Transcript Leadership
ภาวะผูน้ าทางวิชาการ
Instructional Leadership
อั ญชลี ธรรมะวิธีกลุ
หัวหน้าหน่วยศึกษานิเทศก์
25 เมษายน 2555
ความหมายของผูน้ า
ผูน้ าหมายถึงบุคคลที่สามารถ
ชักจูงหรือชี้นาหรือโน้มน้าว จูงใจ
บุคคลอื่ นให้ปฏิ บตั ิงาน สาเร็จตาม
วัตถุประสงค์ท่ีวางไว้ได้อย่ างมี
ประสิทธิ ภาพ
ประเภทของผูน้ า
ผูน้ าแบบเป็ นทางการ
(Formal Leaders)
ผูน้ าแบบไม่เป็ นทางการ
(Informal Leaders)
ภาวะผูน้ า : Leadership
Kelley แบ่งผูน้ าออกเป็ น 2 ประเภท
ผูน้ า “ผูอ้ หังการ” จะเชื่อว่าตนจะต้องได้ทกุ
อย่ างที่ต้องการ บทบาทของเขาคือคอยออก
คาสั่ง ทาการตัดสินใจ และจัดรูปแบบองค์กร
ผูน้ า “ผูถ้ ่อมตน” จะไม่มที ่าทางผยอง เขาจะนา
เมือ่ จาเป็ นเท่านั้น และจะให้โอกาสผูอ้ ื่ นนาเมือ่
สถานการณ์เหมาะสม
ภาวะผูต้ าม
Kelley ได้นิยามภาวะผูต้ าม 5 ประเภท
พวกลูกแกะ(Sheep) จะทาตามข้อเรียกร้อง
อย่ างเชื่อฟังและไม่วิพากษ์วิจารณ์สิ่งใด ๆ เขา
ต้องการชี้นา และมักจะทาตามโดยไม่ลังเลเลย
พวกลูกขุนพลอยพยัก(Yes – people) จะทา
ตามข้อเรียกร้องอย่างกระตือรือร้น
ผูบ้ ังคับบัญชาจะได้ยินแต่ข่าวดี ๆ จากเขา หรือ
ได้ยินแต่เรื่องที่พวกเขาเชื่อว่าผูบ้ งั คับบัญชา
ต้องการได้ยิน
ผูต้ ามที่ห่างเหิน (Alienated Followers)
เป็ นผูท้ ่ีมคี วามเฉลียวฉลาด มีความสามารถ
แต่มักไม่พอใจในผูน้ าและองค์กรของตน
ผูต้ ามที่ร้รู ักษาตัวรอด (Pragmatist
Followers) เป็ นคนที่มคี วามสามารถ การ
ทางานจะพิจารณาบรรยากาศ ของเกม
การเมืองในองค์กรเป็ นหลัก ไม่ชอบความเสี่ยง
ถือคติ “กันไว้ดีกว่าแก้”
พวกผูต้ ามชั้นยอด (Star Followers)
เป็ นผูก้ ล้าหาญ มุ่งไปที่เป้าหมายองค์กร
มีสมรรถนะ บริหารตนเองได้อย่างดี
เยี่ยม เป็ นตัวของตัวเอง และมี
ความสามารถในการ “ไม่คล้อยตาม
ผูอ้ ่ื น ได้อย่ าไม่น่าเกลียด”
การตัดสินใจว่าควรจะนาเมือ่ ไร
ความรู้/ความชานาญ โดยพิจารณา
ความสามารถ/สมรรถนะ ของตนเป็ นหลัก
ทักษะในการประสานสัมพันธ์ โดยพิจารณา
ความสามารถในการทางานเป็ นทีม
แรงผลักดัน พิจารณาความมุง่ มัน่ ต่อ
เป้าหมายของงานเป็ นหลัก
ความหมายของภาวะผูน้ า
W.H. Drath และ C.J. Palus ได้ให้
ความหมายของภาวะผูน้ า ดังนี้
ภาวะผูน้ า เป็ นกระบวนการที่จะช่วยให้คนเข้าใจ
ความหมายของสิ่งที่จะทาร่วมกันเพือ่ ที่จะได้เกิด
พันธะต่อสิ่งที่กาลังทา ซึ่งกระบวนการนี้จะทาให้
