27-10-2013-7qzWIiuSun34106

Download Report

Transcript 27-10-2013-7qzWIiuSun34106

บทที่ 16
ภาวะผูต้ าม
ความหมายของผูต้ าม (Followers)
- บุคคลที่เป็ นสมาชิกของกลุ่ม คณะ หรื อทีมงาน
ที่
ต้องปฏิบตั ิตามภารกิจตามคาสัง่ หรื อคาขอร้องของผูน้ า
- บุ ค คลที่ ต้องท าตามความคิ ดหรื อตามค าสอน
ของบุคคลอื่น
- เป็ นผูป้ ฏิบตั ิงานและกิจกรรมต่าง ๆ ภายใต้การ
ชี้นาและคาแนะนาของผูน้ า
ความหมายของภาวะผูต้ าม (Followers ship)
ภาวะผูต้ ามหมายถึ ง ความสามารถในการเป็ น
สมาชิ ก ที่ มี ป ระสิ ท ธิ ผ ลของกลุ่ ม ผูต้ ามที่ ดี ต้อ งเป็ น
บุ ค คลที่ เ ข้ม แข็ง และมี ค วามคิ ด ของตนเอง ไม่ เ ป็ น
บุคคลที่ด้ือรั้น มีความอ่อนน้อมถ่อมตน อดทน
ไมแข็
่ งขอต
้ อผู
่ ้นำ
บทบาทของผูต้ าม (Role of followers)
ผู ้ต ามมี ค วามส าคัญ และเกี่ ย วข้อ งกับ ผู ้น าด้ว ย
เหตุผลต่อไปนี้
1. มนุ ษ ย์ทุ ก คนล้ว นแต่ เ คยเป็ นผูต้ ามมาก่ อ น
ในช่ ว งใดช่ ว งหนึ่ งของชี วิ ต คนส่ ว นใหญ่ แ ม้จ ะมี
อานาจสู ง แต่ก็ยงั มีคนที่มีฐานะเหนื อตนขึ้นไป คนเรา
มีโอกาสในการเป็ นผูต้ ามได้บ่อยกว่าที่จะเป็ นผูน้ า
บทบาทของผูต้ าม (Role of Followers)
2. ความสั ม พัน ธ์ ร ะหว่า งผูน้ า และผูต้ าม เป็ น
กระบวนการที่ ผกผันกันในแง่ ก ารแลกเปลี่ ยนการมี
อิ ท ธิ พ ลต่ อกัน (ผูต้ ามมี อิทธิ พลในการส่ ง เสริ มผูน้ า
ผูน้ าให้การสนับสนุนผูต้ าม)
3. คุณลักษณะที่พึงประสงค์การเป็ นผูน้ าที่ดีเป็ น
คุณลักษณะอย่างเดียวกับผูต้ ามที่มีประสิ ทธิ ผล ได้แก่
การริ เ ริ่ ม การพึ่ ง ตนเอง ความกล้า ความผูก พัน ต่ อ
เป้ าหมาย
แบบของผูต้ าม (Style of Follower)
โรเบิร์ต อี. เคลลี (Robert E. Kelley) ได้ทาการ
วิจัยโดยการสัม ภาษณ์ ท้ งั ผูน้ าและผูต้ ามจ านวนมาก
เพื่ อ น ามาอธิ บ ายแบบภาวะผูต้ าม โดยใช้เ กณฑ์ 2
มิติต่อไปนี้
1. คุ ณลักษณะของผูต้ ามระหว่าง “ความอิสระ
(พึ่ งพาตนเอง) และความคิ ดสร้ างสรรค์ ” กับ “ไม่
อิสระ (พึ่งพาผูอ้ ื่น) และความความคิดสร้ างสรรค์”
แบบของผูต้ าม (Style of Follower)
บุคคลที่มีความคิดเชิงสร้างสรรค์และมีความอิ สระจะ
ใส่ ใ จต่ อ ผลกระทบและพฤติ ก รรมผูอ้ ื่ น ในการที่ จ ะ
บรรลุเป้ าหมายขององค์การ จะเป็ นบุคคลที่ ให้ค วาม
ระมัดระวัง อย่างสู งต่อต่อการกระทาของตนเองและ
ของผู ้ อื่ น เป็ นบุ ค คลที่ ส ามารถให้ น้ าหนั ก ของ
ผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการตัดสิ นใจไปสู่ วสิ ยั ทัศน์ของ
ผูน้ า โดยการเสนอคาวิจารณ์ที่สร้างสรรค์
แบบของผูต้ าม (Style of Follower)
ความคิดริ เริ่ มและวิธีแปลกใหม่
