การจัดการความรู้
Download
Report
Transcript การจัดการความรู้
การจัดการความรู ้
Knowledge Management
น.อ.หญิง สุพชิ ชา แสงโชติ
• ความรูเ้ ป็ นทรัพยากรทางเศรษฐกิจที่มีอทิ ธิพลสาคัญอย่างมาก
• ความรูเ้ ป็ นปัจจัยชี้ขาดของความได้เปรียบในการแข่งขัน
• ความรู ้ หมายถึง ความรูท้ ่จี ะนาไปประยุกต์ใช้ในการทางาน
(knowledge in application)
Peter F. Drucker
ความรู ้
ความรู ้
ความรู ้ คือ สารสนเทศที่มีคณ
ุ ค่าซึ่งมีการนาประสบการณ์
วิจารณญาณ ความคิด ค่านิ ยมและปัญหาของมนุ ษย์ มาวิเคราะห์
เพื่อนาไปใช้ในการสนับสนุ นการทางาน หรือใช้ในการแก้ปญั หา
“ Information in Action”
O’Dell & Grason, 1998
• ความรูเ้ ป็ นหัวใจสาคัญที่จะสร้างมูลค่าให้เกิดขึ้นในองค์การ
• องค์การจะอยู่รอดได้และสร้างความได้เปรียบในการแข่งขันได้
อย่างยัง่ ยืน หากมีการใช้ความรูใ้ นการพัฒนาการทางานและ
แก้ปญั หาให้กบั องค์การได้อย่างมีประสิทธิภาพ
• ความรูเ้ ป็ นสิง่ ที่ช่วยให้การทางานมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล
โดยที่องค์กรอืน่ ไม่สามารถลอกเลียนแบบได้
ข้อมูล สารสนเทศ ความรู ้
ประสบการณ์ ความคิด
สารสนเทศ
Knowledge
ประมวลผลข้อมูล
Information
ข้อมูล
Data processing
Data
Know-How
ความรู ้
ทิพวรรณ หล่ อสุวรรณรั ตน์
ข้อมูล สารสนเทศ ความรู ้
ความสัมพันธ์
ปัญญา
ความรู ้
สารสนเทศ
ทำให้เข้ำใจ
หลักกำร
ทำให้เข้ำใจ
รูปแบบ
ควำมสัมพันธ์
ทำให้เข้ำใจ
ควำมสัมพันธ์
ข้อมูล
ความเข้าใจ
Gene Bellinger, 2005
• หลีกเลี่ยงความผิดพลาดในเรื่องเดิมๆ
เพราะมีการนาบทเรียนขององค์กรมาเก็บไว้อย่างเป็ นระบบ
• รักษาบุคลากรในองค์กรที่มีความรูค้ วามสามารถ
• แบ่งปันการปฏิบตั งิ านที่ดีท่สี ดุ sharing of best practice
• ช่วยในการแก้ปญั หาได้งา่ ยและรวดเร็วขึ้น
• ลดผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลง การเกษียณอายุของบุคลากร
• ฯลฯ
Skyrme, 2000.
การจัดการความรู ้
และ
องค์การแห่งการเรียนรู ้
องค์การแห่งการเรียนรู ้ กับ การจัดการความรู ้
องค์การ
แห่งการเรียนรู ้
องค์การแห่งความรู ้
การจัดการความรู ้
การเรียนรูข้ ององค์การ
องค์ประกอบขององค์การแห่งการเรียนรู ้
กลยุทธ์
โครงสร้าง
องค์การ
คน
การ
ประเมินผล
วัฒนธรรม
เทคโนโลยี
สารสนเทศ
ทิพวรรณ หล่ อสุวรรณรั ตน์
สร้างความรู ้
ประยุกต์ใช้
ความรู ้
ประมวล
ความรู ้
เผยแพร่
ความรู ้
ประเภทความรูข้ ององค์กร
ความรู้ จาก
ประสบการณ์
ความรู้ ทสี่ ามารถ
ถ่ ายทอดได้
ความรู้ ทเี่ ป็ น
แนวคิด
ความรู้ เชิง
กระบวนการ
ความรู้ ด้านสั งคม
ความรู้ เกีย่ วกับ
เหตุการณ์ ต่างๆ
National Aeronautics and Space Administration.
ความรู้ แบบ
ไม่ ชัดแจ้ ง
คณะทางาน
การใช้เทคโนโลยี
กลยุทธ์ท่ใี ช้
การเข้าถึงความรู ้
การแลกเปลี่ยนความรู ้
เป้ าหมาย
การสร้างความรู ้
การประมวลความรูแ้ ละเรียนรู ้
ช่องทางการเรียนรู ้
กิจกรรมการจัดการความรู ้
คน
เทคโนโลยี
กระบวนการ
•
•
•
•
การสร้างความร่วมมือทางไกล
ชุมชนแนวปฏิบตั ิ CoP
ให้รางวัล ให้ตระหนักถึงการแบ่งปันความรู ้
การแลกเปลี่ยนเรียนรู ้
• การดึงความรู ้
• การจัดการสารสนเทศ
•
•
•
•
การบูรณาการระบบ
การจัดทาคลังข้อมูล
ใช้ประโยชน์จาก intelligent agents
ใช้ประโยชน์จากผูเ้ ชี่ยวชาญ
National Aeronautics and Space Administration.
ตัวอย่าง
การจัดการความรู ้
การจัดการความรูข้ อง CPAC
คณะทางานกิจกรรมกระตุน้
ให้เกิดการถ่ายทอดความรู ้
ส่ง mail list แจ้ง
ข้อมูลให้บคุ ลากร
บุคลากรร่วมกิจกรรม
ถ่ายทอดความรู ้
คณะทางานคัดเลือก
เรื่องดีเด่น
บุคลากรเข้าศึกษา
หัวข้อที่สนใจ
คณะทางานกลัน่ กรอง
ความรู ้
Web KM
upload
CPAC
การจัดการความรูแ้ บบ CPAC competency
CPAC competency
การจัดการความรูข้ อง รพ.ศิรริ าช
๒. การสือ่ สาร
๑. การจัดการ
๓. กระบวนการและเครื่องมือ
การเปลี่ยนแปลงและพฤติกรรม
๖. การยกย่องชมเชย
๔. การเรียนรู ้
การให้รางวัล
๕. การวัดผล
รพ.ศิริราช
องค์การแห่งการเรียนรู ้ กับ การจัดการความรู ้
องค์การ
แห่งการเรียนรู ้
องค์การแห่งความรู ้
การจัดการความรู ้
การเรียนรูข้ ององค์การ