หลักเกณฑ์ว่าด้วยการตลาด 2551

Download Report

Transcript หลักเกณฑ์ว่าด้วยการตลาด 2551

Code of Marketing
หลักเกณฑ์ว่าด้วยการตลาด
อาหารสาหรับทารกและเด็กเล็ก
และ ผลิตภัณฑ์ที่เกี่ยวข้อง 2551
Miriam ตั้งครรภ์ ท2ี่ ครรภ์ แรกคลอดทีโ่ รงพยาบาลอืน่ ทีโ่ รงพยาบาลนั้น Miriam
ได้ รับแผ่ นเอกสารทีม่ สี ี สวยงามเกีย่ วกับการใช้ นมผสม ได้ คูปองลดราคานมระหว่ าง
ตั้งครรภ์ นมผสม1 กระป๋ อง ขวดนมและจุกนมคุณภาพดี เมือ่ กลับบ้ าน
The effect of marketing on infant feeding practices
ของขวัญที่Miriamได้ รับมีผลกระทบอย่ างไรต่ อการ
ตัดสินใจเลือกชนิดอาหารทารก
การตลาดและการส่ งเสริมการขายอาหารทดแทนนมแม่ ทา
ให้ การเลีย้ งลูกด้ วยนมแม่ ลดลงและมีแนวโน้ มลดลงทั่วโลก
ข้ อมูลเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ ของบริษัทมีเป้าหมายเพื่อขายผลิตภัณฑ์ จึง
มีโอกาสbias สูง ทาให้ หญิงตัง้ ครรภ์ หรื อแม่ มีโอกาสที่จะได้ รับข้ อมูลที่ไม่
ถูกต้ อง ไม่ สามารถตัดสินใจเลือกอาหารทารกได้ ถูกต้ อง
ข้ อมูลที่ไม่ ถูกต้ องจากครอบครั ว เพื่อน บุคลากรทางการแพทย์
สามารถลดความเชื่อมั่นเรื่ องการเลีย้ งลูกด้ วยนมแม่ ในกลุ่มแม่ ท่ ีมีความรู้ ดี
เกี่ยวกับการเลีย้ งลูกด้ วยนมแม่
ช่องทางการตลาดที่บริษทั นมใช้
□ television and radio
advertising
□ newspapers and
magazines advertising
□ bill board advertising
□ promotional websites
□ reduced prices
□ mailings to pregnant
women and mothers
□ discount coupons
□ phone help lines
□ posters, calendars etc.
in doctors offices and
hospitals
□ doctor nurse ให้ การ
รับรองว่ าใช้ ได้
□ free gifts
□ free samples
□ special offers
□ educational materials
Examples of violations
Mead Johnson
gifts
Nestle
posters, calendars
in doctors offices
and hospitals
calendars
เมจิ
เอนฟาแลค
Posters-clock
free gifts
Nestle
Shelf talkers
คูปองลดราคา
เป็ นเพียงป้ ายบอกราคา?
หรือเครื่องมือส่งเสริมการขาย?
International Code of Marketing of Breast Milk Substitutes
• โรงพยาบาลสายสัมพันธ์ แม่ ลูกปฏิบตั ติ าม International Code
of Marketing of Breast Milk Substitutes--> ปี 1981 World
Health Assembly (WHA) โดย Member States จุดมุ่งหมาย
เพื่อ protect breastfeeding and to protect ทารกส่ วนน้ อยที่
ได้ รับartificial feeding . มีการทบทวนมติ( Subsequent
resolutions ) ทุก2 ปี ได้ รับการตกลงจากWHA ซึ่งมีสถานะ
เท่ าเทียม the original Code
ประวัติความเป็ นมาในประเทศไทย (1)
• 2524 หลักเกณฑ์วา่ ด้วยการโฆษณาและจาหน่าย
อาหารทดแทนนมแม่และผลิตภัณฑ์ทเ่ี กีย่ วข้อง
• 2527 ปรับปรุงหลักเกณฑ์ให้สอดคล้องกับกลวิธี รพ.