ในทางตรงกัน ข้า ม บุ ค คลประเภทที่ มี ล ัก ษณะ
พึ่งพาผูอ้ ื่นและขาดความคิดสร้างสรรค์จะเป็ นคนที่ไม่
อาจมองสิ่ งต่าง ๆ ไกลไปกว่าที่ถูกกาหนดให้องค์การ
ไม่อาจพึ่งพาบุคคลดังกล่าวได้มากกว่านี้ และเป็ นคนที่
รั บ ค าสั่ ง หรื อความคิ ด ของผู ้ น าโดยขาดการคิ ด
ไตร่ ตรอง
แบบของผูต้ าม (Style of Follower)
2. พฤติ ก รรมของผูต้ ามที่ เ กี่ ยวกับ ด้า น “ความ
กระตือรื อร้น” (Active) กับความเฉื่ อยชา (Passive)
ผูท้ ี่ มีพฤติ กรรมกระตือรื อร้ นจะสนใจในการเข้าร่ วม
กิจกรรมต่าง ๆ ขององค์การอย่างเต็มที่ จะแสดง
พฤติ ก รรมสนใจงานไกลกว่ า ขอบเขตที่ ไ ด้ รั บ
มอบหมาย มีความรู้สึกในการเป็ นเจ้าของ ชอบการ
ริ เริ่ มในการแก้ปัญหาและตัดสิ นใจ
แบบของผูต้ าม (Style of Follower)
ในทางตรงกันข้ามผูท้ ี่มีพฤติกรรมเฉื่ อยชา ตรงกับ
ความเกี ยจคร้ า น
จะไม่ ชอบทาอะไรเกิ นกว่า ที่
กาหนดให้ทา และมักปฏิเสธความรับผิดชอบเพิ่มเติม
จากมิติท้ งั สองดังกล่าว ได้จดั ความสัมพันธ์ในรู ป
ตารางเกิดเป็ นแบบผูต้ าม 5 แบบ
แบบของผูต้ าม (Style of Follower)
1. ผูต้ ามแบบห่ างเหิ น (Alienated Follower) ผู้
ตามแบบนี้ มีพฤติกรรมเฉื่ อยชา (Passive)
แต่มี
ความอิสระ (Independent) และมีความคิดสร้างสรรค์
สู ง (Critical thinking) ส่ วนมากเป็ นผูต้ ามที่ มี
ประสิ ทธิ ผลซึ่ งมีประสบการณ์และผ่านอุปสรรคต่าง ๆ
มาก่อนแต่ต่อมาเกิดแตกหักกันขึ้นกับผูบ้ งั คับบัญชา
แบบของผูต้ าม (Style of Follower)
จึ ง ใ ช้ ค ว า ม ส า ม า ร ถ ที่ มี อ ยู่ ข อ ง ต น ไ ป ใ น ก า ร
วิพากษ์วจิ ารณ์จุดอ่อนขององค์การและผูบ้ งั คับบัญชามี
ความสามารถในการคิดอย่างอิสระ แต่จะไม่ยอมเข้า
ร่ วมในการแก้ปัญหาหรื อจุดบกพร่ องที่ตนมองเห็นแต่
อย่างใด
แบบของผูต้ าม (Style of Follower)
2. ผูต้ ามแบบมีประสิ ทธิ ผล (Effective follower)
ผูต้ ามแบบนี้ เป็ นยอดปรารถนาขององค์การ เพราะใส่
ใจและเต็มใจต่อการปฏิบตั ิงานสู ง มีความสามารถใน
การบริ หารจัดการได้ดว้ ยตนเอง สามารถวิเคราะห์เห็ น
จุ ด อ่ อ นจุ ด แข็ง ของตนเองและขององค์ก ารได้อ ย่า ง
ถูกต้อง ให้ความสาคัญส่ วนรวมมากกว่าส่ วนตัว
แบบของผูต้ าม (Style of Follower)
มี ค วามสามารถในการท างานสู ง ให้ค วามส าคัญ ต่ อ
ความสาเร็ จและความเจริ ญก้าวหน้าขององค์การ
3.ผูต้ ามแบบเอาตัวรอด (Pragmatic follower)
เป็ นผูต้ ามที่ อยู่ตรงกลางของภาพ ซึ่ งหมายความว่ามี
ลัก ษณะครบตามทั้ง สี่ แ บบ แต่ เ ลื อ กใช้แ บบใดแบบ
หนึ่งขึ้นอยูก่ บั สถานการณ์ขณะนั้นว่าแบบใดที่เอื้อ
แบบของผูต้ าม (Style of Follower)
