ประวัติศาสตร์
Download
Report
Transcript ประวัติศาสตร์
BASIC COMPUTER
รายวิชา 080154 คอมพิวเตอร์ เบือ้ งต้ น
(Basic Computer)
ความรู้ เบือ้ งต้ นเกีย่ วกับคอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์ คอื อะไร
ประวัติคอมพิวเตอร์
องค์ ประกอบระบบคอมพิวเตอร์
ข้ อมูล สารสนเทศ
บุคคลากรคอมพิวเตอร์
ความสาคัญของคอมพิวเตอร์ และสารสนเทศต่ อ
ชีวติ ประจาวัน
คอมพิวเตอร์ คอื อะไร
คอมพิ ว เตอร์ (Computer)
คือ อุป กรณ์ ห รื อ เครื่ อ งมื อ
อิเล็กทรอนิกส์ ที่สามารถทางานได้ อย่ างอัตโนมัติ ด้วยชุ ดของ
คาสั่ ง หรือโปรแกรม ทีม่ นุษย์ สร้ างขึน้ มีความสามารถใน การ
รับข้ อมูล(input) ประมวลผล(processing) แสดงผล (output)
และจั ด เก็ บ ข้ อมู ล (storage) ได้ ทั้ งภายในและภายนอก
คอมพิวเตอร์ และทางานด้ วยความเร็วสู ง ถูกต้ อง แม่ นยา
คอมพิวเตอร์ คอื อะไร (ต่อ)
ลักษณะสาคัญของคอมพิวเตอร์
เป็ นอุปกรณ์ อเิ ล็กทรอนิกส์ (electronic device)
ทางานอย่ างอัตโนมัติ (automatically)
มีหน่ วยความจาภายใน (internal memory)
มีความเร็ วในการประมวลผลสู ง (high speed processing)
มีความถูกต้ องแม่ นยาในการประมวลผล (accuracy processing)
จัดเก็บข้ อมูลไว้ ภายนอกได้ (external storage)
ประยุกต์ ใช้ งานได้ กว้ าง (wide application)
ประวัติคอมพิวเตอร์
ยุคที่ 1 : หลอดสุ ญญากาศ
ยุคที่ 2 : ทรานซิสเตอร์
ยุคที่ 3 : วงจรรวม
ยุคที่ 4 : วงจรรวมขนาดใหญ่
ยุคที่ 5 : ยุคประมวลผลคู่ขนานขนาดใหญ่
ประวัติคอมพิวเตอร์ (ต่อ)
ยุคที่ 1 ค.ศ.1951- ค.ศ. 1958
หลอดสูญญากาศ
ใช้งานเฉพาะทางสาหรับองค์กรขนาดใหญ่ เช่น ทหาร รัฐบาล
ใช้บตั รเจาะรู (punch card) ในการเก็บข้อมูลและโปรแกรม
คอมพิวเตอร์ยงั ทางานช้า เกิดข้อผิดพลาดได้สูง
ราคาแพงมาก
ยากต่อการสร้างโปรแกรมควบคุม
ประวัติคอมพิวเตอร์ (ต่อ)
ยุคที่ 1 ตัวอย่ างคอมพิวเตอร์ ในช่ วงแรก เช่ น UNIVAC
ประวัติคอมพิวเตอร์ (ต่อ)
ยุคที่ 2 ค.ศ.1959-ค.ศ.1964
ทรานซิสเตอร์
หน่ วยความจาภายในเป็ น magnetic core
หน่ วยความจาภายนอกใช้ magnetic tape ที่มีความจุสูงกว่า
บัตรเจาะรู (punch card)
โปรแกรมเป็ นภาษาระดับต่า ได้แก่ ภาษาแอสเซมบลี (Assembly)
มีความเร็ วและความถูกต้องแม่นยาสู งขึ้น
เริ่ มมีการนาคอมพิวเตอร์ มาใช้ในหน่ วยงานธุ รกิจอย่างแพร่ หลาย
ประวัติคอมพิวเตอร์ (ต่อ)
ยุคที่ 2
Transistor
Punch card
Magnetic tape
Diode
Tube
ประวัติคอมพิวเตอร์ (ต่อ)
ยุคที่ 3
ค.ศ.1965-ค.ศ.1970
ใช้วงจรรวมที่เรี ยกว่า ไอซี (Integrated Circuit : IC) แทน