สายสัมพันธ์แม่-ลูก
• 2538 หลักเกณฑ์วา่ ด้วยการตลาดอาหารสาหรับ
ทารกและเด็กเล็ก และ ผลิตภัณฑ์ทเ่ี กีย่ วข้อง
• พ.ศ. 2551 – หลักเกณฑ์วา่ ด้วยการตลาดอาหาร
สาหรับทารกและเด็กเล็กและผลิตภัณฑ์ทเ่ี กีย่ วข้อง
ความมุ่งหมาย
เพื่อส่งเสริมให้ทารกได้EBF 6 เดือน และได้นม
แม่ควบคู่กบั อาหารเหมาะสมตามวัยจน
อายุครบ 2 ปี
ได้รบั อาหารที่ปลอดภัยและมีคณ
ุ ค่า
ทางโภชนาการอย่างเพียงพอ
สอดคล้องกับการเจริญเติบโต
และพัฒนาการตามวัย
การปฏิบตั ิ เพื่อให้บรรลุจดุ มุ่งหมาย
การปกป้อง ส่ งเสริมและ
สนับสนุนการเลีย้ งลูกด้ วยนมแม่
หากต้ องใช้ อาหารทดแทนนมแม่
ควรใช้ เมื่อมีความจาเป็ น
ได้ รับข้ อมูลเพียงพอ ถูกต้ อง เหมาะสมเกี่ยวกับ
การให้ อาหารทารก
ควบคุมกากับด้ านการตลาดและการจาหน่ ายที่
เหมาะสม
หลักเกณฑ์ ว่าด้ วยการตลาดฯ คืออะไร (1)
 คือ เครือ
่ งมือที่มีลกั ษณะเฉพาะและจาเป็ นอย่างยิ่งสาหรับ
การปกป้ องและส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ โดยการ
ควบคุมการดาเนินการ ด้านการตลาด ของบริษทั
ประกอบธุรกิจอาหารสาหรับทารกและเด็กเล็ก ซึ่งจะต้องมี
การควบคุมที่แตกต่าง ไปจากธุรกิจอื่นๆ เป็ นหลักเกณฑ์
ขัน้ ตา่ ได้รบั การรับรองจากประเทศสมาชิกในสมัชชา
อนามัยโลก(WHA) ในปี ค.ศ.1981
หลักเกณฑ์ ว่าด้ วยการตลาดฯ คืออะไร




เป็ นเครื่องมือสาหรับ
การควบคุมการดาเนินการด้าน
การตลาดที่ ขาดจรรยาบรรณ
ควบคุมการโฆษณาที่ผิดๆ หรือชักนาไปทางที่ผิด
กาหนดบทบาท หน้ าที่และส่วนเกี่ยวข้องของบุคลากร
ทางการแพทย์และ สาธารณสุข สถานบริการฯ และ
ระบบบริการสุขภาพ
ความรับผิดชอบของรัฐบาล
Codeไม่ได้ควบคุมการขายหรือการใช้ผลิตภัณฑ์
• The Code ไม่ ได้ บังคับแม่ ให้ เลีย้ งลูกด้ วยนมแม่ ถ้ าแม่ ไม่
ต้ องการ จุดมุ่งหมายหลักของThe Code ประกันว่ าแม่ ทุกคน
จะได้ รับข้ อมูลเกี่ยวกับอาหารทารกที่ถูกต้ องและไม่ มีอคติ
• The Code ปกป้องทารกที่ได้ รับนมผสมให้ ได้ รับอาหารทารก
ที่เหมาะสม ดีต่อสุขภาพของเด็ก The Code กาหนดให้ ระบุ
คาเตือนวิธีเตรียมนมที่ถูกต้ องและปลอดภัย
• The Code กาหนดการผลิตให้ ได้ คุณภาพและปลอดภัย
ในระดับโลกมีสถานะเป็ น “ recommendation”
• เป็ นมาตรฐานขัน้ ตา่
• ประเทศสมาชิกที่นาไปจัดทา จะต้องนา
ข้อกาหนดทัง้ หมดไปใช้ และอาจเสริมกฎเกณฑ์
ต่างๆเพิ่มเติมเพื่อให้ Code มีความเข้มแข็งขึน้
สาหรับประเทศไทย
Code เป็ นแค่หลักเกณฑ์ ไม่ใช่กฎหมาย
ข้ อกาหนดของหลักเกณฑ์ นานาชาติ
•
•
•
•
•
•
• หมวด 7 : บุคลากรทางการ
หมวด 1 : ความมุ่งหมาย
ทางการแพทย์ และสาธารณสุข
หมวด 2 : ขอบเขต
• หมวด 8 : พนักงานของผู้ผลิต
หมวด 3 : นิยาม