ประโยชน์แก่ตนได้มากที่สุด มีความเสี่ ยงน้อยที่สุด จะ
เกิดมากในขณะที่องค์การอยูใ่ นสภาวะที่กาลังสิ้ นหวัง
ผูต้ ามต่างดิ้นรนตนเองโดยทาอะไรก็ได้เพื่อให้ตนอยู่
รอดได้ โดยทัว่ ไปในองค์การจะมีพนักงานประเภทนี้
25 - 35% เป็ นผูต้ ามที่ไร้จุดยืนที่แน่นอน ยึดคา
ขวัญ “ปลอดภัยไว้ดีกว่าต้องเสี ยใจภายหลัง”
แบบของผูต้ าม (Style of Follower)
เพื่อความอยูร่ อดของตนเฉกเช่นจิ้งจกเปลี่ยนสี มักพบ
ในวงการราชการที่ มี ร ะบบการโยกย้า ยไปด ารง
ตาแหน่ งในวาระสั้น มักทางานแบบประคองตัวและ
ไม่ตอ้ งการเสี่ ยงต่อการผิดพลาด สร้ างความพอใจแก่
คนที่เกี่ยวข้องมากกว่าที่จะวางพื้นฐานที่ดีให้แก่งานใน
ระยะยาว
แบบของผูต้ าม (Style of Follower)
4. ผูต้ ามแบบเฉื่ อยชา (Passive follower) เป็ นผู้
ตามที่ขาดทั้งความเป็ นอิสระ (ชอบพึ่งพาผูอ้ ื่น) และ
ขาดความคิ ดสร้ างสรรค์ เรี ยกผูต้ ามแบบนี้ ว่า “แกะ”
(Sheep) เพราะไม่ชอบการรับผิดชอบ ทางานเท่าที่
ได้รับมอบหมาย แล้วหยุด หากจะให้ทาต่อต้องบอก
หรื อสัง่ ใหม่ และกว่างานจะคืบหน้าต้องใช้การติดตาม
แบบของผูต้ าม (Style of Follower)
ตรวจสอบอย่างใกล้ชิด ผูต้ ามแบบนี้ ปล่อยให้งานใช้
ความคิ ดเป็ นภาระของผูน้ าฝ่ ายเดี ยวเท่ า นั้น การที่ มี
พฤติ ก รรมเช่ น นี้ เป็ นผลมาจากการที่ ผูน้ าใช้วิ ธี ก าร
ควบคุมมากเกินไป และใช้การลงโทษเมื่อมีการทาผิด
5. ผูต้ ามแบบปรับตาม (Conformist follower)
หรื อเรี ยกว่า “ผูต้ ามแบบครับผม” เป็ นผูต้ ามที่มีความ
แบบของผูต้ าม (Style of Follower)
กระตือรื อร้น (Active) ในงาน ขาดทักษะด้านความคิ ด
สร้ างสรรค์ ยินยอมทาตามคาสั่งโดยไม่คานึ งว่างาน
นั้นจะมี ลกั ษณะอย่างไร แม้จะเป็ นการเสี่ ยงอันตราย
พยายามหลีกเลี่ยงความขัดแย้ง ผูต้ ามแบบนี้เป็ นผลจาก
ระบบบริ หารแบบเผด็ จ การที่ เ ข้ ม งวดในเรื่ อง
กฎระเบียบ
คุณลักษณะของผูต้ าม
คุณลักษณะที่จาเป็ นสาหรับผูต้ ามที่มีป ระสิ ทธิ ผล มี 4
ประการดังนี้
1. สามารถบริ หารจัดการตนเองได้ดี (Self management) สามารถควบคุมตนเอง มีความอิสระ
พึ่งตนเองได้ และสามารถทางานได้ดีโดยปราศจาก
การตรวจตราใกล้ชิด ผูน้ าสามารถไว้วางใจได้ในการ
มอบหมายความรับผิดชอบ
2. มีความผูกพัน (Commitment) ต่อองค์การและ
ต่ อวัตถุ ป ระสงค์ หลัก การหรื อบุ ค คลอื่ น ผูก พันต่ อ
วิ ธี ก าร ผลผลิ ต หรื อ แนวคิ ด ที่ น อกเหนื อ จากความ
เป็ นอยูแ่ ละอาชีพปกติของตน
คุณลักษณะของผูต้ าม
3. เสริ มสร้ างศักยภาพและทุ่ มเท (Competence
and focus) ความพยายามของตนเพื่อผลสุ ดยอดของ
งำน
มีทก
ั ษะควำมชำนำญ
ที่ เ ป็ นประโยชน์ แ ก่ ห น่ วยงานของตน เป็ นผู ้ มี
