การพัฒนาทุนมนุษย์

Download Report

Transcript การพัฒนาทุนมนุษย์

การพัฒนาทุนมนุษย์ เป็ นผลสื บเนื่องจากการพัฒนา
เขตการค้ าเสรีด้านต่ างๆ
: ตามแนวคิด และมุมมองจากภาคเอกชน
ดร.ธนิต โสรัตน์
รองประธานสภาอุตสาหกรรมแห่ งประเทศไทย
1
ทุนมนุษย์ กบั การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
• ทุนมนุษย์
• ทฤษฎีทุนมนุษย์
: มองมนุษย์ในฐานะเจ้าของแรงงาน
: ผลตอบแทนที่องค์กรได้รับจากความจงรักภัก ดี
มุ่ ง เน้ น การลงทุ น ไปที่ ขี ด ความสามารถและ
ทัก ษะในการท างานของบุ ค ลากรในองค์ก ร
ความมุ่งมัน่ ของบุคลากรในองค์กร
2
ทุนมนุษย์ ภายใต้ การเปลีย่ นแปลงการค้ าเสรี
1. ทุนมนุษย์ ภายใต้ AEC 2015 จะมีการเคลื่อนย้ายแรงงาน(ทักษะ)เสรี 7 ประเภท
2. การปรับตัวให้ รับกับการแข่ งขันอย่างรุ นแรงในธุรกิจ
3. การเคลือ่ นย้ายแรงงานข้ ามชาติ โดยเฉพาะแรงงานไร้ทกั ษะ เพื่อเติมเต็มการขาด
แคลนแรงงานในประเทศสมาชิก อาเซี ยนที่เป็ นฐานการผลิต
4. การพัฒนาบุคคลากรในองค์กรให้เป็ นข้อได้เปรี ยบในการแข่งขันและเป็ น
ภูมิคุม้ กันต่อการค้าเสรี
5. เกีย่ วข้ องกับการบริหารและการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ โดยผลตอบแทนแรงงาน
อันเอื้อต่อการดารงชีพตามคุณภาพชีวติ ของเจ้าของแรงงาน
6. การกาหนดมาตราฐานคุณวุฒิวชิ าชีพตามมาตราฐาน ASEAN ในสาขาต่างๆทั้ง
ภาคการผลิต ภาคบริ การโดยมีสถาบันเป็ นที่ยอมรับในการขึ้นทะเบียน
3
ประเทศไทยเข้ าสู่ ยุคขาดแคลนแรงงานอย่างรุนแรง
1. อัตราว่ างงานประเทศไทยต่าทีส่ ุ ดในภูมภิ าค ที่ร้อยละ 0.6 และจานวนแรงงานมี
อัตราติดลบกว่า 2.5 – 3.0 ล้านคน
2. เพิม่ ค่ าตอบแทนในเชิงตัวเงินไม่ ใช้ ปัจจัยเดียว ในการักษาคน แต่องค์กร
จาเป็ นต้องสร้างบรรยากาศในการทางานที่ดีในลักษณะของการสร้างแรงจู งใจให้
คนอยากอยูท่ างานแทนที่จะลาออกไปทางานที่อื่น
3. แนวคิดเปลีย่ นจากการมองคนเป็ น Cost ไปสู่ การมองคนเป็ น Asset
4. การบริหารทรัพยากรมนุษย์ (Human resources)ต้ องเปลีย่ นเป็ นบริหารการลงทุน
กับคน (Human Capital)
5. การเพิม่ Productivity ทิศทางการเปลี่ยนแปลงค่าจ้างที่สูงจะต้องให้ความสาคัญ
ต่อผลิตภาพแรงงาน
4
การปรับเปลีย่ นทัศนคติ
ทั้งของนายจ้ างและลูกจ้ าง
1.
2.
3.
4.
5.
องค์ กรต้ องมองแรงงานเป็ นสิ นทรัพย์ (Asset) ที่เพิ่มมูลค่าในตัวได้ท้ งั ด้านความรู้
ความสามารถ ทักษะ หรื อความชานาญ
ทุนมนุษย์ เน้ นความสาคัญของความรู้ (Knowledge Driven) และการใช้สติปัญญามา
ใช้ให้เป็ นประโยชน์และเกิดข้อได้เปรี ยบแก่องค์กร
แรงงานเป็ นเจ้ าของทุนเป็ นผู้ตัดสิ นใจว่ าจะทางานที่ไหน เมื่อใด และอย่างไร จะเอาทุน
ของตนไปทางานกับองค์กรใดที่ให้ผลตอบแทนการลงทุนของเขาอย่างคุม้ ค่าที่สุด