ทรานซิสเตอร์
ไอซี มีคุณสมบัติทางานได้อย่างรวดเร็ ว มีความเชื่ อถือได้สูงมากกว่า
การใช้ ทรานซิสเตอร์
ใช้จานแม่เหล็ก Magnetic disk เก็บข้อมูลที่มีจานวนมาก
ภาษาที่ใช้สร้างโปรแกรมควบคุมคอมพิวเตอร์ ยงั คงใช้ภาษาระดับสู ง
เช่น ภาษาเบสิ ก
ประวัติคอมพิวเตอร์ (ต่อ)
ยุคที่ 3 ตัวอย่างเครื่องคอมพิวเตอร์ ได้แก่ System/630 ของบริษัท IBM เครื่อง
คอมพิวเตอร์ ขนาดเล็ก PDP-11 ของบริษัท DEC (Digital Equipment Corporation)
DEC PDP-11
IBM System/630
ประวัติคอมพิวเตอร์ (ต่อ)
ยุคที่ 4
ค.ศ.1971-1990
ใช้วงจรรวมขนาดใหญ่(Large Scale Integration circuit : LSI)
่ น ชิป(chip)
มีทรานซิ สเตอร์ (transistor) จานวนหลายพันตัวอยูบ
เรี ยกว่า Microprocessor
มีประสิ ทธิ ภาพและความเร็ วในการทางานสู งมาก
ตัวอย่างคอมพิวเตอร์ ยค
ุ นี้ได้แก่ Microcomputer ที่มีการใช้งานอย่าง
แพร่ หลาย
ประวัติคอมพิวเตอร์ (ต่อ)
ยุคที่ 5
ค.ศ.1990-ปัจจุบัน
คอมพิวเตอร์ ที่มีความสามารถสู งมากๆ ทางานได้อย่างรวดเร็ วมากยิง่ ขึ้น
หน่วยประมวลผลเป็ น Microprocessor Chip ที่มีความเร็ วสู งมาก เช่น CPU
Intel Pentium III ของบริ ษทั Intel
มีความฉลาดในการประมวลผล เรี ยกว่า Intelligent Computer ปั ญญาประดิษฐ์
(Artificial Intelligence) ระบบผูเ้ ชี่ยวชาญ (Expert System)
เข้าใจภาษาธรรมชาติของมนุ ษย์(Natural Language)
ภาษาคอมพิวเตอร์ ที่ใช้เป็ นภาษาระดับสู ง ภาษาแบบ Visual เช่น Visual
BASIC
มีการประยุกต์ใช้งานทุกด้าน เช่น การประมวลผลด้าน Multimedia
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์
ส่ วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
บุคคลากร (People)
บุคลที่ปฏิบตั ิงานเกี่ยวข้องกับระบบงานคอมพิวเตอร์ ใน ด้านต่าง ๆ ซึ่ งมี
ความสาคัญต่อระบบคอมพิวเตอร์ มากที่สุด
ฮาร์ ดแวร์
(Hardware)
ส่ วนต่างๆของคอมพิวเตอร์ ที่สามารถสัมผัสได้ ฮาร์ ดแวร์ ประกอบด้วยการ
ติดต่อระหว่างอุปกรณ์ที่สามารถควบคุมการทางาน การรับ และการแสดงผล
ซอฟต์ แวร์
(Software)
กลุ่มของคาสั่งที่สั่งฮาร์ ดแวร์ ให้ทางาน กลุ่มของคาสั่งนี้เรี ยกว่าโปรแกรม
เช่น Microsoft Word
ข้ อมูล (Data)
รายละเอียดข้อเท็จจริ งต่าง ๆ เกี่ยวกับบุคคล สิ่ งของ สถานที่ หรื อ เหตุการณ์
ใด ๆ ที่สนใจศึกษา และนาข้อมูลเข้าสู่ ระบบการประมวลผลของคอมพิวเตอร์
ซอฟต์ แวร์ (SOFTWARE)
ซอฟต์แวร์ หรื อ อีกชื่อหนึ่ งคือโปรแกรม(Program)
ประกอบด้วยคาสัง่ ต่างๆ ที่สงั่ ให้คอมพิวเตอร์ทางาน