มาตรฐานการท างานของตนสู ง กว่า เกณฑ์ที่ ก าหนด
ขององค์ก าร ใฝ่ เรี ย นรู ้ อ ยู่ต ลอดเวลาเพื่ อ ให้เ กิ ด การ
พัฒนา
4. มีความกล้าหาญ (Courage) ซื่ อสัตย์และ
น่าเชื่อถือ (Honest and credible) เป็ นนักวิเคราะห์ที่
สามารถเสนอแนะความคิดและการวินิจฉัยต่าง ๆ กล้า
รับผิดและให้เกี ยรติในความสาเร็ จแก่ผอู ้ ื่น เป็ นผูม้ ี
รู ปแบบมาตรฐานทางจริ ยธรรมของตน
ความกล้าของผูต้ าม (The Courageous Follower)
ความกล้า (Courage) เป็ นคุณลักษณะที่พบได้
ทั้งในผูน้ าและผูต้ ามที่มีประสิ ทธิ ผล ได้แก่ความกล้า
เสี่ ยง กล้าที่จะท้าทายต่ออานาจเหนื อตน และกล้าที่
จะยืนยันว่าความคิดของตนทัดเทียมหรื อเหนื อกว่า
ผูบ้ งั คับบัญชา มีผูเ้ ชื่ อว่า การมีความกล้าเหล่านี้ คือ
คุณลักษณะของคนที่จะเป็ นผูน้ าต่อไปในอนาคต
ความกล้าของผูต้ าม (The Courageous Follower)
นอกจากนี้ บทบาทของผูต้ ามยังเกี่ยวกับความกล้า
ในเรื่ องต่อไปนี้
1. กล้าที่จะแสดงความรับผิดชอบ (Courage to
assume responsibility) เกิดความรู ้สึกสานึ กในความ
รั บผิดชอบส่ วนตัวในฐานะที่ ตนเป็ นเจ้าขององค์การ
และต่ อ พัน ธกิ จ ขององค์ก ารที่ ต นเกี่ ย วข้อ งอยู่ กล้า
แสดงความรับผิดชอบต่อการกระทา
ความกล้าของผูต้ าม (The Courageous Follower)
ของตนที่ ส่ ง ผลกระทบต่ อ องค์ก าร โดยไม่ ย อมร้ อ ง
ขอให้ผนู้ าหรื อองค์การออกมาปกป้ องหรื อคุม้ ครองตน
หรื ออ้างว่าได้รับอนุ ญาตให้ปฏิ บตั ิ เช่ นนั้น กล้าริ เริ่ ม
โอกาสใหม่ ๆ เพื่ อ ให้ ต นได้ใ ช้ค วามสามารถและ
ศักยภาพสู งสุ ดที่ตนมีอยูใ่ ห้บงั เกิดผลต่อองค์กรได้มาก
ที่สุด
ความกล้าของผูต้ าม (The Courageous Follower)
2. ความกล้าในการช่วยเหลือรับใช้ (Courage to
serve) ผูต้ ามที่มีความกล้าจะสามารถมองออกถึ ง
ความต้องการขององค์การ และจะแสดงออกอย่าง
กระตื อรื อร้ นที่ จะเข้ า ไปให้ ค วามช่ วยเหลื อ
ตอบสนองความต้อ งการนั้น จะใช้จุ ด เด่ น ของตน
สนับสนุนต่อการตัดสิ นใจของผูน้ า และสร้างผลงาน
ความกล้าของผูต้ าม (The Courageous Follower)
ในส่ ว นที่ จะช่ ว ยเสริ ม ต่ อตาแหน่ ง หน้าที่ ก ารงาน
ของผู้ น า ด้ ว ยความกล้ า หาญในการรั บ ใช้
ช่วยเหลือผูอ้ ื่นเหนื อตนเองดังกล่าว ทาให้ผูต้ าม
สามารถปฏิบตั ิภารกิจขององค์การด้วยความใส่ ใจ
กระตือรื อร้นและผูกพันห่วงใยต่องาน
ความกล้าของผูต้ าม (The Courageous Follower)
3. ความกล้าที่จะท้าทาย (Courage to challenge)
ผู ้ต ามที่ มี ค วามกล้า จะไม่ ยิ น ยอมที่ จ ะเสี ย สละ
วัตถุประสงค์ขององค์การหรื อจริ ยธรรมของตนเพื่ อ