ผู้นาเข้ าและผู้จาหน่ าย
หมวด 4 : การให้ ข้อมูล
• หมวด 9 : ฉลาก
ข่ าวสารและการให้ ความรู้
• หมวด 10 : คุณภาพ
หมวด 5 : แม่ และประชาชน
• หมวด 11 : การนาสู่ปฏิบัตแิ ละ
หมวด 6 : ระบบบริการสุขภาพ
กากับติดตาม
ผลิตภัณฑ์ในขอบเขตของCODE
ก. อาหารทดแทนนมแม่
 นมดัดแปลงสาหรับทารก อาหารทารก
 นมดัดแปลงสูตรต่อเนื อ่ งสาหรับทารกและเด็กเล็ก
อาหารสูตรต่อเนื อ่ งสาหรับทารกและเด็กเล็ก
 อาหารตามวัยสาหรับทารกและเด็กเล็ก
 อาหารอืน่ ทีม่ ีวตั ถุประสงค์เพือ่ ใช้สาหรับทารก
ผลิตภัณฑ์ในขอบเขตของCODE
ข. ผลิตภัณฑ์ทีเ่ กีย่ วข้อง
- ภาชนะบรรจุ ขวดนม จุกนมยาง
หัวนมหลอก และอุปกรณ์ทีใ่ ช้หรือ
มีความมุ่งหมายทีจ่ ะใช้กบั สิง่ ดังกล่าว
ค. ผลิตภัณฑ์อืน่ ๆทีก่ ระทรวงสาธารณสุขกาหนด
• The Code :
- ไม่ ห้ามการผลิตหรือการจาหน่ ายอาหารทดแทน
นมแม่
- ไม่ มีผลกระทบต่ อการใช้ อาหารเสริมอย่ าง
เหมาะสมตามวัยหลังทารกอายุ 6 เดือน
การให้ ข้อมูลของผลิตภัณฑ์
•
ผลิตภัณฑ์ ต้ องระบุประโยชน์ และคุณค่ าที่เหนือกว่ าของ
การเลีย้ งลูกด้ วยนมแม่ ควรใช้ เมื่อบุคลากรทางการแพทย์ แนะนา
ควรต้ องมีคาเตือนถึงอันตรายของนมผสมถ้ าใช้ ไม่ ถูกต้ อง ต้ องไม่ มี
รู ปทารกหรื อรู ปอื่นๆ ข้ อความที่ชักจูงให้ อยากใช้ อาหารทดแทน
นมแม่
ข้ อมูลของผลิตภัณฑ์ ข้ อมูลส่ วนประกอบของ
ผลิตภัณฑ์ ที่ให้ แก่ แพทย์ พยาบาล นัก
โภชนาการ และ วิชาชีพอื่นๆ ที่เกี่ยวข้ องจะต้ อง
เป็ นวิทยาศาสตร์ และเป็ นความจริง ไม่ ใช่ ใช้ เป็ น
สื่อส่ งเสริมการตลาด และข้ อมูลของผลิตภัณฑ์
ไม่ ควรแจกให้ แก่ หญิงตัง้ ครรภ์ มารดา
สื่อและเอกสารเกี่ยวกับการให้ อาหารทารกที่ให้ แก่ มารดาต้ อง
ระบุ
 ความสาคัญของการให้ นมแม่
 ผลกระทบต่ อสุขภาพเมื่อใช้ bottle-feeding
ผลกระทบทางด้ านเศรษฐกิจ
ความยากลาบากในการกลับมาให้ นมแม่ อกี
หลังจากตัดสินใจเลิกให้ นมแม่
ตัวอย่ างอาหารทดแทนนมแม่ และการจัดหา

ห้ ามใช้ สถานบริการทางการแพทย์ และสาธารณสุขเป็ นที่
ส่ งเสริมการใช้ ผลิตภัณฑ์ รวมทัง้ ห้ ามการบริจาคสินค้ าฟรี
หรือการจาหน่ ายในราคาถูก ทารกที่จาเป็ นต้ องใช้ นมผสม
มีจานวนน้ อยและใช้ ในปริมาณน้ อย ดังนัน้ นมผสมที่
จาเป็ นต้ องให้ กับทารกซึ่งมีจานวนน้ อยจึงควรได้ มาใน
วิถีทางที่ไม่ ขัดขวางการปกป้องและส่ งเสริมการเลีย้ งลูก
ด้ วยนมแม่ ในทารกจานวนมาก ต้ องซือ้ ตามปกติไม่ ได้ รับมา
ด้ วยการบริจาคหรือซือ้ มาในราคาถูก
 ห้ ามแจกจ่ ายตัวอย่ างอาหารทดแทนนมแม่ ของขวัญ
และผลิตภัณฑ์ ท่ เี กี่ยวข้ องแก่ หญิงตัง้ ครรภ์ แม่ และ
สมาชิกอื่น ในครอบครัว ทัง้ ทางตรงและทางอ้ อม
ตัวอย่ างอาหารทดแทนนมแม่ และการจัดหา
