โลกาภิวัตน์ทางการเมือง

Download Report

Transcript โลกาภิวัตน์ทางการเมือง

วิชาสังคมและการเมือง
(Social and Politics)
อาจารย์มานิตา หนูสวัสดิ ์
สัปดาห์ที่ 11: กระบวนการโลกาภิวตั น์
(Globalization)
โลกาภิวตั น์ (Globalization) คือ อะไร?
 ระดับโลก
 ความเป็ นสากล
 ไร้พรมแดน
 สภาวะทางสังคม
 กระบวนการทางสังคม
โลกาภิวตั น์ (Globalization) คือ อะไร?
 โลกาภิวตั น์ คือ “ปรากฎการณ์ทม่ี คี วามสัมพันธ์ทางการเมือง เศรษฐกิจ สังคม
และวัฒนธรรมต่างๆทีเ่ กิดขึน้ ในโลก ได้ถกู เปลีย่ นรูปหรือแปลงเข้าหากันอย่าง
ใกล้ชดิ มากขึน้ ทัง้ ในด้านของการรับรูแ้ ละการกระทาในเรือ่ งราวต่างๆอย่างที่
ไม่เคยเกิดขึน้ มาก่อน เรือ่ งหรือประเด็นต่างๆทีเ่ กิดขึน้ ในที่ซง่ึ ห่างไกลมากและ
ข้ามพรมแดนของรัฐชาติ สามารถถูกรับรูแ้ ละมีผลต่อตัวเราอย่างรวดเร็วโดยมี
เทคโนโลยีการสือ่ สารเป็ นตัวช่วย” (เอก ตัง้ ทรัพย์วฒ
ั นา 2554: 121)
 โลกาภิวตั น์ คือ “การทาให้ความสัมพันธ์ทางสังคมในระดับโลกเข้มข้นมากขึน้
และความสัมพันธ์ทเ่ี ข้นข้นขึน้ นี้จะเชื่อมโยงระยะห่างในลักษณะทีส่ งิ่ ทีเ่ กิดขึน้ ใน
ท้องถิน่ จะเกิดขึน้ จากอิทธิพลของเหตุการณ์ทเ่ี กิดขึน้ ทีเ่ กิดขึน้ ในทีท่ ไ่ี กลออกไป
ในทางตรงข้ามเหตุการณ์ในท้องถิน่ อาจจะมีผลกระทบต่อทีท่ อ่ี ยู่ไกลออกไป
ด้วย” (Giddens 1990: 64)
คุณลักษณะของโลกาภิวตั น์
 โลกาภิวตั น์เป็ นกระบวนการทีม่ คี วามสัมพันธ์เชื่อมโยงผสมผสานมิตดิ า้ นต่างๆ
เข้าด้วยกัน เช่น การเมือง สังคม วัฒนธรรม สิง่ แวดล้อม เทคโนโลยี และ
เศรษฐกิจ
 โลกาภิวตั น์ทาให้ชอ่ งว่างระหว่างพืน้ ทีแ่ ละเวลาในความสัมพันธ์ของมนุษย์ถกู
ลดลง ทาให้คนเราสามารถรับรูเ้ รือ่ งทีอ่ ยูไ่ กลออกไป ในขณะเดียวกันเรือ่ งทีอ่ ยู่
ไกลออกไปก็มอี ทิ ธิพลต่อเรา และเรือ่ งเราพบทีอ่ ยูใ่ กล้ตวั อาจจะมีผลกระทบต่อ
คนทีอ่ ยูไ่ กลออกไป
 เทคโนโลยีและระบบสือ่ สารเป็ นตัวช่วยเร่งการแผ่ขยายความสัมพันธ์และ
กิจกรรมทางสังคมของมนุษย์อย่างรวดเร็ว
คุณลักษณะของโลกาภิวตั น์
 โลกาภิวตั น์เป็ นกระบวนการทีค่ อ่ ยๆก่อร่างเกิดขึน้ และเป็ นปรากฎการณ์ระยะ
ยาว
 โลกาภิวตั น์มคี วามขัดแย้งในตัวเอง คือ ในกระบวนการโลกาภิวตั น์ทด่ี ู
เหมือนว่ากระแสโลกจะมีอทิ ธิพลต่อท้องถิน่ นัน้ ท้องถิน่ เองจะมีกระบวนการทา
ให้เป็ นท้องถิน่ (localization) หรือการมีกระแสท้องถิน่ แฝงฝงั อยูใ่ นโลกาภิวตั น์
เสมอ จะเห็นได้วา่ โลกาภิวตั น์จะมีทงั ้ สิง่ ทีเ่ ป็ นการรวมศูนย์เข้าสูก่ ระแสโลก และ