แลกกับการลดความขัดแย้งหรื อเพื่อความสงบราบรื่ น
จะแสดงจุดยืนที่มนั่ คงและกล้าคัดค้านการกระทาหรื อ
การตัดสิ นใจของผูน้ า หากเป็ นพฤติกรรมที่ขดั ต่อผล
ความกล้าของผูต้ าม (The Courageous Follower)
ป ร ะ โ ย ช น์ ข อ ง อ ง ค ์ ก ำ ร ห รื อ
ส่ วนรวมหรื อขัดหลักการสัตย์ซื่อถือคุณธรรม ผูต้ ามจะ
ไม่กลัวต่อผลที่ตามมาจากการท้าทาย
4. ความกล้า ในการเข้า ร่ ว มในกระบวนการ
เปลี่ยนแปลง (Courage to participate in
transformation) เมื่อองค์การอยูใ่ นภาวะยุง่ ยากต่อการ
ความกล้าของผูต้ าม (The Courageous Follower)
ปรับปรุงเปลีย
่ นแปลง ผู้ตำมจะ
ให้ ก ารสนั บ สนุ น ช่ ว ยเหลื อ โดยไม่ ห วั่น ไหวต่ อ
อุ ป สรรคปั ญ หาเมื่ อ เห็ น ว่ า การเปลี่ ย นแปลงนั้ น
ก่อให้เกิดผลดีต่อส่ วนรวมในระยะยาว
5. ความกล้าที่จะไปจากองค์การ (Courage to
leave) เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นแก่องค์การก็จะ
ความกล้าของผูต้ าม (The Courageous Follower)
กระทบต่อความสัมพันธ์ระหว่างผูน้ ากับผูต้ าม และจะ
มี ความขัดแย้งตามมาอย่างหลี กเลี่ ยงไม่ได้ เมื่ อเผชิ ญ
ความขัดแย้งที่ ผูน้ าไม่ยอมเปลี่ ยนแปลงในประเด็นที่
เป็ นประโยชน์ขององค์การเท่าที่ควร จะตัดสิ นใจจาก
องค์การไป
แหล่งที่มาของอานาจผูต้ าม
1. อานาจส่ วนบุคคล (Personal power) เกิดจาก
เป็ นผูม้ ี ความรู ้ ความเชี่ ยวชาญ ความขยันหมัน่ เพียร
และความสามารถด้านการเจรจาเกลี้ยกล่อม
แหล่งที่มาของอานาจผูต้ าม
2. อานาจจากหน้าที่ เกิดจากการที่ผตู ้ ามมีขอ้ มูล
ข่าวสารและสามารถเข้าถึงข้อมูลข่าวสารนั้น รวมทั้ง
ทาเลที่ต้ งั ของที่ทางานของผูต้ ามก็มีผลต่อการมีอานาจ
เช่น ที่นงั่ เจ้าหน้าที่หน้าห้องรัฐมนตรี เป็ นต้น
การพัฒนาศักยภาพตนเอง (Develoving Personal
Potential)
สตีเฟน โควี (Stephen Covey) มีขอ้ เขียนชื่ อ
“The Seven Habit of Highly Effective People” หรื อ
“อุ ป นิ สั ย 7 ประการที่ น าไปสู่ การเป็ นคนที่ มี
ประสิ ทธิ ผลสู ง” เป็ นหนังสื อที่เสนอแนวทางพัฒนา
ตนเองในเรื่ องที่เกี่ยวกับความกล้า และความท้าทายต่อ
การเปลี่ยนแปลงวิถีทางดาเนินชีวติ ใหม่เพื่อเป็ นคนที่มี
อุปนิสยั 7 ประการที่นาไปสู่การเป็ นคนที่มี
ประสิ ทธิผลสูง
ประสิ ทธิ ผล ให้แนวคิดที่เป็ นประโยชน์ต่อการพัฒนา
ศักยภาพตนเองของผูต้ ามดังนี้
1. ต้องมีนิสัยเชิงรุ ก (Be Proactive) หมายถึงการ
มีพฤติกรรมหรื อการคิดที่ตอ้ งเป็ นฝ่ ายเริ่ มต้น ก่อนที่จะ
รอให้ เ หตุ ก ารณ์ เ กิ ด ขึ้ น และต้ อ งเป็ นฝ่ ายตั้ งรั บ
(Reactive) เป็ นคนที่รับผิดชอบต่อวิถีชีวติ ตนเอง ถือ
อุปสัย 7 ประการที่นาไปสู่การเป็ นคนที่มี
