26.จิตวิทยา-พฤติกรรมทางเศรษฐกิจ

Download Report

Transcript 26.จิตวิทยา-พฤติกรรมทางเศรษฐกิจ

พรมแดนความรู้ ใหม่ ระหว่ างเศรษฐศาสตร์ กบั จิตวิทยา
Behavioral Economics
ผศ. ดร. จิตรกร โพธิ์งาม
ตารากับความเป็ นจริง
 คนเราลงทุน เพือ่ แสวงหารายได้ เพิม
่ ขึน้ เพราะ
- อยากมีบ้านใหม่ ใหญ่ โตขึน้
- อยากให้ ลูก ๆ มีการศึกษาทีด่ ี
- อยากมีกองทุนบานาญทีเ่ พียงพอ ฯลฯ
แรงกระตุ้นต่ างกัน แต่ วตั ถุประสงค์ เดียวกัน :
to make money
 จะหาเงิน/รายได้ ให้ เพิม
่ มากขึน้ ก็ต้องมี “strategy” บางอย่ าง
ตารา (ต่ อ)
 ตารา สอนเราว่ า ในตลาดการเงิน เราต้ องมียุทธศาสตร์ การลงทุนที่
เหมาะสม ทีใ่ ห้ ผลตอบแทนดีทสี่ ุ ด
 ตารา บอกว่ า นักลงทุนทาทุกอย่ างเสมอเพือ่ ทีจ่ ะสามารถแสวงหา
ผลตอบแทนสู งสุ ด (maximization of returns)
 แต่ การวิจัยให้ ข้อสรุ ปว่ า ในความเป็ นจริงนักลงทุนไม่ ได้ เป็ น
rational man เลย (คนทีค่ ดิ แบบมีเหตุผล)
จิตวิทยา เป็ นเรื่องสาคัญ
 การวิจัยทางจิตวิทยา บอกเราว่ า การลงทุนย่ อมมีการสู ญเสี ย เสียเงินจะ
สร้ างความเจ็บปวดมากกว่ าการดีใจที่ได้ เงินหลายเท่ า ดังนั้นผู้ลงทุนจะ
หมกมุ่นอยู่กบั ปัญหาทีว่ ่ า ทาอย่ างไรจึงจะไม่ ต้องสู ญเสียมากในระยะสั้ น
โดยไม่ คดิ ถึงศักยภาพระยะยาวเท่ าใดนัก
 มนุษย์ เราย่ อมหลีกเลีย่ งการสู ญเสี ยและความเจ็บปวด จิตวิทยาจึงมี
ผลกระทบต่ อเศรษฐกิจและธุรกิจโดยตรง
จิตวิทยา (ต่ อ)
 การเลือก (หรือ การไม่ เลือก) ซื้อหุ้น
เป็ นต้ น ไม่ ใช่ เป็ นเรื่องของเหตุผล
ทางเศรษฐศาสตร์ (economic rationality) เท่ านั้น
หากแต่ มีจิตวิทยาเข้ ามาเกีย่ วข้ อง เช่ น ความกลัว ความโลภ และ
พฤติกรรมที่ “ไร้ เหตุผล” ต่ าง ๆ (irrational behavior)
 บางที ก็เป็ นเรื่องของ “คิดผิดพลาด” (mental mistakes) ซึ่ง
ทาให้ คนเราวิเคราะห์ ข้อมูลทีม่ ีอยู่ไม่ ถูกต้ อง (นาไปสู่
overvaluation หรือ undervaluation ได้ )
Behavioral Finance
 แนวโน้ มใหม่ ในวงการเศรษฐศาสตร์ คือ การพัฒนาทฤษฎี BF เพือ่