ผูน้ ามีอิทธิ พลมากขึ้น เพราะการที่คนจะทาตาม
ความต้องการของผูอ้ ่ื นก็ต่อเมือ่ เขาเห็นว่าการ
กระทานั้นเป็ นเรื่องที่สมเหตุสมผล
หน้าที่และความรับผิดชอบของครู
จัดการเรียนการสอน
ส่งเสริมการเรียนรู้
พัฒนาผูเ้ รียน
ปฏิ บัติงานวิชาการของสถานศึกษา
พัฒนาตนเองและวิชาชีพ
ประสานความร่วมมือกับผูป้ กครอง บุคคลในชุมชน
และ/หรือสถานประกอบการเพือ่ ร่วมพัฒนาผูเ้ รียน
บริการสังคมด้านวิชาการ
ปฏิ บตั ิหน้าที่อ่ื นตามที่ได้รับ
มอบหมาย
ประเภทของงานวิชาการ
งานวิชาการในสถานศึกษา แบ่งเป็ นประเภทใหญ่ ๆ
ได้ 4 ประเภท
การพัฒนาหลักสูตร
การพัฒนากระบวนการจัดการเรียนรู้ผูเ้ รียนเป็ น
สาคัญ
การพัฒนาสื่อ และเทคโนโลยีการเรียนรู้
การพัฒนาแหล่งการเรียนรู้
การพัฒนาหลักสูตร
หลักสูตรสถานศึกษา
หลักสูตรท้องถิ่น
หลักสูตรรายวิชาเลือก
หลักสูตรการศึกษาอาชีพ
หลักสูตรทักษะชีวิต
หลักสูตรพัฒนาสังคมและชุมชน
การพัฒนากระบวนการจัดการเรียนรู้ผูเ้ รียน
เป็ นสาคัญ
การเรียนรู้จากการทาโครงงาน(Project – based
Learning)
การเรียนรู้ด้วยกระบวนการวิจัย
การเรียนรู้ด้วยตนเอง(Self – directed Learning)
การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม(Participatory Learning)
เวทีประชาคม(Civic Forum)
การเรียนรู้แบบ บูรณาการ (Intergrated Learning)
การพัฒนาสื่อ และเทคโนโลยี
เอกสารประกอบการเรียน
บทเรียนสาเร็จรูป
หนังสือเรียน
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
การพัฒนาแหล่งการเรียนรู้
ห้องสมุด
พิพธิ ภัณฑ์
สวนสัตว์
สวนสาธารณะ
ศูนย์กีฬาและนันทนาการ
John van Maurik
ได้สร้างเครื่องมือที่บอกลักษณะภาวะ
ผูน้ าที่ดี ต้องมี WIST
และได้นิยามองค์ประกอบของภาวะผูน้ า
ที่ดีว่า สมรรถนะในการเป็ นผูน้ า
สมรรถระในการเป็ นผูน้ าทางวิชาการ : WIST
W : Wisdom (ปัญญา)
I : Integrity (ความซื่อตรง)
S : Sensitivity(ความรู้สึกไว)
T : Tenacity(ความแกร่ง)
W : Wisdom (ปัญญา)
สามารถสร้างวิสัยทัศน์เกี่ยวกับอนาคตและดาเนินการตาม
วิสัยทัศน์ได้
มีการริเริ่มและฉลาดรอบคอบในการดาเนินการตามวิสัยทัศน์
มีความคิดเกี่ยวกับวิธีการทางานและลักษณะของงานในอนาคต
สร้างแรงจูงใจในการทางานให้แก่ผูร้ ่วมงาน และสามารถเป็ นพี่
เลี้ยงที่ปรึกษาได้
สามารถเข้าใจสถานการณ์โดยรวมและมองแนวโน้มต่าง ๆ ออก
