การบริหารงบประมาณสถานศึกษา ภายใต้ระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงาน Performance Based Budgeting : PBB

Download Report

Transcript การบริหารงบประมาณสถานศึกษา ภายใต้ระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงาน Performance Based Budgeting : PBB

การบริหารงบประมาณสถานศึกษา
ภายใต้ระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงาน
Performance Based Budgeting : PBB
PBB
Input
Process
Output
Outcome
ผลผลิต
ผลลัพธ์
1
การบริหารงบประมาณสถานศึกษา
ภายใต้ระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงาน
“สถานศึกษาต้องมีมาตรฐานการจัดการ
ทางการเงิน 7 ประการ (7 Hurdles) ”
2
งบประมาณที่มุ่งเน้นผลงาน - 7 Hurdles *
Performance Based Budgeting : PBB
1
2
3
4
5
6
7
การวางแผนงบประมาณ
การคานวณต้นทุนของกิจกรรม
การจัดระบบการจัดซื้อจัดจ้าง
การบริหารทางการเงิน/งบประมาณ
การรายงานการเงินและผลการดาเนินงาน
การบริหารสินทรัพย์
การตรวจสอบภายใน
3
ประการที่ 1
การวางแผนงบประมาณ
แผนกลยุทธ์สถานศึกษา + แผนงานประจา
(SCHOOL STRATEGIC & ROUTINE PLAN)
กรอบประมาณการรายจ่ายล่วงหน้า
ระยะปานกลาง
(MEDIUM TERM EXPENDITURE FRAMEWORK: MTEF)
4
ประการที่ 2
การคานวณต้นทุนผลผลิต
( Activity - Based Costing )
เป็ นการคิ ด ต้น ทุน การด าเนิ น การต่ อ
หน่ ว ยผลผลิ ต ของกิ จ กรรมภายใต้
โครงการตามแผนกลยุทธ์สถานศึกษา
5
้
ระบบการจั
ด
ซื
อจั
ด
จ้
า
ง
ประการที่ 3
( Procurement management )
ที่แสดงถึง :• ความโปร่งใส
• ความยุติธรรม
• ตรวจสอบได้
6
จัดระบบการบริหารการเงินและ
ประการที่ 4
ควบคุมงบประมาณ
( Financial managment & Budget control )
• กาหนดระดับมาตรฐาน
• กาหนดความรับผิดชอบในเรือ่ งบัญชีและการเงิน
• ใช้ระบบบัญชีแบบพึงรับพึงจ่ายหรือบัญชีคงค้ าง
7
ประการที่ 5
จัดระบบการวางแผนการเงินและ
การรายงานผลการดาเนินการ
(Financial & Performance Reporting)
• การแสดงความโปร่งใส
• การตรวจสอบ
• การประเมินผลโครงการ
• การรายงานผลการดาเนินการตามแผนกลยุทธ์
8
จั
ด
ระบบการบริ
ห
ารสิ
น
ทรั
พ
ย์
ประการที่ 6
(Asset management)
• การเพิ่มประสิทธิภาพและ
ประสิทธิผลของการใช้ทรัพยากร
• ความคุม้ ค่าและคุม้ ทุน
9
ประการที่ 7
จัดระบบตรวจสอบภายใน
( Internal Audit )
• ตรวจสอบผลการดาเนินการตามแผนกลยุทธ์
- ตรวจสอบผลผลิต จาก กิจกรรม ( Activity )
- ตรวจสอบผลลัพธ์ จาก โครงการ ( Program )
- ตรวจสอบผลกระทบ จาก แผนงาน ( Project )
• ตรวจสอบรายงานทางการเงิน
- เทียบเคียงผลการดาเนินการกับงบประมาณที่ใช้ 10
ผลงาน*คุม้ ค่า
ร่องรอย*ทาจริง
ถูกต้อง
โปร่งใส
PBB