วิเคราะห์ ว่า ปัจจัยทางจิตวิทยา เช่ น อารมณ์ ความรู้สึก การคิดผิดพลาด
(mental mistakes) ส่ งผลเชิงลบต่ อนักลงทุนและการร่ าง
ยุทธศาสตร์ การลงทุนอย่ างไรบ้ าง
 BF เป็ นส่ วนหนึ่งของการประยุกต์ ทฤษฎีเศรษฐศาสตร์ แนวใหม่
Behavioral Economics ที่มาใช้ ในการวิเคราะห์ ตลาด
การเงิน
Mental shortcuts
 การวิจัยทางจิตวิทยา ชี้ว่า สมองของคนเรา มีแนวโน้ มที่จะใช้ วธิ ีการแบบ
ง่ ายๆ สั้ นๆ และรวดเร็ว เพือ่ แก้ไขปัญหาทีซ่ ับซ้ อนยุ่งยากแทนที่
จะใช้ ระบบย่ อยข้ อมูลทีล่ ะเอียดและรอบด้ าน เพือ่ หาคาตอบทีแ่ น่ นอน
สมองของคนเราจะใช้ “เครื่องช่ วย” บางอย่ างเพือ่ ค้ นหา คาตอบแบบ
ประมาณการอย่ างรวดเร็ว ซึ่งบางทีก่ ใ็ ห้ คาตอบทีผ่ ดิ
processing แบบง่ ายๆ และรวดเร็ว
อาจทาให้ เราเห็นแต่ “ภาพลวงตา”
 Information
ตัวอย่ าง Quiz ทางจิตวิทยา
 นักศึกษา มีข้อมูล ดังต่ อไปนี้
- น.ส. รสมาลิน เป็ นคนเงียบ ขยันทางาน และเป็ นคนทีม่ ีความห่ วงใยใน
เรื่องสิ่ งแวดล้อม (มลพิษ) ตอนเรียน ป.ตรี เธอเลือกเอกอังกฤษ และ
สิ่ งแวดล้อมศึกษา
- ขอให้ วเิ คราะห์ ข้อมูล ดังกล่าวนี้
ตัวอย่ าง (ต่ อ)
 แล้ วขอให้ ตอบว่ า น.ส.รสมาลิน เป็ นใคร :
ก. บรรณรักษ์ ของมหาวิทยาลัย
ข. บรรณรักษ์ และ สมาชิกกลุ่มรักษ์ แม่ มูล
ค. พนักงานธนาคาร
คาตอบทีถ่ ูกต้ อง คือ ..........?
ยุคไฮเทค กับ จิตวิทยา
 แม้ ว่า เราจะมีระบบการรวบรวมข้ อมูล และประมวลข้ อมูลทีด
่ ีขึน้
(โดย
ผ่ าน Internet และพลังอานาจทีส่ ู งขึน้ ของระบบ
microprocessors) แต่ การตัดสิ นใจขั้นสุ ดท้ ายก็ยงั ต้ องขึน้
อยู่กบั พฤติกรรมของมนุษย์ ซึ่งเป็ นเรื่องของจิตวิทยาทีเ่ ต็มไปด้ วย
ความหวาดกลัว ความวิตกกังวล ความรู้สึกต่ าง ๆ ไปจนถึงการคิดที่
ผิดพลาดหลายประเภท
 ด้ วยเหตุนี้ B
Econ. จึงเป็ นศาสตร์ ที่มีบทบาทมากขึน้ ใน
ภาคทฤษฎี+ปฏิบัติ
ภาพลวงตา
 โลกเรานี้ เต็มไปด้ วยภาพลวงตา
 สิ่ งทีเ่ ราเห็น อาจไม่ ใช่ ความจริง
 หากแต่ เป็ นเงาของความจริง
 เปรียบเทียบ เส้ นตรง 2 เส้ น แล้ วขอให้ ตอบว่ าเส้ นไหน ยาวกว่ ากัน ?