 รัฐบาลอาจแจกนมผสมหรือขายให้ แม่ ในราคาถูก เพื่อเป็ น
สวัสดิการสังคมได้ เช่ น แม่ ท่ Hี IV-positive แต่ ต้องจัดหาให้
เพียงพอแก่ ความต้ องการของทารก
 นมที่ทารกได้ รับไม่ ควรเป็ นนมบริจาค เพราะผู้บริจาคอาจ
หยุดบริจาคนมเมื่อใดก็ได้ ทารกที่ไม่ ได้ กินนมแม่ ต้ องการ
นมผสมมากถึง20 kg ในช่ วงอายุ6 เดือนแรกและต้ องมี
เพียงพอจนอายุ 2 ปี
 ผลิตภัณฑ์ ต้องมีhigh quality จัดเก็บอย่ างเหมาะสมตาม
สภาพภูมิอากาศของแต่ ละประเทศ ไม่ ควรใช้ ผลิตภัณฑ์ ท่ ี
หมดอายุ
ช่องทางการส่งเสริมการขายผ่านระบบบริการสุขภาพ
HEALTH SYSTEM MARKETING CHECK LIST
□ Free samples
□ Free supplies to hospitals and to individual health
professionals
□ Small gifts เช่น pens, prescription pads, growth charts,
calendars,posters and less expensive medical equipment
□ Large gifts เช่น incubators, machines, fridges, air
conditioners,computers
□ Gifts of professional services เช่น architectural design of
hospitals, organisation of events
□ Personal gifts เช่น holiday trips, electrical goods, meals,
and entertainment
ช่องทางการส่งเสริมการขายผ่านระบบบริการสุขภาพ
HEALTH SYSTEM MARKETING CHECK LIST
□ Sponsorship of hospitals, clinics, health worker
associations
□ Funding of research grants and salaries
□ Support to attend professional events and for
professional associations
□ Financial sponsorship of students และมีผแู้ ทนนมอยู่
ด้วยขณะฝึ กอบรมซึ่งรวมถึงการสอนเรื่อง infant feeding
coursesโดยใช้ของจริง
□ Sponsorship of conferences, seminars andสิ่งพิมพ์
ช่องทางการส่งเสริมการขายผ่านระบบบริการสุขภาพ
HEALTH SYSTEM MARKETING CHECK LIST
□ Advertisements in journals and similar publications, ที่มองดู
เหมือนการให้ข้อมูลผลิตภัณฑ์แต่จดุ ประสงค์ที่แท้จริงคือการโฆษณา
□ Research reports ที่ส่งเสริมการใช้ผลิตภัณฑ์อย่างเด่นชัด
□ สร้างFriendly relations กับ health workersให้เกิดความรู้สึกที่ดี
เช่น ส่งcards, ซื้อขนมหรืออาหารมาฝากเจ้าหน้ าที่
□ สร้างClose relationships กับบุคลากรกระทรวงสาธารณสุข
□ ผูแ้ ทนผลิตภัณฑ์เยี่ยมแพทย์ที่ทา
private practice, health institutions and ministries
บทบาทบุคลากรทางการแพทย์ :
บุคลากรทางการแพทย์ช่วยปกป้ องทารกและแม่จากการดาเนินการ
ด้านการตลาดของบริษทั นมผสมได้โดย
- Remove posters that advertise formula, teas, juices or baby
cereal, advertise bottles and teats และไม่รบั new posters.