แผนงาน/โครงการ
*สอดคล้อง
สถานศึกษา
11
SPBB
ระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้ นผลงานตามยุทธศาสตร์
แนวคิดและหลักการ
BUDGET
• การปรับปรุงให้ รัฐสามารถใช้ วธิ ีการและกระบวนการงบประมาณ
เป็ นเครื่ องมือในการจัดสรรทรัพยากรให้ เกิดผลสาเร็จตามนโยบาย
และประชาชนได้ รับประโยชน์
• ระบบงบประมาณสอดคล้องกับนโยบายและยุทธศาสตร์ ในการ
พัฒนาประเทศและสอดคล้องกับความต้ องการของประชาชน
• มุ่งเน้ นให้ เกิดการใช้ จ่ายงบประมาณ โดยคานึงถึงความโปร่ งใส
ประสิ ทธิภาพและประสิ ทธิผล
• การมอบความคล่องตัวในการจัดทาและบริหารงบประมาณให้ กบั ผู้
ปฏิบัติ
1
Budget
การออกแบบระบบและวิธีการงบประมาณ
มุ่งเน้ นผลงานตามยุทธศาสตร์
• คานึงถึงความสาเร็จของงานตามเป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์
ระดับชาติ
• บริหารจัดการภายใต้ หลักธรรมาภิบาล(Good Governance)
• มีการกระจายอานาจและความรับผิดชอบในการวางแผน
จัดการและบริหารงบประมาณแก่ กระทรวง ทบวง กรม โดย
สามารถแสดงความรับผิดชอบของฝ่ ายต่ าง ๆ ทีก่ ยี่ วข้ อง
ออกเป็ น 3 ระดับ
2
Budget
เงื่อนไขทีส่ าคัญของระบบงบประมาณแบบ
มุ่งเน้ นผลงานตามยุทธศาสตร์ (SPBB)
• มีกลยุทธ์ ในการดาเนินงานทีค่ รอบคลุมหลายมิติ
• ก่ อให้ เกิดการบริหารจัดการแบบปรับตัวได้ ยืดหยุ่น คล่ อง
ตัว กระจายอานาจ ทันเหตุการณ์
• ยึดหลักการบริหารจัดการบ้ านเมืองที่ดี(Good Governance)
มีประสิ ทธิภาพ ทันสมัย โปร่ งใส ตรวจสอบได้
3
มิติหน่ วยงาน
:
มิตินโยบายเฉพาะ :
มิติพืน้ ที่
:
Function
Agenda
Area
4
Budget
ยุทธศาสตร์ การดาเนินงาน
ครอบคลุมบูรณาการ 3 มิติ
• ยทุ ธศาสตร์ กระทรวงและหน่ วยงาน (Function) ทางานตาม
ภารกิจของกระทรวง(ภารกิจประจาและภารกิจตามยุทธศาสตร์ )ทีม่ ี
เป้ าหมายและแนวทางทีช่ ัดเจนภายใต้ ขอบเขตอานาจหน้ าทีแ่ ละความ
รับผิดชอบ
• ยทุ ธศาสตร์ เฉพาะของรั ฐบาล (Agenda) นโยบายเฉพาะเรื่ องที่
รัฐบาลมอบหมาย ไม่ ได้ ขนึ้ กับกระทรวงใดกระทรวงหนึ่ง เน้ นการมี
เป้ าหมายการทางานร่ วมกัน เช่ น นโยบายปราบปรามยาเสพติด
• ยทุ ธศาสตร์ พนื้ ที่ (Area) ได้ แก่ กลุ่มจังหวัด จังหวัด เป้าหมายและ
ยุทธศาสตร์ เน้ นเฉพาะในพืน้ ที่
5
องค์กรที่มุ่งเน้นยุทธศาสตร์
6
ระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้ นผลงานตามยุทธศาสตร์
• มุง่ เน้ นผลสาเร็จของงาน • การประมาณ
การงบประมาณรายจ่าย
ตามผลผลิต ผลลัพธ์
• เป้ าหมายเชิงยุทธศาสตร์
ระดับชาติ
• เป้ าหมายการให้บริการ
ระดับกระทรวง
• ผลผลิตและตัวชี้วดั
ล่วงหน้ าระยะปานกลาง
(MTEF)
• การเพิ่มขอบเขต
ความครอบคลุม
ของงบประมาณ
• ระบบการติดตามและ
ประเมินผลความสาเร็จตาม
เป้ าหมายเชิงยุทธศาสตร์