Behavioral Economics
เป็ นการผสมผสานกันระหว่ างจิตวิทยา กับ เศรษฐศาสตร์ เพื่อจะ
วิเคราะห์ ดูว่า ในระบบเศรษฐกิจ หรือ ในวงการธุรกิจ ทาไมนักธุรกิจ นัก
ลงทุน ผู้ประกอบการ หรือผู้บริโภค จึงมีขีดจากัด และมีความยุ่งยากใน
การตัดสิ นใจ เพือ่ แก้ไขปัญหาของตน (รวมทั้งมีความผิดพลาดด้วย)
 BE
 ในทางทฤษฎีเศรษฐศาสตร์ ทวั่ ไป ก็เป็ นเรื่องเกีย่ วกับ “พฤติกรรม” ของ
ผู้คนในระบบเศรษฐกิจอยู่แล้ว
ทาไม จึงต้ องมี BE ?
BE (ต่อ)
 ข้ อสมมติฐานไม่ เหมือนกัน
 เศรษฐศาสตร์ กระแสหลัก (mainstream
economics,
ME) หรือ นีโอคลาสสิ ค มองมนุษย์ ว่าเป็ น homo
economicus คิดคานวณ ต้ นทุน/กาไร ไร้ ความรู้สึก เป็ น
maximizer
 นั่น เป็ นข้ อมูลสมมติฐานทีเ่ ลือ่ นลอยห่ างไกลความเป็ นจริง
 BE ต้ องการชี้ให้ เห็นว่ า พฤติกรรมที่เป็ นจริงเป็ นอย่ างไร ? และมี
ความหมายต่ อเศรษฐกิจและธุรกิจอย่ างไร ?
เศรษฐศาสตร์ กระแสหลัก ME
 ME
มีข้อสมมติฐานหลัก 3 ข้ อใหญ่ ๆ :
- unbounded rationality
- unbounded willpower
- unbounded selfishness
ไร้ ขีดจากัด (สุ ดขั้ว)
Bounded Rationality
SIMON ผู้เสนอแนวคิด BR : มนุษย์ เรามีความสามารถใน
การรับรู้ทจี่ ากัด (เกีย่ วกับการหาข้ อมูล ประมวลผลและวิเคราะห์ ข้อมูล,
จึงต้ องอาศัย heuristics เครื่องช่ วยหลายแบบในการค้นหา
คาตอบเพือ่ การตัดสิ นใจ
 H.
 ในโลกทีเ่ ป็ นจริง ไม่ มี rationality 100%
 นักลงทุนทีม
่ ีสภาวะจิตแบบ overconfidence พร้ อมทีจ่ ะซื้อ/
ขายหุ้น ทั้งๆทีไ่ ม่ ค่อยจะมีข้อมูลทีแ่ ท้ จริง
Bounded willpower
 ในโลกทีเ่ ป็ นจริง
มนุษย์ ไม่ สามารถควบคุมตัวเองได้ 100% เพือ่
ผลประโยชน์ ระยะยาว (ต้ องทางานหนัก/ ออมทรัพย์ เพือ่ หลัง
เกษียณอายุ) มนุษย์ ทวั่ ไป บางที ก็ใช้ เงินมากไป ประหยัดน้ อย ทางาน
บ้ าง เป็ นหนีส้ ิ น หรือชอบทาแบบผลัดวันประกันพรุ่ง
KEYNES : in the long run we are all dead !