สามารถจัดการปัญหาต่าง ๆในการทางานในองค์กรได้ และเป็ น
นักสื่อสารและทางานเป็ นเครือข่าย
I : Integrity (ความซื่อตรง)
แสดงให้เพือ่ ร่วมงานรู้ ว่าเรามีค่าควรแก่ความไว้วางใจ
อย่าดาเนินการใด ๆ โดยมีวาระซ่อนเร้น(Hidden
Agendas)
ปฏิ บัติต่อผูอ้ ื่ นอย่างซื่อสัตย์ ตรงไปตรงมา
เมื่อถึงคราวจาเป็ น อย่ ากลัวที่จะเปิ ดเผย
สามารถที่จะบอกข่าวร้ายแก่ผูอ้ ่ื นได้
S : Sensitivity(ความรู้สึกไว)
ความรู้สึกไวในเชิงจัดการ
สามารถทางานเป็ นผูฝ
้ ึ กสอนได้
เป็ นผูฟ
้ ั งที่ดี
สามารถพัฒนาผูอ้ ่ื นได้
เข้าใจถึงพลังของทีม และรู้ว่าจะทางานกับทีมต่าง ๆ ได้
อย่างไร
เข้าใจกระบวนการที่ดีประกอบด้วยอะไรบ้าง และรู้ว่าทา
อย่ างไรจึงจะเกิดกระบวนการที่ดี
S : Sensitivity(ความรู้สึกไว) (ต่อ)
สามารถเรียนรู้ได้ตลอดเวลา
เป็ นผูอ้ านวยความสะดวกในการเรียนรู้และในสถาน
การต่าง ๆ
มองหาโอกาสสาหรับอนาคตจากทุก ๆ เหตุการณ
มองหาโอกาสในการจูงใจผูอ้ ื่ น
สามารถโน้มน้าวชักจูงใจผูอ้ ื่ นได้
ความรู้สึกไวในเชิงคิด (Sensitivity in Thinking)
ปรับตัวให้เข้ากับวิธีการเมือ่ จาเป็ น แต่ไม่จากัดตัวเองอยู่ใน
กรอบการปฏิ บัติแบบเก่า สามารถท้าทายความรู้ท่ีสืบทอด
กันมา เพือ่ ทาลายกระทัศน์ต่าง ๆ ได้
สามารถรับมือกับวิธีการและความคิดเห็นอั นหลากหลาย
ได้เข้าใจว่าสิ่งจูงใจสาหรับคนแต่ละคนนั้นไม่เหมือนกัน และ
สามารถนาความเข้าใจไปใช้ประโยชน์ได้
มีความคิดสร้างสรรค์ สามารถคิดนอกกรอบได้
สามารถคิดในเชิงกลยุทธ์ และสื่อสารกลยุทธ์ น้ ีออกไป โดย
การสร้างทิศทางที่เป็ นศูนย์ กลางขององค์กร
T : Tenacity(ความแกร่ง)
มีความคุ้นเคยกับเครื่องมือทาง
กลยุทธ์ ต่าง ๆ
ยอมรับความเสี่ยงเมือ่ จาเป็ น ใจ
กล้าและชอบเสี่ยง
ความแกร่ง (Tenacity)
ไม่หยุดนิ่งและมีพลังใจ
มุมานะในการทางาน แต่ก็สามารถรักษาความสมดุล
ระหว่างชีวิตครอบครัวกับวิธีการทางานได้
สามารถรับมือกับความเครียดของตนเอง และของ
ผูอ้ ่ื นได้
สามารถควบคุมท่าทีของตนเอง สามารถรับมือกับ
ความล้มเหลว และความปราชัยได้
ไม่ย่อท้อ ไม่ยอมแพ้
ความแกร่ง (Tenacity) (ต่อ)
เข้าใจและสามารถจัดการกับแรงกดดันของ
อานาจได้
สามารถรับมือกับความไม่แน่นอนและช่วยให้
ผูอ้ ่ื นรับมือกับมันได้
แสดงออกถึงการมองโลกในแง่ดี
จัดการการเปลี่ยนแปลงได้ดี มีการวางแผนและ
ดาเนินการจนสาเร็จ
Peter Senge : ภาวะผูน้ าแบบใหม่
นักออกแบบ (Designer)