• การมอบอานาจการบริหาร
จัดการงบประมาณ
• เน้ นให้กระทรวงมีอานาจในการ
บริหารจัดการงบประมาณเพื่อให้
บรรลุผลสาเร็จมากกว่าเน้ น
กฎระเบียบ
 เน้ นหลักการธรรมาภิบาล
- การแบ่งหน้ าที่และความ
รับผิดชอบในแต่ละระดับ
- มีระบบการติดตาม
ประเมินผลและการรายงาน
ผลการดาเนินงานที่โปร่งใส
และตรวจสอบได้
7
แผนปฏิรูประบบบริหารภาครัฐ 5 แผนงาน
แผนปรับเปลีย่ นระบบงบประมาณ การเงิน พัสดุ
สานักงบประมาณ
SPBB
(Strategy Performance Base Budgeting)
1
การวางแผน
งบประมาณ
3
2
7 Hurdles
การจัดระบบ
การจัดซื้อจัดจ้ าง
การคานวณ
ต้ นทุนกิจกรรม
4
การรายงานทางการเงิน
และผลการดาเนินงาน
การบริ หารทางการเงินและ
ควบคุมงบประมาณ
7
5
6
การตรวจสอบ
ภายใน
การบริหาร
สิ นทรัพย์
8
แผนภูมกิ ารวางแผนงบประมาณเชิงกลยุทธ์
ผลงานองค์ กร
การจัดทางบประมาณ
การบริหารงบประมาณ
การติดตาม ประเมินผล
และรายงานผล
แผนกลยุทธ์
MTEF
แผนปฏิบัติการ
KPI/Balanced
Scorecard:BSC
9
เงินในสถานศึกษา
1. เงินอุดหนุน
2. เงินรายได้ สถานศึกษา
เงินอุดหนุน
หนังสือสั่งการ
หนังสื อ สพฐ. ที่ 04006/2279
ลว. 16 ธันวาคม 2548
2
เงินอดุ หนุน
1.เงินอุดหนุน คชจ.ในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน
2.เงินอุดหนุนปัจจัยพืน้ ฐานสาหรับ นร.ยากจน
3.ค่ าอาหารนักเรียนประจาพักนอน
3
1. เงินอดุ หนุน คชจ.ในการจัดการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน
หลักการ
(ค่ าใช้ จ่ายรายหัว)
1. รัฐธรรมนูญแห่ งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550
มาตรา 49
2. พระราชบัญญัติการศึกษาแห่ งชาติ พ.ศ. 2542
และที่แก้ ไขเพิม่ เติม พ.ศ. 2545
* หมวด 2 มาตรา 10
* หมวด 8 มาตรา 60
4
หลักการ
1. รัฐธรรมนูญแห่ งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550
มาตรา 49
“ บุคคลย่ อมมีสิทธิเสมอกันในการรับการศึกษา
ขั้นพืน้ ฐานไม่ น้อยกว่ าสิ บสองปี ที่รัฐจะต้ องจัดให้
อย่ างทัว่ ถึงและมีคุณภาพ โดยไม่ เก็บค่ าใช้ จ่าย”
5
2. พระราชบัญญัติการศึกษาแห่ งชาติ พ.ศ. 2542
และที่แก้ ไขเพิม่ เติม พ.ศ. 2545
* หมวด 2 มาตรา 10 “การจัดการศึกษา
ต้ องจัดให้ บุคคลมีสิทธิและโอกาสเสมอกันในการ
รับการศึกษาขั้นพืน้ ฐานไม่ น้อยกว่ าสิ บสองปี ที่รัฐ
ต้ องจัดให้ อย่ างทัว่ ถึง และมีคุณภาพโดยไม่ เก็บ
ค่ าใช้ จ่าย
6
* หมวด 8 มาตรา 60
“ให้ รัฐจัดสรรงบประมาณแผ่ นดินให้ กบั
การศึกษาในฐานะทีม่ คี วามสาคัญสู งสุ ดต่ อการพัฒนา
ทีย่ งั่ ยืนของประเทศ โดยจัดสรรเป็ นเงินงบประมาณ
เพื่อการศึกษาดังนี้ (1) จัดสรรเงินอุดหนุนทัว่ ไปเป็ น
ค่ าใช้ จ่ายรายบุคคลทีเ่ หมาะสมแก่ ผู้เรียนการศึกษา
ภาคบังคับ และการศึกษาขั้นพืน้ ฐานที่จัดโดยรัฐ