Bounded selfish
 การคิดถึงตนเอง v. การคิดถึงส่ วนรวม
เป็ นสมบัติของคนธรรมดา
ทัว่ ไป
 ทฤษฎี กระแสหลัก บอกว่ า การคิดถึงผลประโยชน์ ส่วนตน คือ บ่ อเกิด
ของความมั่งคัง่
 ในโลกทีเ่ ป็ นจริง ผู้คนมีแนวโน้ มทีจ่ ะทาบุญให้ ทานไม่ มากก็น้อย และไม่
ละเลยทีจ่ ะคิดถึงประโยชน์ สาธารณะ
Bounded Rationality
เวลา /ทรัพยากร/ ความรู้
มีจากัด
ความสามารถในการประมวลผล
เกีย่ วกับข้ อมูลข่ าวสาร มีจากัด
ยุทธศาสตร์ การตัดสิ นใจ
ทีง่ ่ ายและรวดเร็ว
ขีดจากัดในการรับรู้ / เข้ าใจ/
เรียนรู้ (cognitive limits)
(Irrationality)
การมีเหตุผลทีไ่ ม่ ชัดเจน
ความผิดพลาดในกระบวนการคิด
(reasoning errors)
เพือ่ หาข้ อสรุป
การประยุกต์ ใช้ BE
 ตัวอย่าง :
-
Behavioral Finance
 - Saving (life-cycle model)
 - Policy-Making Process ในองค์กรเพื่อการเปลี่ยนแปลง
 - Laura Croft กับมนุษย์กินคน
เศรษฐศาสตร์ ทางเลือก
Alternative Economics
 ในระยะหลัง ๆ เศรษฐศาสตร์ กระแสหลัก (neo-classical
economics) ต้องพบกับการถูกวิพากษ์วิจารณ์มากขึ้นว่า มีขอ้
สมมติฐานที่เลื่อนลอยไม่ค่อยสอดคล้องกับความเป็ นจริ ง ไม่สามารถ
อธิบายปรากฏการณ์ในระบบเศรษฐกิจได้อย่างน่าพอใจ การแสวงหา
“เศรษฐศาสตร์ทางเลือก” จึงเกิดขึ้น หนึ่งในทางเลือกใหม่ ๆ เหล่านั้น คือ
behavioral economics
 NEF (New Economics Foundation) ได้สรุ ป
พัฒนาการใหม่ ๆ ของ behavioral economics ทั้งด้าน
แนวคิดทฤษฎีและหลักการพื้นฐาน 7 ข้อ ที่จะเป็ นประโยชน์ต่อการวาง
นโยบายเศรษฐกิจสังคม
หลักการ 1
 พฤติกรรมของผู้อน
ื่ มีอทิ ธิพลสาคัญต่ อเรา
 - ผู้คนมักจะทาหลายสิ่ งหลายอย่ างโดยมองจากผู้อน
ื่ หรือทาเลียนแบบ
ผู้อนื่
 - ผู้คนจะทาสิ่ งนั้นต่ อไป เมื่อรู้ สึกว่ า ผู้อน
ื่ เห็นด้ วยกับพฤติกรรม ของ
เขา
หลักการ 2
 นิสัยและความเคยชิ น เป็ นเรื่องสาคัญ :
ผู้คนทาหลายสิ่ งหลายอย่ าง โดยไม่ ได้ นึกคิดอย่ างมีความสานึก (เพราะ
ความเคยชิน)
 - นิสัยหลายอย่ างยากทีจ่ ะเปลีย่ น
 - แม้ ว่า ต้ องการเปลีย่ น ก็ทาได้ ยาก
-
หลักการ 3
 เงินและรายได้ ไม่ ใช่ เป็ นแรงกระตุ้น เสมอไป
 ผู้คนทาบางสิ่ งบางอย่ าง เพราะต้ องการทาในสิ่ งทีถ่ ูกต้ อง
(intrinsic motivation) ไม่ ใช่ ต้องการเงินทอง
 (extrinsic
เงินทอง)
motivation หวังการตอบแทนทางวัตถุและ
หลักการ 4
 การคาดหวังเกีย่ วกับตนเอง มีอท
ิ ธิพลต่ อพฤติกรรม
- การกระทาของผู้คน จะเป็ นไปอย่ างสอดคล้องกับค่ านิยมและพันธกิจ
ของพวกเขา (รวมทั้งทัศนคติ)
หลักการ 5
 ผู้คน มักหลีกเลีย่ งการสู ญเสี ย และยึดมั่นถือมั่นกับสิ่งทีเ่ ป็ นของเขา
- ระหว่ าง การได้ กับ การสู ญเสี ย : สิ่ งหลังสาคัญกว่ าสิ่ งแรก
หลักการ 6