ผูใ้ ห้บริการ (Steward)
ครู (Teacher)
นักออกแบบ : Designer
การออกแบบไม่ใช่การออกคาสั่ง และไม่ใช่วิธีในการควบคุม
แต่เป็ นการคิดอย่างเป็ นระบบจะช่วยให้ผูน้ าออกแบบ กลยุทธ์
และระบบต่าง ๆ ได้เป็ นอย่างดี เพราะหัวใจสาคัญของการ
ออกแบบที่ดีอยู่ที่ผูอ้ อกแบบต้องเข้าใจว่าส่วนต่าง ๆ จะ
ทางานสอดประสานเป็ นหนึ่งเดียวได้อย่างไร
การออกแบบทางวิชาการ ต้องอาศัยความเข้าใจบริบทต่าง ๆ
ของการจัดการศึกษา ที่มคี วามเกี่ยวข้องกันแล้วยั งจะต้อง
เข้าใจถึงความสัมพันธ์ กับสภาพแวดล้อมภายนอก
นักออกแบบ : Designer (ต่อ)
ขั้นตอนของการออกแบบ
ขั้นที่ 1 กาหนดวิสัยทัศน์ ค่านิยม และ
จุดมุง่ หมาย
ขั้นที่ 2 การทาตามวิสัยทัศน์ ค่านิยม และ
จุดมุง่ หมายที่กาหนด
ขั้นที่ 3 จัดทากลยุทธ์ให้เหมาะสม
ผูใ้ ห้บริการ : Steward
ผูน้ าในฐานะผูใ้ ห้บริการจะต้องทาให้ผูเ้ กี่ยวข้องมีส่วนร่วมใน
วิสัยทัศน์องค์กร
ผูน้ าที่มคี วามสามารถหลาย ๆ คนไม่อาจเป็ นผูน้ าที่มปี ระสิทธิ ภาพ
ได้อย่ างแท้จริง
เนื่องจากขาดทรรศนะที่กว้างไกล ซึ่งเป็ นสิ่งสาคัญต่อการเป็ นผูน้ า
ผูน้ าที่มวี ิสัยทัศน์ท่ีแท้จริง จะมององค์กรว่าองค์กรจะต้องเป็ น
องค์กรแห่งการเรียนรู้
จะต้องสร้างกระบวนการเรียนรู้ ส่งเสริมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้
สร้างความสัมพันธ์ ระหว่างวิสัยทัศน์ส่วนตัวกับวิสัยทัศน์องค์กร
ครู : Teacher
ผูน้ าในฐานะครูต้องช่วยให้คนเข้าใจความเป็ นจริงต่าง ๆ
โดยมุ่งไปที่จดุ มุ่งหมายและโครงสร้างที่เป็ นระบบ
ซึ่งเป็ นเรื่องของการคิดอย่างเป็ นระบบและแบบแผน
ความคิดอ่ าน
จากนั้นก็สอนให้ผูอ้ ่ื นทาแบบเดียวกันนี้
ผูน้ าต้องช่วยให้คนอื่ นมองเห็นภาพรวมของสิ่งต่าง ๆ
และเข้าใจถึงความสัมพันธ์ ภายใน
ครู : Teacher (ต่อ)
จะจาให้คนตระหนักถึงจุดมุ่งหมายของการดาเนินการ
ผูน้ าที่มีประสิทธิ ผลที่แท้จริงจะต้องช่วยให้ผูอ้ ื่ นเข้าใจ
เชิงระบบ กาหนดรูปแบบของการเปลี่ยนแปลงได้
ผูน้ าต้องสามารถทาความเข้าใจเชิงกลยุทธ์ ขององค์
ที่มีลักษณะเป็ นรูปธรรม
เพือ่ ให้คนทั่วไปเกิดความเข้าใจด้วย
การเป็ นผูน้ าในฐานะครู ไม่ได้หมายความ
ว่าให้ผูน้ าไปสอนวิธีบรรลุวิสัยทัศน์แก่คนใน
องค์กร
แต่หมายถึงการที่ผูน้ าจะต้องส่งเสริมการ
เรียนรู้ พัฒนาความเข้าใจอย่างเป็ นระบบ
และทาให้ทกุ คน(รวมทั้งตัวเอง) สามารถเข้า
ใจความเป็ นจริงได้
สวัสดี