และเอกชนให้ เท่ าเทียมกัน”
7
วัตถุประสงค์
เพื่อใช้ ในการจัดการเรียนการสอนให้ ได้ ประโยชน์
สู งสุ ดในการพัฒนานักเรียนให้ เป็ นไปตามเจตนารมย์
ของรัฐธรรมนูญแห่ งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550
และ พรบ.การศึกษาแห่ งชาติ พ.ศ. 2542 , 2545
8
แนวทางการใช้ งบประมาณ
1. สถานศึกษาจัดทาแผนการปฏิบัติงานประจาปี
2. เสนอแผนฯ ผ่ านความเห็นชอบต่ อ
คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพืน้ ฐาน
3. รายงานผลการดาเนินงานให้ สาธารณชนทราบ
4. ใช้ จ่ายงบประมาณให้ สอดคล้ องกับแผนฯ
9
งบประมาณ คชจ.รายหัว
*
*
*
*
ก่อนประถม
1,700 บาท/คน
ประถม
1,900 บาท/คน
มัธยมศึกษาตอนต้ น
3,500 บาท/คน
มัธยมศึกษาตอนปลาย 3,800 บาท/คน
10
ลักษณะการใช้ งบประมาณ
3 ประเภท
1. งบบุคลากร
* ค่ าจ้ างชั่วคราว เช่ น จ้ างครูอตั ราจ้ างรายเดือน
พนักงานขับรถ ฯลฯ
11
2. งบดาเนินงาน
* ค่ าตอบแทน เช่ น ค่ าตอบแทนวิทยากร
ค่ าตอบแทนวิทยากรวิชาชีพท้ องถิ่น ฯลฯ
* ค่ าใช้ สอย เช่ น ค่ าเบีย้ เลีย้ ง ค่ าเช่ าที่พกั ค่ าพาหนะ
ค่ าจ้ างซ่ อมแซม ค่ าจ้ างเหมาบริการ ค่ าพาหนะพา นร.
ไปทัศนศึกษาแหล่ งเรียนรู้ ฯลฯ
* ค่ าวัสดุ เช่ น ค่ าวัสดุการศึกษา ค่ าเครื่ องเขียน
ค่ าวัสดุเวชภัณฑ์ ค่ าซ่ อมแซมบารุงรักษาทรัพย์ สิน ฯลฯ
* ค่ าสาธารณูปโภค เช่ น ค่ าน้า ค่ าไฟฟ้า ค่ าโทรศัพท์
12
ฯลฯ
3. งบลงทุน
* ค่ าครุภัณฑ์ เช่ น จัดซื้ออุปกรณ์ คอมพิวเตอร์
เครื่ องถ่ ายเอกสาร ฯลฯ
* ค่ าที่ดินและสิ่ งก่ อสร้ าง รายจ่ ายเพื่อประกอบ
ดัดแปลงต่ อเติม หรื อปรับปรุงทีด่ นิ และหรื อสิ่ งก่ อสร้ าง
ที่มีวงเงินเกินกว่ า 50,000 บาท เช่ น ค่ าจัดสวน
ค่ าถมดิน ถนน รั้ว สะพาน บ่ อน้า ฯลฯ
13
2. เงินอุดหนุนปัจจัยพืน้ ฐานสาหรับ นร.ยากจน
นร.ยากจน = นร.ทีผ่ ู้ปกครองมีรายได้ ต่อครัวเรื อน
ไม่ เกิน 40,000 บาท/ปี
ให้ นักเรียนยากจนขาดแคลน ชั้น ป. 1 – ม. 3
14
งบประมาณ
* ประถม
* มัธยมศึกษาตอนต้ น
และขยายโอกาส
460 บาท/คน/ปี
2,500 บาท/คน/ปี
15
ลักษณะการใช้ งบประมาณ
ลักษณะ ถัวจ่ าย ค่ าหนังสื อและอุปกรณ์ การเรียน
ค่ าเสื้ อผ้ าและเครื่ องแต่ งกายนักเรียน ค่ าอาหารกลางวัน
และค่ าพาหนะในการเดินทาง
16
การใช้ จ่ายงบประมาณ
1. ค่ าหนังสื อและอุปกรณ์ การเรียน
2. ค่ าเสื้ อผ้ าและวัสดุเครื่ องแต่ งกายนักเรียน
3. ค่ าอาหารกลางวัน
4. ค่ าพาหนะในการเดินทาง
17
การจัดซื้อ – จัดจ้ าง – จัดหา
ดาเนินการตามระเบียบฯพัสดุ
การจ่ ายเงินสดให้ นร. โดยตรง
แต่ งตั้งคณะกรรมการอย่ างน้ อย
3 คน ร่ วมกันจ่ ายเงิน
ใช้ ใบสาคัญรับเงินเป็ นหลักฐาน
18
แนวทางดาเนินงาน
1. สารวจข้ อมูล นร.ยากจน และรายงาน สพท.