- ไม่รบั free gifts จากบริษทั
- ไม่อนุญาตให้แจก free samples, gifts, or leaflets แก่แม่
- ไม่ให้จดั antenatal group teaching เรื่องformula preparation
แก่ pregnant women ห้าม staff ของบริษทั นมสอน
บทบาทบุคลากรทางการแพทย์ :
- สอนวิธีการใช้นมผสมในทารกที่มีความจาเป็ นต้องใช้จริงๆ และ
ต้องสอนในที่เฉพาะ
- ช่วยการรายงานการฝ่ าฝื นthe Code (and/or local laws) ไปสู่
หน่ วยงานที่มีอานาจจัดการได้
- รับได้เฉพาะproduct information จากบริษทั ซึ่งข้อมูลเหล่านัน้ ต้อง
เป็ นวิทยาศาสตร์และเป็ นความจริง ไม่ใช่การโฆษณาผลิตภัณฑ์
• โรงพยาบาลต้องปฏิบตั ิ ตามthe International Code และ มติต่อมา
ของสมัชชาอนามัยโลก เพื่อประเมินเป็ นbaby-friendly.
การบริจาคนมผสมในสถานการณ์ ฉุกเฉิน
ในสถานการณ์ ฉุกเฉิน น้าสะอาดและเชื้อเพลิงหาได้ยาก ในการ
เตรียมนมผสมอย่างปลอดภัย
การใช้นมผสมในสถานการณ์ ฉุกเฉิน เพิ่มความเสี่ยงต่อ
malnutrition, disease, and death.
เด็กเล็กที่ไม่ได้กินนมแม่ ไม่ได้รบั ภูมิค้มุ กันจากนมแม่ ทาให้
เสี่ยงต่อ infection and illness.
ในสถานการณ์ ฉุกเฉิน การบริจาค infant formula, foods และ
ขวดนม มาจากหลายแหล่งด้วยเจตนาที่ดี สื่อมวลชนให้ข้อมูลที่
ทาให้ผบู้ ริจาคเชื่อว่าแม่ไม่สามารถให้นมแม่ได้ในภาวะวิกฤต
การบริจาคนมผสมในสถานการณ์ ฉุกเฉิน
• ควรปฏิเสธการรับบริจาคนมผสมเพราะส่งผลให้เกิด:
- ได้รบั บริจาคinfant formula มามากๆ ทาให้ทารกที่ไม่มีความ
จาเป็ นต้องใช้formula ได้รบั ไปด้วย มีปัญหาการจัดเก็บ เกิดขยะที่
มากเกินไปจากกระป๋องนมและการบรรจุหีบห่อ
- Advertising brands, ทาให้แม่คิดว่าเป็ น recommended brands.