ประสิ ทธิผลสูง
ว่าตนมีความสามารถในการกาหนดทางเลือกและการ
กระท าด้ว ยตนเองอย่า งมี ห ลัก การ เมื่ อ ไม่ เ ป็ นตาม
คาดหมายก็จะไม่ตาหนิหรื อโยนความผิดพลาดให้ผอู้ ื่น
หรื อโทษสภาพแวดล้อมหรื อโชคชะตา เชื่ อว่าอะไรที่
เกิ ด ขึ้ น ไม่ ใ ช่ ป ระเด็ น ส าคัญ ที่ ส าคัญ คื อ จะมี วิ ธี ก าร
ดาเนินการต่อสิ่ งที่เกิดขึ้นให้มีผลมากที่สุดได้อย่างไร
อุปนิสยั 7 ประการที่นาไปสู่การเป็ นคนที่มี
ประสิ ทธิผลสูง
2. เริ่ มต้นในใจด้วยจุดมุ่งหมาย (Begin with the
end in mind) ก่นอเริ่ มต้นต้องกาหนดผลสาเร็ จที่เป็ น
เป้ าหมายปลายทางให้ชดั เจนในใจเสี ยก่อน รู ้ ว่าอะไร
คื อสิ่ ง ส าคัญ ที่ สุ ดส าหรั บ ตนเอง เปรี ยบเหมื อนการ
เดินทางก็คือ ก่อนออกเดินทางจาต้องกาหนดเป้ าหมาย
และแผนการเดินทางไว้ล่วงหน้าเป็ นอย่างดี
อุปนิสยั 7 ประการที่นาไปสู่การเป็ นคนที่มี
ประสิ ทธิผลสูง
3. ทาตามลาดับความสาคัญก่อนหลัง (Put first
things first) วิธีการพัฒนาตนเองให้มีความสามารถใน
การควบคุมเรื่ องเวลาและเหตุการณ์
อุปนิสยั 7 ประการที่นาไปสู่การเป็ นคนที่มี
ประสิ ทธิผลสูง
4. คิดแบบชนะ - ชนะ (Think win - win)
หมายถึงความเข้าใจและตระหนักว่า ถ้าปราศจากความ
ร่ ว มมื อแล้ว ยากที่ องค์ก ารจะประสบความส าเร็ จ ได้
และทาให้ทุกคนที่เกี่ยวข้องเป็ นผูช้ นะ
5. เข้าใจคนอื่นก่อนจะให้คนอื่นเข้าใจเรา (Seek
first to understand, then to be understood) เป็ นหลัก
อุปนิสยั 7 ประการที่นาไปสู่การเป็ นคนที่มี
ประสิ ทธิผลสูง
การสาคัญของการสื่ อสารที่มีประสิ ทธิ ผล การเข้าใจ
คนอื่นก่อนนั้น ต้องอดทนฟั ง ไม่ด่วนตัดสิ นใจ แต่ตอ้ ง
สามารถที่ จ ะรั บ ฟั ง ในสิ่ ง ที่ เ ป็ นจุ ด ยืน ของผูอ้ ื่ น ก่ อ น
การรั บ ฟั ง แบบเข้า ออกเข้า ใจจะช่ ว ยท าให้เ ข้า ใจต่ อ
ความรู ้สึกของผูอ้ ื่นได้ลึกซึ้ งยิง่ ขึ้น
อุปนิสยั 7 ประการที่นาไปสู่การเป็ นคนที่มี
ประสิ ทธิผลสูง
6. ประสานพลัง (Synergy) เป็ นการกระทา
ร่ ว มกัน ที่ เ กิ ด ขึ้ น จากการที่ ค นท างานร่ ว มกัน ท าให้
ได้ผลงานมากกว่า การที่ แ ต่ ล ะคนแยกกันท างานนั้น
การท างานร่ ว มกันโดยคนแต่ ล ะคนต่ า งมี ค วามคิ ด ที่
ต่างกัน ย่อมหมายถึงการช่วยกันคิด และจะได้คาตอบ
หรื อทางเลือกที่ดีที่สุดออกมา
อุปนิสยั 7 ประการที่นาไปสู่การเป็ นคนที่มี
ประสิ ทธิผลสูง
7. ลับเลื่อยให้คม (Sharpen the saw) เป็ นวงกลม
ที่ลอ้ มรอบอุปนิ สัยทั้งหกที่กล่าวมาแล้ว เป็ นอุปนิสัยที่
ทาให้อุปนิ สัยอื่นทางานได้อยูต่ ลอดเวลา เป็ นการช่วย
เสริ มสร้ างและปรั บปรุ งความสดใหม่ท้ งั ทางร่ างกาย