เพื่อเสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณ
2. จัดสรรและใช้ จ่ายงบประมาณให้ เป็ นไปตาม
วัตถุประสงค์
3. จัดกิจกรรมและควบคุมดูแล นร.ยากจน
4. รายงานผลการดาเนินงาน
19
3. ค่ าอาหารนักเรี ยนประจาพักนอน
ป. 1 - ม. 3
20
ค่ าอาหารนักเรี ยนประจาพักนอน
= เงินงบประมาณที่จัดสรรให้ แก่ สถานศึกษาที่ได้
ดาเนินการจัดทีพ่ กั ให้ แก่ นักเรียน ซึ่งมีถนิ่ ทีอ่ ยู่ไม่ สะดวก
ห่ างไกล กันดาร ไว้ สาหรับพักอาศัย ทั้งที่จัดในและ
นอกสถานศึกษา โดยสถานศึกษาได้ ดาเนินการควบคุม
ดูแล และจัดระบบแบบเต็มเวลา
21
ยกเว้ น
1. นร.ในสถานศึกษาทั่วไปแบบประจา
2. นร. ในสถานศึกษาสั งกัดสานักบริหารงาน
การศึกษาพิเศษ
3. สถานศึกษาที่ได้ ดาเนินการจัดหอพักใน
สถานศึกษาและได้ เรียกเก็บเงินค่ าอาหาร นร.
ประจาพักนอนทุกคนแล้ ว
กรณีเรียกเก็บเงินไม่ ครบทุกคน จัดสรรให้ ได้
เฉพาะจานวน นร. ส่ วนที่เหลือ
22
ลักษณะการใช้ งบประมาณ
ใช้ เป็ น
ค่ าอาหาร นักเรียนประจาพักนอน
23
การใช้ จ่ายงบประมาณ
1. จ่ ายหรื อจัดหาอาหาร โดยเลือกวิธีได้ ดงั นี้
* จัดซื้อวัตถุดบิ ประกอบอาหาร หรื อ
จ้ างเหมาทาอาหาร
* จ่ ายเงินสดให้ นร.
2. หากมีงบประมาณคงเหลือ สามารถนาไป
ใช้ จ่ายรายการอื่นทีเ่ กีย่ วกับการจัดอาหารได้
24
แนวทางดาเนินงาน
1. สารวจข้ อมูลจากโครงการ นร.ประจาพักนอน
และรายงาน สพท. เพื่อเสนอขอรับการสนับสนุน
งบประมาณ
2. จัดสรรและใช้ จ่ายงบประมาณให้ เป็ นไปตาม
วัตถุประสงค์
3. จัดกิจกรรมและควบคุมดูแล นร.ประจาพักนอน
4. รายงานผลการดาเนินงาน
25
รายได้
สถานศึกษา
โดย
ยุพดี ดีอนิ ทร์
เจ้ าหน้ าที่ตรวจสอบภายใน 8 ว
สพท.กทม. 2
ระเบียบ สพฐ.
ว่าด้วยการบริหารจัดการเกี่ยวกับ
เงินรายได้สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
ที่เป็ นนิตบิ ุคคล ในสังกัดเขตพื้นที่การศึกษา
พ.ศ. 2549
1
สถานศึกษา
สถานศึกษาขั้นพืน้ ฐานทีเ่ ป็ นนิตบิ ุคคล
ในสั งกัดเขตพืน้ ที่การศึกษา ตามประกาศของ สพท.