- การบริจาคนมที่หมดอายุหรือได้รบั สูตรนมที่ไม่เหมาะสมทาให้
เกิดความไม่ปลอดภัยในการใช้
• ปัญหาอื่นที่อาจเกิดขึน้ ได้ :
- ไม่ได้แปลวิธีการเตรียมนมเป็ นภาษาท้องถิ่นทาให้ใช้ไม่ถกู ต้อง
- มีการใช้Bottles and teats , cup feeding ในสถานการณ์ ฉุกเฉิน
อันตรายอื่นๆที่อาจเกิดขึน้ จากการได้รบั นมบริจาค
ที่มากเกินไปในสถานการณ์ฉุกเฉิน
• ถ้าการจัดหาinfant formula มีมากและหาได้ง่ายควบคุม
ไม่ได้ ทาให้แม่ลดความเชื่อมันในการให้
่
นมแม่และใช้นม
ผสมอย่างไม่มีเหตุผล
• ทาให้ทารกและครอบครัวหันไปใช้นมผสม ถ้านมบริจาคมี
ไม่แน่ นอน. ทารกก็จะมีความเสี่ยงต่อ malnutrition และ
ความเจ็บป่ วยต่างๆมากขึน้
อันตรายอื่นๆที่อาจเกิดขึน้ จากการได้รบั นม
บริจาคที่มากเกินไปในสถานการณ์ ฉุกเฉิน
• การบริจาคนมผสมจานวนมาก มาจากบริษทั นม ซึ่งบริจาค
ให้ประชาชนที่ประสบภาวะวิกฤต บริษทั มีความตัง้ ใจที่จะ
เปิดตลาดใหม่มากกว่าการขายนมผสมให้กบั ประชาชน
• ถ้าหลีกเลี่ยงการบริจาคไม่ได้ ให้เอานมที่ได้รบั ไปประกอบ
อาหารทาโจ๊กให้เด็กโตหรือบุคคลอื่น หรือใช้เป็ นเครื่องมือ
เพื่อทาให้น้านมกลับคืนมา (relactation)
How to response to marketing practice
• ผูแ้ ทนนมไปเยี่ยมนักโภชนาการที่สถาบันฟื้ นฟูโภชนาการเพื่อ
ส่งเสริมการใช้นมผสมที่เพิ่งปรับสูตรใหม่ ผูแ้ ทนกล่าวว่านมชนิดนี้
เหมาะอย่างยิ่งสาหรับทารกที่มีภาวะทุโภชนาการ เขายินดี
สนับสนุนนมฟรีให้แม่2-3 กระป๋อง
• ถ้านักโภชนาการปฏิบตั ิ ตามCODE เขาจะตอบสนองอย่างไร?
ขยันหมัน่ เพียร
• ปฏิเสธการรับนมฟรี
• ชี้แจงว่าทารกกลุ่มนี้ ควรได้รบั นมแม่
• ถามกลับว่าอะไรจะเกิดขึน้ เมื่อนมฟรี 2-3 กระป๋องแรกหมดไป
• แจมมี่เปิดสานักงานผดุงครรภ์ส่วนตัว ดูแลสุขภาพแม่และ
ลูก เจนนี่ เป็ นเพื่อนสนิทของเธอ ทางานที่บริษทั นมผสม
เจนนี่ มาเสนอ โปสเตอร์ แผ่นพับ เกี่ยวกับนมแม่และนมผสม
และยินดีให้นมผสมแก่สานักงานของแจมมี่
• แจมมี่จะพูดกับเพื่อนอย่างไรดี?