ต้ องมียุทธศาสตร์ ในการใช้ ประโยชน์ การเคลือ่ นย้ ายแรงงานทักษะเสรี ท้ งั เชิงรุ กและรับ
ภาคการศึกษาจะต้ องมีการปรับตัวยกเครื่องทักษะด้ านภาษาอังกฤษและภาษาประเทศ
เพื่อนบ้าน รวมถึงการเรี ยนรู้เศรษฐกิจสังคมวัฒนธรรมและการเมืองของประเทศ
ASEAN
5
การปรับเปลีย่ นความสั มพันธ์ ระหว่ างองค์ กรกับพนักงาน
Human Capital Relation (HCM)
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
ปรับเปลีย่ นความสั มพันธ์ ระหว่ างนายจ้ างลูกจ้ าง เป็ น ผูล้ งทุนกับผูร้ ่ วมลงทุน
ต้ องลงทุนพัฒนาคน เพราะเมื่อลูกจ้างมีความรู ้ ความสามารถก็จะทาประโยชน์ให้แก่นายจ้างใน
ฐานะผูล้ งทุน
ปรับเปลีย่ นการพัฒนาทรัพยากรบุคคลเป็ นการพัฒนาทุนมนุษย์ เจ้าของทุนคือพนักงาน ที่เป็ นผู้
ร่ วมลงทุนและได้รับประโยชน์จากความก้าวหน้าและค่าตอบแทน
การพัฒนา “ทุนมนุษย์ ” เรื่องของการสร้ างความผูกพัน (Commitment) กับองค์กรด้วยการรักษา
ความสมดุลระหว่างคุณภาพชีวติ กับ การพัฒนาขีดความสามารถ
ต้ องมีวธิ ีการในการสร้ างความผูกพัน ที่เป็ นพันธะของพนักงานที่จะนาความรู้ความสามารถที่
พัฒนานั้นออกมาใช้ให้เกิดประโยชน์กบั องค์กรอย่างเต็มที่
การยกระดับคุณภาพชีวติ ของพนักงานต้ องเป็ นทีย่ อมรับ
ผลตอบแทนต้ องสามารถแข่ งขัน เป็ นที่ยอมรับและปั จจัยกระตุน้ ให้พนักงานมุ่งไปข้างหน้าถึงจะ
บรรลุเป้ าหมาย
6
แนวคิดทีว่ ่ าคนเป็ นศูนย์ กลางของการพัฒนา
ภายใต้ การเปิ ดเสรี AEC 2015
1.
2.
3.
4.
5.
ระดับมหภาคการเคลือ่ นย้ ายแรงงาน(ทักษะ)เสรีภายใต้ AEC 2015 อาจนาไปสู่ การ
ขาดแคลนแรงงานทักษะในประเทศ......หรื อไม่
ความเสี่ ยงของประเทศไทย ทุนมนุษย์ที่ได้รับการพัฒนาแล้วอาจนาออกไปทางาน
นอกประเทศ และไปใช้ให้เกิดประโยชน์แก่ประเทศคู่แข่ง
SMEs ซึ่ งมีขนาดที่เล็กกว่ าและไม่ สามารถนาระบบ HCM ที่เสนอผลตอบแทนที่
เพียงพอจะรักษาความจงรักภักดี (loyalty) ของพนักงานไว้ได้
เจ้ าของและผู้บริหารลงมาจะต้ องร่ วมกันพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ มอื อาชีพ ที่จะหา
วิธีการที่เหมาะสมทั้งกับองค์กรเองและพนักงานที่เป็ นเจ้าของ “ทุนมนุษย์”
ยุทธศาสตร์ ด้านทุนมนุษย์ จะต้ องมีการบูรณาการทั้งภาครัฐ ผูป้ ระกอบการและองค์กร
ลูกจ้าง จะต้องร่ วมกันพัฒนาทรัพยการมนุษย์มืออาชีพ ระดับภูมิภาค ในการรับมือกับ
การเคลื่อนย้ายแรงงานภายใต้การค้าเสรี (AEC 2015)
7
“ปัจจัยแห่งการประสบความสาเร็จ
อยู่ ที่ ค วามสามารถในการพัฒ นา
ทุ น มนุ ษ ย์ ข ององค์ ก ร โดยการ
บริ หารคนของตนเองให้ เ ข้ า ใจถึ ง
ความร่วมมือในการทางานร่วมกัน
ในฐานะเป็ นหุ้ น ส่ ว นทางธุ ร กิ จ
ไม่ใช่เป็ นนายจ้างลูกจ้าง”
8
THE END
9