 ผู้คนมักมีความยุ่งยากในการตัดสิ นใจ :
- มีแนวโน้ มทีจ่ ะเน้ นปัจจุบันไม่ มองอนาคต
- ไม่ รู้เรื่องความเป็ นไปได้ เท่ าใดนัก
- วิตกกังวลเกีย่ วกับเหตุการณ์ ทไี่ ม่ น่าจะเกิดขึน้
- การตัดสิ นใจ ขึน้ อยู่กบั รูปแบบของการเสนอปัญหา
หลักการ 7
 ผู้คนต้ องมีความรู้ สึกว่ า เข้ ามามีส่วนร่ วมในกระบวนการแก้ไขปัญหา
การเปลีย่ นแปลงจึงจะเกิดขึน้
- ผู้คนค้ นหาทางเลือกเอง ตัดสิ นใจเองและรู้แน่ นอนว่ าทาไปแล้ วจะมี
ความสุ ข
- ทาเช่ นนี้ จึงจะเปลีย่ นพฤติกรรมของคนในองค์กรได้
ความสาคัญของหลักการ
 หลักการทั้ง 7 ข้ อ นีไ้ ด้ มาจากการวิจัยทางด้ าน behavioral
economics ต้ องการจะบอกเราว่ า ในการตัดสิ นใจทางนโยบาย
ของผู้บริหารองค์กร (เศรษฐกิจ หรือธุรกิจ หรือทีเ่ กีย่ วข้ องกับ
สิ่ งแวดล้อม/นิเวศวิทยา) เราจาเป็ นที่จะต้ องให้ ความสาคัญแก่เรื่องของ
พฤติกรรมของคนในองค์กร จึงจะสามารถเข้ าใจปัญหาการปรับตัว/ไม่
ปรับตัว และการเปลีย่ นแปลงพฤติกรรมได้
ข้ อเสนอแนะที่สาคัญ
KAHNEMAN เป็ นนักจิตวิทยาคนสาคัญ ได้ รับรางวัล
โนเบลทางเศรษฐศาสตร์ ปี 2002 เพราะได้ บุกเบิกสิ่ งใหม่ ๆ ทางวิชาการ
ทีไ่ ม่ ค่อยมีคนเคยทากันนัก นั่นคือ นาเอาข้ อค้ นพบทางการวิจัยจิตวิทยา
มาผสมผสานกับการวิเคราะห์ ทางเศรษฐศาสตร์ จนเกิดศาสตร์ ใหม่ :
behavioral economics
 D.
สรุปว่ า คนเรามักจะมี “cognitive
illusions” (คล้ายภาพลวงตา) จึงทาให้ ตัดสิ นใจผิดพลาด วิธีแก้ไข
คือ ต้ องส่ งเสริมกระบวนการเรียนรู้ทเี่ น้ นการวิพากษ์ (critical) และ
การวิเคราะห์ เชิงวิทยาศาสตร์ เราจึงจะมีความคิดความเชื่อและ
ความชอบที่ไม่ ผดิ พลาด
 KAHNEMAN
Managerial Economics at Yorktown
University, USA.

Economic Freedom and the Study of
Economics
 Friedrich Hayek’s Road to Serfdom revealed
a
correlation between the political and economic
realms : one road leads to despotism, the other
to freedom. Yorktown University’s courses in
Economics are founded on that insight and the
choice of freedom first taken by those early
Americans whose spirit is remembered as the
“Spirit of ’76.”
 There
is a correlation between state
power, the political freedom and liberties of
citizens, and economic freedom. If one is
constrained, the other is limited, as a
consequence. Thus Economics is
fundamental to the character of
government, and to the relationship
between free citizens and their
government.
 By
changing economic rules, a free
people that are ignorant of economics
can easily transform elected
governments into engines for the
abuse of state power.