มีการกระจายตัวออกจากกระแสโลกอยูใ่ นขณะเดียวกัน
 โลกาภิวตั น์ทาให้เกิดการเชื่อมโยงสิง่ ทีแ่ ตกต่างเข้าด้วยกัน ขณะเดียวกันก็ทาให้
ความแตกต่างนัน้ มีความชัดเจนมากขึน้
คุณสมบัติของโลกาภิวตั น์
 เกีย่ วข้องกับการเกิดขึน้ เครือข่ายและกิจกรรมทางสังคมชนิดใหม่ และการ
ทวีคณ
ู ของเครือข่ายและกิจกรรมทีม่ อี ยู่แล้ว
 สะท้อนผ่านการแผ่ขยายและการยืดขยายของความสัมพันธ์ทางสังคม กิจกรรม
และการพึง่ พาอาศัยกัน
 เกีย่ วข้องกับการทาให้เข้มข้นขึน้ และการเพิม่ อัตราเร่งของการแลกเปลีย่ นและ
กิจกรรมทางสังคม
 เน้นถึงโลกจินตกรรม กระบวนการโลกาภิวตั น์ไม่ได้เกิดขึน้ ในระดับของวัตถุท่ี
เป็ นภววิสยั เท่านัน้ แต่เกิดขึน้ ในระดับจิตใจของมนุษย์ท่เี ป็ นอัตวิสยั ด้วย
โลกาภิวตั น์ ในมิติต่างๆ
 พัฒนาการของกระบวนการโลกาภิวตั น์ในมิตติ ่างๆเกิดขึน้ มายาวนาน ซึง่ หาก
จะพิจารณากระบวนการโลกาภิวตั น์ต่อการเปลีย่ นแปลงของสังคมเฉพาะมิตใิ ด
มิตเิ ดียวอาจไม่เพียงพอ การเปลีย่ นแปลงของสังคมในมิตทิ างเศรษฐกิจ
การเมือง สังคม และวัฒนธรรมมีความเชื่อมโยงสัมพันธ์กนั อยู่
 ความเข้มข้นของการเชื่อมโยงทางเศรษฐกิจระดับโลกไม่ได้เกิดขึน้ เอง แต่ถกู
กาหนดจากการตัดสินใจทางการเมืองและนโยบายทางการเมือง
ส่วนโลกาภิวตั น์ทางการเมืองกาลังเคลื่อนไปสูป่ ระชาธิปไตยสากล การปะทะ
ทางวัฒนธรรม การเมือง และเศรษฐกิจระดับโลกทาให้เกิดปฏิกริ ยิ าต่อต้านและ
คัดค้านในระดับเดียวกันกับทีท่ าให้เกิดการเห็นพ้องและอดกลัน้ ต่อความ
แตกต่าง
โลกาภิวตั น์ ทางเศรษฐกิจ
 ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจมีความเข้มข้นและแผ่ขยายไปทัวทุ
่ กมุมโลก
 ปรากฎชัดในด้านการขยายตัวและการเปลีย่ นรูปแบบของความสัมพันธ์ทาง
เศรษฐกิจแบบทุนนิยมในระดับโลก ไม่วา่ จะเป็ นในแง่ของการค้า การลงทุน การ
ผลิต การเคลื่อนย้ายแรงงาน การบริการ การค้าและการเงินระหว่างประเทศ โดยมี
เทคโนโลยี การสือ่ สาร และการขนส่ง เป็ นตัวช่วยในการสังการ
่ ควบคุม และ
ดาเนินการผลิตให้เป็ นไปอย่างรวดเร็วและมีตน้ ทุนต่า
 การเกิดขึน้ ของสถาบันทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศ (IMF, World Bank,
WTO) การเกิดขึน้ ของบรรษัทข้ามชาติ และการเกิดขึน้ ของลัทธิเสรีนิยมใหม่
(Neoliberals)
โลกาภิวตั น์ ทางการเมือง
 ความสัมพันธ์การเมืองระดับโลกมีการแผ่ขยายและมีความเข้มข้นมากยิง่ ขึน้
 แสดงให้เห็นได้จากการเติบโตและขยายตัวของกระบวนการประชาธิปไตยอย่างรวดเร็ว
เช่น การขยายบทบาททางการเมืองของประชาชน การเรียกร้องสิทธิและเสรีภาพต่างๆ