ซอฟต์แวร์ แบ่งได้เป็ น 2 ประเภทหลักๆ
System Software
Application Software
Page 9
CE06_PP01-16
ฮาร์ ดแวร์ (HARDWARE)
อุปกรณ์อิเล็กทรอนิ คส์ที่ใช้ในการประมวลผล
ถูกควบคุมด้วยซอฟต์แวร์
ตัวอย่าง เช่น
Keyboard
Mouse
Monitor
อุปกรณ์อื่นๆ
เครื่องคอมพิวเตอร์
ประเภทของเครื่องคอมพิวเตอร์
Supercomputer
Mainframe computer
Minicomputer
Microcomputer
CE06_PP01-21
ประเภทของเครื่องคอมพิวเตอร์ (ต่อ)
Super Computer
เป็ นเครื่องคอมพิวเตอร์ ทมี่ ีความสามารถมากทีส่ ุ ด สาหรับงาน
ประมวลผลข้ อมูลจานวนมาก ซับซ้ อน และต้ องการประสิ ทธิภาพสู ง
ประเภทของเครื่องคอมพิวเตอร์ (ต่อ)
Mainframe Computer
สมรรถนะในการทางานสู ง เมนเฟรมไม่ นิยมนามาใช้ ในงานทั่วไป เพราะราคาแพง
นิยมนามาเป็ น เครื่องบริการหรือเซิร์ฟเวอร์ (Server) ที่มีผ้ ูใช้ งานจานวนมาก เช่ น งานธนาคาร
ประกันภัย ธุรกิจการบินโดยสามารถรองรับการใช้ งานจากผู้ใช้ ได้ หลายๆ คนในเวลาเดียวกัน
เช่ น การจองที่นั่งของสายการบิน จะรับข้ อมูลจากเทอร์ มินอลลูกข่ ายหลายๆ จุด ที่ต้องการใช้
ข้ อมูลเดียวกัน ซึ่งเมนเฟรมคอมพิวเตอร์ จะเป็ น คอมพิวเตอร์ ศูนย์ กลาง ที่สามารถรองรับการ
ทางานได้ เป็ นอย่ างดี
ประเภทของเครื่องคอมพิวเตอร์
Mini Computer
คอมพิวเตอร์ ที่มีสมรรถนะในการทางานสู งและมักใช้เป็ น คอมพิ วเตอร์
ศูนย์กลางในข่ายงานบริ เวณเฉพาะที่ (LAN : Local Area Network)
มินิคอมพิวเตอร์ เป็ นเครื่ องคอมพิวเตอร์ ขนาดกลางที่นิยมใช้ในธุ ร กิ จขนาดเล็ก
รัฐวิสาหกิจขนาดกลาง มหาวิทยาลัย เป็ นต้น
ประเภทของเครื่องคอมพิวเตอร์
Micro Computer หรือ Personal Computer
เช่ น คอมพิวเตอร์ ต้งั โต๊ ะ โน๊ ตบุ๊ค คอมพิวเตอร์ มอื ถือ
Desktop
แบ่งเป็ น 4 ประเภท
Desktop
Notebook or laptop
Tablet PC
Handheld
Notebook
Tablet PC
Handheld
DESKTOP COMPUTERS
มีขนาดเล็กเหมาะที่จะวางบนโต๊ะ แต่ใหญ่เกินไปสาหรับพกพา
ไปในที่ต่างๆ
NOTEBOOK OR LAPTOP COMPUTERS
เคลื่อนย้ายได้สะดวก มีน้ าหนักเบา สามารถเก็บไว่ในกระเป๋ า
เอกสารได้
TABLET PC
Page 11
เป็ นโน๊ตบุค๊ คอมพิวเตอร์ขนิดหนึ่ง ที่สามารถรับการเขียนข้อมูล
เข้าแล้วเปลี่ยนให้เป็ นข้อความที่สามารถประมวลผลด้วย
โปรแกรมประมวลผลคาได้
HANDHELD
คอมพิวเตอร์ มือถือ ประกอบด้วย ปากกา การรู ้จาลายมือ เครื่ องมือ
สาหรับการจัดการงานส่ วนตัว และการสื่ อสาร
องค์ประกอบของเครื่องคอมพิวเตอร์
(1) จอมอนิเตอร์
(2) เมนบอร์ ด
(3) หน่ วยประมวลผลกลาง(CPU)
(4) หน่ วยความจาหลัก(RAM memory)
