันสมัยและเอื้อให้
นักศึกษาสามารถใช้ประโยชน์ได้มากที่สุด
6. มีกิจกรรมการเรี ยนการสอนเพื่อส่งเสริ มความเป็ นนานาชาติ เช่น กิจกรรมแลกเปลี่ยนแนวทาง
ทางการศึกษากับสถาบันต่างประเทศ ได้แก่ การแลกเปลี่ยนนักศึกษาและนักวิชาการ รวมถึงการ
ปฏิบตั ิสมั พันธ์ระหว่างวัฒนธรรมและระหว่างชาติเป็ นต้น
7. มีความร่ วมมือทางวิชาการกับสถาบันต่างประเทศ เช่น การขอความช่วยเหลือจากต่างประเทศ
ในด้านการพัฒนาหลักสูตร การส่งผูเ้ ชี่ยวชาญมาทาการสอน การแลกเปลี่ยนอาจารย์และนักศึกษา
การเทียบโอนหน่วยกิต การให้ปริ ญญาระหว่างสถาบัน (Joint Degree Program) และการ
ร่ วมมือกับต่างประเทศในรู ปแบบอื่น ๆ (Joint Venture)
13/04/58
-1
ไม่แน่ใจ
0
ไม่
สอดคล้อง
+1
สอดคล้อง
คาถาม ?
•
•
•
•
www.ubu.ac.th~eddev
โทรศัพท์ 045 353 121
โทรสาร 045 353 131
มือถือ
081 977 0119 , 085 656 5020
• Email
[email protected]
» [email protected]
13/04/58