จิตใจ จิตวิญญาณ และพื้นฐานทางสังคมต่าง ๆ ให้แก่
ชีวติ อยูเ่ สมอ
กลยุทธ์ของผูต้ ามที่มีประสิ ทธิผล
เดพ (Daft) ได้เสนอกลยุทธ์ที่มีประสิ ทธิ ผลที่ผู้
ตามสามารถใช้ในการเกิ ดอิ ทธิ พลต่อผูน้ าของตน 4
ประการดังนี้
1. การเป็ นแหล่ ง วิท ยาการแก่ ผูน้ า (Be
a
resource for the leader) ผูต้ ามที่มีประสิ ทธิ ผลจะบอก
ให้ผนู้ าทราบถึงแนวคิด ความเชื่อ ความต้องการ และ
ข้อจากัด
กลยุทธ์ของผูต้ ามที่มีประสิ ทธิผล
ต่าง ๆ ของตน และพร้อมที่จะให้ความช่วยเหลือ
2. การช่วยเหลือผูน้ าให้เป็ นผูน้ าที่ดี (Help the
leader be a good leader) ช่วยสนับสนุนให้ผนู ้ าเป็ น
ผูน้ าที่ดี บอกความคิดเห็นของตน
3. การสร้างความสัมพันธ์ที่ดีกบั ผูน้ า (Build a
relationship with the leader) มีการพูดจาแลกเปลี่ยน
กลยุทธ์ของผูต้ ามที่มีประสิ ทธิผล
วิพากวิจารณ์หรื อให้ขอ้ มูลบ่อย ๆ ทาให้เกิดความสนิท
สนมและไว้วางใจต่อกัน
4. การมองผูน้ าตามความเป็ นจริ ง (View the
leader realistically) หมายถึง การลบภาพในอุดมคติ
ของผูน้ าออกจากความรู้สึกนึกคิดในใจของผู้ตาม โดย
มองผูน้ าจากความเป็ นจริ ง ตัวอย่างเช่น พนักงานที่เชื่อ
กลยุทธ์ของผูต้ ามที่มีประสิ ทธิผล
อย่างฝังใจว่านายไม่ชอบตนเนื่องจากนายวางตัวเฉยไม่
เคยพูดคุยกับตน ทั้ง ๆ ที่ตนยอมรับว่านายเป็ นคนที่มี
ความรู้ความสามารถและมีความรับผิดชอบสู งคนหนึ่ง
เป็ นต้น
คุณลักษณะที่พึงปรารถนาในทัศนะของผูต้ าม
คุณลักษณะผูน้ า
ที่พึงปรารถนา
1. ความซื่อสัตย์
2. คิดไปข้างหน้า
3. มีความสามารถดลใจ
4. มีความสามารถ
คุณลักษณะผูต้ าม
ที่พึงปรารถนา
1. ความซื่อสัตย์
2. ให้ความร่ วมมือ
3. สามารถพึ่งพาได้
4. มีความสามารถ
การสร้างชุมชนของผูต้ าม
ผูต้ ามมีบทบาทสาคัญยิง่ ที่จะต้องพึ่งพาและ
ร่ วมมือกันในการสร้ างความรู ้ สึกในความเป็ นชุ มชน
ของกลุ่ มตนขึ้ น การรวมตัว กันอย่า งเหนี ยวแน่ นบน
พื้ น ฐานที่ ทุ ก คนให้ เ กี ย รติ นั บ ถื อ ต่ อ กั น มี ก ารใช้
ความรู ้ สึ ก ด้า นก าลัง ใจซึ่ งกัน และกัน ต่ า งร่ วมกัน
ผูกพันต่อเป้ าหมายขององค์การ สมาชิกทุกคนสามารถ
สื่ อสาร
การสร้างชุมชนของผูต้ าม
อย่า งเปิ ดเผยตรงไปตรงมาต่ อ กัน การตั้ง ชุ ม ชนใน
รู ปแบบสโมสร สหภาพ เพื่อให้บริ การสมาชิ กในการ
แจ้ง ข่ า วสาร การด าเนิ น กิ จ กรรมและผลงานของ
สมาชิก
คุณลักษณะของชุมชนของผูต้ าม
1. มีความครอบคลุมทัว่ ถึง (Inclusively) ควร
ครอบคลุมผูต้ ามทุกคนในองค์การ
2. ใช้การสนทนา (Conversation) การสนทนา
เป็ นเครื่ องมื อสื่ อสารพื้นฐานที่ กลุ่มหรื อชุ มชนใช้ใน
การสื่ อความหมายเพื่อความเข้าใจต่อกัน