(5) Expansion card
(6) Power Supply
(7) CD-ROM Drive
(8) Hard disk
(9) Keyboard
(10) Mouse
องค์ประกอบของเครื่องคอมพิวเตอร์
เครื่ องคอมพิ ว เตอร์ มี ส่ ว นประกอบด้ว ยกัน หลายส่ ว น
แบ่งเป็ น 4 ประเภท ดังนี้
หน่ วยระบบ (System Unit)
หน่ วยประมวลผล(CPU-Microprocessor)
หน่ วยความจาหลัก (Primary Storage)
หน่ วยรับข้อมูลและแสดงผลข้อมูล (Input/Output)
หน่ วยความจาสารอง (Second storage devices)
อุปกรณ์สื่อสาร (Communication devices)
DATA
ข้อมูลดิบ เป็ นข้อมูลข้อเท็จจริ ง และยังไม่ผา่ นการประวลผล
ข้อมูลที่ผา่ นการประมวลแล้ว เรี ยกว่า สารสนเทศ (Information)
ถูกจัดเก็บในรู ปแบบต่างๆ กัน
Presentation
Document files
Worksheet files
Database files
Presentation files
Database
Worksheet
Document
ข้ อมูลและสารสนเทศ
ข้ อมูล (Data) หรือ ข้ อมูลดิบ (Raw Data)
คือ ข้อเท็จจริ งที่เกิดขึ้นที่ยงั ไม่ผา่ นการประมวลผล และคอมพิวเตอร์
สามารถนาไปใช้งานได้ อาจจะอยูใ่ นรู ปของข้อความ ตัวอักษร ตัวเลข เสี ยง
หรื อ รู ปภาพ เช่น จานวนนักศึกษาในชั้น
สารสนเทศ (Information)
คือ ผลลัพธ์ที่ได้จาการประมวลผลข้อมูลและสามารถนาไปใช้ประโยชน์
ได้ตรงกับความต้องการของผูใ้ ช้
เป็ น ข่าวสาร ความรู ้ต่าง ๆ ที่มีการบันทึกอย่างเป็ นระบบ และผ่านการ
ประมวลผลตามหลักวิชาการ เพื่อนาไปเผยแพร่ และใช้งานต่าง ๆ ทุกสาขา
ระบบคอมพิวเตอร์ VS เครื่องคอมพิวเตอร์
คาว่า "ระบบคอมพิวเตอร์ " มีความหมายกว้างกว่าคาว่า "เครื่อง
คอมพิวเตอร์ " เพราะหมายถึงส่ วนทุกส่ วนที่รวมกันแล้วทาให้สามารถใช้
เครื่ องคอมพิวเตอร์ให้เป็ นประโยชน์ได้ การพิจารณาระบบโดยรวมนั้น
จะช่วยให้มีทศั นคติที่กว้างขึ้น และเข้าใจการประยุกต์คอมพิวเตอร์ได้ดี
ขึ้น
เครื่องคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์
INFORMATION SYSTEM
1) People
2) Procedures
3) Software
4) Hardware
5) Data
CONNECTIVITY, THE WIRELESS REVOLUTION, AND THE
INTERNET
การเชื่อมต่อ (Connectivity)
แลกเปลี่ยนสารสนเทศกับเครื่ องคอมพิวเตอร์ เครื่ องอื่นๆ
การสื่ อสารแบบไร้สายกาลังได้รับความนิ ยมอย่างแพร่ หลาย
เครื อข่ายคอมพิวเตอร์ (Computer Networks)
การเชื่อมต่อกันของคอมพิวเตอร์ ต้ งั แต่สองเครื่ องขึ้นไป เพื่อ
แลกเปลี่ยนข้อมูล สารสนเทศ
อินเตอร์ เน็ตเป็ นเครื่ องข่ายคอมพิวเตอร์ ที่ใหญ่ที่สุดใน
โลก
บุคลากรคอมพิวเตอร์
ในการทางานกับคอมพิวเตอร์ จะต้องมีบุคลากรใน
ตาแหน่งต่างๆ เพื่อทาหน้าที่แตกต่างกัน บุคลากรที่สาคัญ