และการเกิดขบวนการและกลุม่ ทางสังคมมากมายทัง้ ในระดับประเทศและระหว่าง
ประเทศ
 ประเด็นเรือ่ งอธิปไตยเหนือดินแดน การเพิม่ ขึน้ ของบทบาทองค์กรระหว่างประเทศ
และความเป็ นไปได้ในการเกิดการปกครองระดับภูมภิ าคและระดับโลกในอนาคต
 การเกิดการรวมตัวขององค์กรภาคประชาชนและภาคประชาสังคมเป็ นเครือข่ายระดับ
โลก (Global Civil Society) มีบทบาทสูงต่อการกาหนดโครงสร้างการกากับ
ดูแลระดับโลก เป็ นการรวมขององค์กรภาคประชาชนและภาคประชาสังคมจากพืน้ ที่
ต่างๆทีส่ มัครใจมาร่วมตัวเป็ นเครือข่ายและทางานขับเคลือ่ นประเด็นทีเ่ ห็นพ้องกันว่า
เป็ นปญั หาระดับโลกและกระทบต่อความเป็ นอยูข่ องมนุษยชาติ
โลกาภิวตั น์ ทางการเมือง
 ประเด็นสาคัญ คือ อานาจอธิปไตยและเส้นเขตแดนแบบเก่าถูกทาให้อ่อนลง เส้น
แบ่งเขตแดนเหนือรัฐชาติถูกแทรกซึม อานาจการปกครองดินแดนของรัฐถูกท้า
ทาย แต่อย่างไรก็ดรี ฐั ยังคงมีความสามารถในการควบคุมและดาเนินนโยบาย
ทางเศรษฐกิจและสังคมภายในของตนได้อยู่
 กระบวนการโลกาภิวตั น์ เป็ นกระบวนการเปลีย่ นแปลงทีส่ ง่ ผลกระทบต่อรัฐอย่าง
กว้างขวาง ทาให้ความสัมพันธ์ต่อรัฐและสังคมเปลีย่ นไป การเปลีย่ นแปลงของ
สังคมบางด้าน เช่น การเมือง เศรษฐกิจ วัฒนธรรม เทคโนโลยี เป็ นต้น ได้ทา้
ทายความสามารถของรัฐในการควบคุมสังคมของตน ขณะเดียวกันองค์กร
เครือข่ายระดับโลก และกฎเกณฑ์ระหว่างประเทศ ก็มบี ทบาทมากขึน้ ในการตี
กรอบการใช้อานาจรัฐในสังคมของตนและของโลก (อนุสรณ์ ลิม่ มณี 2542)
โลกาภิวตั น์ ทางสังคมและวัฒนธรรม
 โลกาภิวตั น์ทางวัฒนธรรมพูดถึงการเพิม่ ความเข้มข้นและการขยายตัวของการ
ไหลเวียนทางวัฒนธรรมไปทัวโลก
่
 ปรากฎการณ์ทเ่ี กิดขึน้ ในมิตโิ ลกาภิวตั น์ทางวัฒนธรรม คือ เป็ นการทาให้รปู แบบ
วัฒนธรรมมีความเหมือนกันมากขึน้ โดยการผลักดันให้เกิดอุตสาหกรรม
วัฒนธรรม เช่น วิถชี วี ติ อาหาร การแต่งกาย การฟงั เพลง
 ปรากฎการณ์การแพร่กระจายคุณค่าแบบอเมริกนั ทาให้เกิดกระบวนการที่ถูก
เรียกว่า กระบวนการอเมริกานุวตั รในระดับโลก (Americanization)
 ไม่เพียงแต่โลกาภิวตั น์จะทาให้เกิดวัฒนธรรมทีเ่ ป็ นรูปแบบเดียวกันแล้ว
ขณะเดียวกันความแตกต่างหลากหลายทีเ่ ป็ นแบบเฉพาะของท้องถิน่ กลับมี
ความสาคัญในการสร้างวัฒนธรรมแบบทีไ่ ม่ซ้ากับใคร เกิดการผสมทาง
วัฒนธรรม
โลกาภิวตั น์ ทางสังคมและวัฒนธรรม
 การเปลีย่ นแปลงทัง้ 2 ด้านนี้เกิดขึน้ ได้เพราะการรับและส่งข่าวสารทางวัฒนธรรม
และการเมืองแพร่สะพัดจากจุดหนึ่งไปอีกจุดหนึ่งของโลกตลอดเวลาและรวดเร็ว –