คุณลักษณะของชุมชนของผูต้ าม
3. การอยูบ่ นพื้นฐานของความเป็ นจริ ง (Realism)
โดยรวมทัศนะมุมมองจากสมาชิ กทุกคนทาให้ชุม ชน
ของผูต้ ามตั้งอยูบ่ นพื้นฐานของความเป็ นจริ งยิง่ ขึ้น
4. การมีภาวะผูน้ าร่ วม (Shared leadership) ใน
ชุมชนผูต้ าม คนที่เป็ นผูน้ าจะมีฐานะเป็ นเพียงคนหนึ่ ง
ในกลุ่มคนที่เท่าเทียมกัน มีการกระจายอานาจและ
คุณลักษณะของชุมชนของผูต้ าม
การตัดสิ นใจจะใช้แบบฉันทานุมตั ิในที่ประชุม
แง่คิด - มุมมองของภาวะผูน้ า
ไทกี้ ( Noel M. Tichy) ได้เขียนหนังสื อชื่อ The
leadership Engine ขึ้น โดยยืนยันว่า บริ ษทั ที่ประสบ
ความสาเร็ จส่ วนใหญ่น้ นั เกิดขึ้นจากผูน้ าระดับสู งของ
บริ ษทั ได้ทาการสร้างและพัฒนาผูน้ าใหม่ข้ ึนมา โดยมี
ประเด็นสาคัญที่ เป็ น “ทัศนะที่ สามารถสอนได้” 4
ประการดังนี้
ทัศนะที่สามารถสอนได้
1. ความคิด (Ideas) ผูน้ าต้องมีความคิดที่ชดั เจน
เกี่ยวกับความมุ่งหมายขององค์การ และวิธีการจัดสรร
ทัพยากรที่ดีที่สุด ต้องติดตามแนวโน้มและความคิด
ใหม่ ๆ ที่ ส ามารถส่ งผลกระทบต่ อความสามารถใน
การบรรลุเป้ าหมายและกระตุน้ ให้เกิดความคิดใหม่ ๆ
จากผูร้ ่ วมงานอื่นด้วย
ทัศนะที่สามารถสอนได้
2. ค่านิ ยม (Values) ผูน้ าที่ประสบความสาเร็ จ
จะต้องมองค่านิ ยมว่าเป็ นเครื่ องมื อของการแข่งขันที่
สร้ า งความสามารถในการสนองตอบต่ อ ลู ก ค้า และ
ตลาดได้อ ย่า งเหมาะสมและรวดเร็ ว ค่ า นิ ย มที่ ค วร
สร้ าง เช่ น ความซื่ อสัตย์ การยึดมัน่ ในคุ ณธรรม และ
สร้างความน่าเชื่อถือหว้วางใจขององค์การ การทางาน
ร่ วมกันเป็ น
ทัศนะที่สามารถสอนได้
ทีม ความกล้าเสี่ ยง และน้ าใจในการบริ การลูกค้า และ
ต้องสามารถปลูกฝังให้เป็ นพฤติกรรมที่ปฏิบ ัติจนเคย
ชินในชีวติ ประจาวัน
3. ความมีพลัง (Energy) ต้องเป็ นผูน้ าที่มีพลังสู ง
และสามารถสร้ างแรงดลใจที่ ดีแก่ ผูอ้ ื่น ต้องสามารถ
สร้างความรู้สึกที่ทา้ ทายและจูงใจผูอ้ ื่นให้เกิดความ
ทัศนะที่สามารถสอนได้
กระตื อ รื อร้ น ในการปฏิ บ ัติ ง าน สามารถก าหนด
เป้ าหมายที่ทา้ ทายและดลใจให้เกิดความทะเยอทะยาน
ในการใช้ความพยายามของผูอ้ ื่น
4. ความเด็ดเดี่ยว (Edge) ทาให้สามารถฟั นฝ่ า
ภาวะวิกฤติ และช่ ว งยุ่งยากล าบากต่ อการตัดสิ นใจที่
สาคัญ เรี ยกว่า “ความเต็มใจที่จะยอมสู ญเสี ยความมัง่
คัง่ วันนี้เพื่อวันพรุ่ งนี้ที่ดีกว่า
ทัศนะที่สามารถสอนได้
คัง่ วันนี้ เพื่อวันพรุ่ งนี้ ที่ดีกว่า ผูน้ าที่มีความเด็ดเดี่ยวจะ
ไม่ หวัน่ กลัวต่ อความเสี่ ยง ความเจ็บปวด หรื อความ
ล้มเหลว นอกจากนี้ ยงั สนับสนุ นและให้ร างวัลตอบ
แทนแก่ผทู ้ ี่กล้าเสี่ ยงด้วย
จบการนาเสนอ