ประกอบ 3 กลุ่มด้วยกัน
ผู้ใช้ งานทัว
่ ไป
ผู้เชี่ยวชาญหรื อนักคอมพิวเตอร์
ระดับบริ หาร
บุคลากรคอมพิวเตอร์ (ต่อ)
ผู้ใช้ งานทัว
่ ไป
เป็ นผูใ้ ช้งานทัว่ ไป ไม่จาเป็ นต้องมีความเชี่ยวชาญมาก
อาจเข้ารับการอบรมบ้างเล็กน้อยหรื อศึกษาจากคู่มือการ
ปฏิบตั ิงานก็สามารถใช้งานได้
เป็ นกลุ่มบุคคลมีจานวนมากที่สุดในหน่ วยงาน
ลักษณะงานในการใช้คอมพิวเตอร์ จะเกี่ยวข้องกับการใช้งาน
คอมพิวเตอร์ทวั่ ไป เช่น งานธุรการสานักงาน งานป้ อนข้อมูล
งานบริ การลูกค้าสัมพันธ์ (call center) เป็ นต้น
บุคลากรคอมพิวเตอร์ (ต่อ)
ผู้เชี่ยวชาญหรื อนักคอมพิวเตอร์
เช่น
เว็บมาสเตอร์ (Web Master)
ช่างเทคนิ คคอมพิวเตอร์ (Computer Operator/Computer Technician)
นักวิเคราะห์ระบบ (System Analyst)
นักเขียนโปรแกรม (Programmer)
วิศวกรซอฟต์แวร์ (Software Enginering)
ผูด
้ ูแลเน็ตเวิร์ก (Network Administrator)
บุคลากรคอมพิวเตอร์ (ต่อ)
ผู้บริหารสู งสุ ดด้ านสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ (CIO – Chief
Information Officer)
ตาแหน่ งสู งสุ ดทางด้านการบริ หารงานคอมพิวเตอร์ ในองค์กร
ทาหน้าที่กาหนดทิศทาง นโยบาย และแผนงานทางคอมพิวเตอร์
ทั้งหมด
มักพบเห็นในองค์กรขนาดใหญ่เท่านั้น
สาหรับในองค์กรขนาดเล็กอาจจะไม่มีตาแหน่ งนี้
ความสาคัญของคอมพิวเตอร์ และสารสนเทศต่ อชีวติ ประจาวัน
สถานศึ กษา เช่ น การจัดทาประวัตินักเรี ยน ประวัติครู อาจารย์ การคัดคะแนน
สอบ การจัดทาตารางสอน ใช้คอมพิวเตอร์ ในงานห้องสมุด การจัดทาตารางสอ น
การศึกษาทางไกล
วิศวกรรม
เช่น ช่วยคานวณโครงสร้าง ออกแบบ การวางแผน ควบคุมการสร้าง
วิทยาศาสตร์
เช่น เครื่ องมือการทดลองต่างๆ การเดินทางของยานอวกาศต่างๆ
การถ่ายพื้นผิวโลก
ธุรกิจ เช่น จัดเก็บข้อมูล ความรวดเร็ ว และถูกต้องในการคานวณ ทาให้สามารถ
ได้ขอ้ มูลที่ช่วยให้สามารถตัดสิ นใจในการ ดาเนินธุรกิจ ได้
ธนาคาร เช่น ATM ฝาก-ถอน คานวณอัตราดอกเบี้ย ธุ รกรรมต่างๆ
ความสาคัญของคอมพิวเตอร์ และสารสนเทศต่ อชีวติ ประจาวัน (ต่ อ)
ร้ านค้ าปลีก เช่น ให้บริ การชาระ ค่าน้ า - ไฟฟ้ า ค่าโทรศัพท์
นอกเหนือจากงานขาย
ทัว่ ไป
ทางการแพทย์ เช่น ใช้ในการจัดเก็บประวัติ ผลการรักษา จ่ายยา ควบคุมเรื่ องมือ
แพทย์
โทรคมนาคม และการสื่ อสาร เช่น เครื อข่ายอินเทอร์ เน็ต
อุตสาหกรรม เช่ น วางแผนการผลิต กาหนดเวลาการผลิต ควบคุมการผลิต
ราชการ เช่ น งานทะเบียนราษฏร์ ช่วยในการนับคะแนนการ เลือกตั้ง และการ
ประกาศผลเลือกตั้ง การคิดภาษีอากร