เจริ ญก้าวหน้า
• อธิบายให้เพื่อนฟังว่านมแม่มีความสาคัญต่อสุขภาพของ
ทารกและแม่
• โปสเตอร์ เอกสารแนะนา นมฟรี มีผลลดความสาคัญของ
การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่
• ถ้าแม่ตดั สินใจหยุดการให้นมแม่แล้ว การให้นมฟรีกจ็ ะ
สิ้นสุดลงอย่างรวดเร็วเช่นกัน
• แม่ทุกคนควรได้รบั ข้อมูล คาแนะนา สอบถามข้อสงสัย
เกี่ยวกับอาหารที่เหมาะสมสาหรับทารก จากเจ้าหน้ าที่ ที่มี
ความรู้ ดังนัน้ โปสเตอร์ เอกสารแนะนา นมฟรี จึงไม่มีความ
จาเป็ น
• แซมเป็ นกุมารแพทย์ที่สนใจเรื่องโภชนาการทารก บริษทั นม
ผสมเสนอให้ทุนแก่แซม ไปร่วมประชุมวิชาการที่บริษทั จัด
ขึน้ ที่โรงแรม บริษทั อานวยความสะดวกในเรื่องที่พกั ค่า
พาหนะเดินทางและทุกอย่าง
• ถ้าแซมรับทุนนี้ อะไรจะเกิดขึน้ ?
อายุยนื เจริ ญด้วยลาภยศ
• แซมควรคิดให้รอบคอบก่อนรับข้อเสนอ จากการประชุมแซม
อาจได้รบั ข้อมูลที่เป็ นวิทยาศาสตร์และเป็ นความจริง หรืออาจ
เป็ นข้อมูลเพื่อการส่งเสริมการขาย การโฆษณาผลิตภัณฑ์ของ
บริษทั
• จะมีของขวัญ วัสดุอปุ กรณ์ต่างๆที่สงเสริมการขาย แจกให้หรือไม่
• แซมจะปฏิเสธหรือรับของเหล่านัน้ หรือจะนากลับมาที่ทางาน
• ผูแ้ ทนนมอาจมาเยี่ยมแซม หลังจบการประชุม คาดเดาได้ว่าเขา
คงจะให้แซมช่วยใช้นมผสมในสถานบริการสุขภาพ เพราะเขาได้
ช่วยให้แซมไปประชุม
หมวด 7 ของ CODE กล่าวว่า
บุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุข จะต้อง
protect , promote & support BF เข้าใจ Code อย่างถูกต้อง &
นาไปปฏิบตั ิ และใช้ประโยชน์ ได้
•
ห้ามสนับสนุนการเงินและสิ่งของต่างๆ แก่HCWS และ
ครอบครัว
บุคลากรHCWs และครอบครัว ต้องไม่รบั การสนับสนุนด้วย
ต้องเปิดเผย การสนับสนุน ที่ให้แก่HCWs
การศึกษา อบรม การดูงาน กองทุนการศึกษาวิจยั และ
การประชุมวิชาการ(ซึ่งรวมถึงเงินค่าเครื่องบิน ที่พกั วัสดุสิ่งของ
และอาหาร) รายการอื่นๆที่ให้ถือได้ว่าเป็ นของขวัญ ซึ่งถูก
พิจารณาให้เป็ น “สิ่งจูงใจ”
รวมถึงสถาบันที่ผรู้ บั การสนับสนุนปฏิบตั ิ งาน และ
ผูไ้ ด้รบั การสนับสนุน ต้องเปิดเผยข้อมูลการสนับสนุนนี้ ด้วย
และรายงานให้ผบู้ งั คับบัญชาทราบ
Knowledge Check - mark the answer True (T) or False (F)
1.การให้ เอกสารเกี่ยวกับอาหารทดแทนนมแม่ ท่ ีผลิตจากบริษัทนม
สามารถส่ งผลกระทบถึงการเลีย้ งลูกด้ วยนมแม่
T
2. Breast-milk substitutes include formula, teas, and juices (as well as
T
F
T
F
F
other products)
3. The International Code and BFHI ห้ามการใช้นมผสมใน wardหลังคลอด
4. บุคลากรสามารถรั บเอกสารสิ่งพิมพ์ หรื อสิ่งของจากบริ ษัทนม
ได้ ถ้ าไม่ มีการส่ งต่ อสิ่งต่ างๆเหล่ านัน้ ไปให้ แม่
T
F
5. การบริจาคนมผสมให้แม่สามารถทาได้ในสถานการณ์ฉุกเฉิน
T
F
มีเงินมีทองเหลือใช้ทุกปี