การเดินทางจากสังคมหนึ่งไปอีกสังคมหนึ่งใช้เวลาและค่าใช้จา่ ยน้อยลง ทาให้เกิด
การเรียนรู้ การร่วมมือ และการแลกเปลีย่ นในด้านวัฒนธรรมและการเมืองระหว่าง
ประชาชนต่างสังคม
 การไหลเวียนของวัฒนธรรมถูกสร้างและถูกควบคุมโดยสือ่ มวลชน ผ่านการ
แพร่กระจายข้อความและข้อมูลต่างๆ แม้กระทัง้ การยัดเหยียดวัฒนธรรมโลกผ่าน
รายการโทรทัศน์ สือ่ มวลชนมีบทบาทสาคัญในการกาหนดอัตลักษณ์และความ
ต้องการของคนทัวโลก
่
โลกาภิวตั น์ กบั ลักษณะการเปลี่ยนแปลงของสังคม
 โลกาภิวตั น์ไม่ได้ทาให้สงั คมทุกสังคมพัฒนาไปในแนวทางใดแนวทางหนึ่ง
อย่างเดียว แต่โลกาภิวตั น์ทาให้เกิดการเปลีย่ นแปลงในสังคมทีเ่ ป็ นการ
ผสมผสานระหว่างลักษณะตรงข้ามหลายประการ
 บางทัศนะบอกว่าโลกาภิวตั น์ทาให้เกิดการพึง่ พาระหว่างกันในระดับโลกมาก
ขึน้ (ในรูปการแข่งขันหรือร่วมมือกันมากขึน้ ก็ได้) ขณะทีบ่ างทัศนะบอกว่า
โลกาภิวตั น์จะมีผลให้อานาจครอบงาของประเทศศูนย์กลางเหนือประเทศรอบ
นอก ทาให้ประเทศรอบนอกต้องพึง่ พิงประเทศศูนย์กลางเพิม่ ขึน้
โลกาภิวตั น์ กบั ลักษณะการเปลี่ยนแปลงของสังคม
 โลกาภิวตั น์ไม่เพียงแต่ดงึ ผูค้ นและชุมชนทัง้ หลายเข้าร่วมเป็ นส่วนหนึ่งของ
สังคมโลกเท่านัน้ แต่ในเวลาเดียวกันยังทาให้คนและชุมชนในสังคมโลก
เหล่านัน้ ตระหนักในความแตกต่างระหว่างกัน
 กระบวนการโลกาภิวตั น์ไม่เพียงทาให้ผคู้ นในสังคมมีความรูส้ กึ ว่าตนอยูใ่ นโลก
ใบเดียวกันหรือมีผลประโยชน์บางอย่างร่วมกัน แต่ยงั กระตุน้ ให้คนในแต่ละ
ชุมชนต้องการมีความเป็ นตัวเอง และความเป็ นอิสระในการกาหนดชะตากรรม
ของตนและท้องถิน่ ทีต่ นอยูม่ ากขึน้
ปัญหาทางการเมือง สังคม และวัฒนธรรม
สังคม
ปั ญหา
วัฒนธรรม
การเมือง
เศรษฐกิจ
ปัญหาทางการเมือง สังคม และวัฒนธรรม
การเมือง/เศรษฐกิจ
สังคม
วัฒนธรรม
- การเคลื่อนไหวภาค
ประชาชน
- การกระจายอานาจ
- การพัฒนาประชาธิปไตย
- การพัฒนา
- สิง่ แวดล้อม
- กระบวนการคนชายขอบ
- อัตลักษณ์ (เชือ้ ชาติ
ศาสนา)
- เพศสภาพ
- ท้องถิน่ นิยม
อ้างอิงและเรียบเรียง
 วรพจน์ วงศ์กจิ รุง่ เรือง (แปล) (2553). โลกาภิวตั น์ ความรู้ฉบับพกพา.
กรุงเทพฯ: โอเพ่นเวิรด์ .
 อนุสรณ์ ลิม่ มณี. (2542) รัฐ สังคม และการเปลี่ยนแปลง: การพิจารณาใน
เชิงอานาจนโยบาย และเครือข่ายความสัมพันธ์. กรุงเทพฯ: คณะรัฐศาสตร์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. (บทที่ 5-6)
 เอก ตัง้ ทรัพย์วฒ
ั นา และคณะ. (2554). คาและความคิดในรัฐศาสตร์ร่วม
สมัย เล่ม 1. พิมพ์ครัง้ ที่ 3. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.