2
เงินรายได้สถานศึกษา
บรรดารายได้ ผลประโยชน์ ที่เกิดจากที่ราชพัสดุ
เบีย้ ปรับที่เกิดจากการผิดสั ญญาลาศึกษาและเบีย้ ปรับที่
เกิดจากการผิดสั ญญาการซื้อทรัพย์ สินหรื อจ้ างทาของที่
ดาเนินการโดยใช้ เงินงบประมาณ เงินทีม่ ีผู้มอบให้ และ
เงินหรื อผลประโยชน์ อื่นที่สถานศึกษาได้ รับไว้ เป็ น
กรรมสิ ทธิ์ แต่ ไม่ รวมถึงเงินงบประมาณรายจ่ าย
3
หมวด 1 การรับเงินและการเก็บรักษาเงิน
ข้ อ 5 - ออกใบเสร็จรับเงินทุกครั้งทีร่ ับเงิน
- ใบเสร็จรับเงินใช้ ตามแบบทางราชการ
- ควบคุมใบเสร็จรับเงินให้ ตรวจสอบได้
ข้ อ 6 - เก็บรักษาเงินสดไว้ สารองจ่ ายตามที่
สพฐ. กาหนด
- นอกนั้นนาฝากกระทรวงการคลังหรื อ
สานักงานคลังจังหวัด หรื อนาฝากธนาคาร
4
หมวด 2 การก่อหนีผ้ ูกพันและการใช้ จ่ายเงิน
ข้ อ 7 - เงินรายได้ สถานศึกษาใดให้ ใช้ จ่าย หรื อ
ก่ อหนีผ้ ูกพันเฉพาะสถานศึกษานั้น
ข้ อ 8 - ให้ นาเงินรายได้ ฯไปจ่ ายเป็ นค่ าใช้ จ่ายใน
การจัดการศึกษาตามหลักเกณฑ์ อัตราและวิธีการ
ที่ สพฐ. กาหนด
ข้ อ 9 - อานาจการอนุมตั จิ ่ ายและก่ อหนีผ้ ูกพันให้
เป็ นไปตามหลักเกณฑ์ ที่ เลขา สพฐ. กาหนด
5
หมวด 3
การเงิน การพัสดุ การบัญชี
ข้ อ 10 - การเงิน การบัญชี การพัสดุ ทีม่ ิได้
กาหนดไว้ ในระเบียบนี้ ให้ ถือปฏิบัติตามระเบียบ
กฎหมายของทางราชการโดยอนุโลม
- กรณีจาเป็ นต้ องปฏิบัตินอกเหนื อจาก
ที่กาหนดไว้ ในระเบียบนี้ ให้ ขอทาความตกลงกับ
กระทรวงการคลัง
6
บทเฉพาะกาล
ข้ อ 11 - ให้ เงินรายได้ สถานศึกษาทีม่ อี ยู่ก่อน
ระเบียบนีใ้ ช้ บังคับ เป็ นเงินรายได้ สถานศึกษาตาม
ระเบียบนี้
7
ประกาศ สพฐ.
ว่าด้วยหลักเกณฑ์ อัตรา และวิธีการนา
เงินรายได้สถานศึกษาไปจ่ายเป็ นค่าใช้จา่ ย
ในการจัดการศึกษาของสถานศึกษา
ขั้นพื้นฐานที่เป็ นนิตบิ ุคคล
ในสังกัดเขตพื้นที่การศึกษา
พ.ศ. 2551
8
ข้ อ 1
การใช้จา่ ยเงินรายได้สถานศึกษา
เป็ นค่าใช้จา่ ยในการจัดการศึกษา และ
ค่าใช้จา่ ยที่เกี่ยวเนื่องกับการจัดการศึกษา
9
• ให้ใช้จา่ ยตามแผนการปฏิบตั ิงานและแผนการ
ใช้จา่ ยเงินรายได้ของสถานศึกษา
• คานึงถึงผลประโยชน์ของผูเ้ รียน ความคุม้ ค่า
โปร่งใส และตรวจสอบได้
10
ข้ อ 2
เงินที่มีผมู ้ อบให้สถานศึกษาโดยระบุ
วัตถุประสงค์ชดั แจ้ง ให้ใช้จา่ ย หรือก่อหนี้
ผูกพันได้เฉพาะในกิจการที่ ผูม้ อบระบุ
วัตถุประสงค์ไว้เท่านั้น
11
Money
การใช้จา่ ยเงินรายได้ฯ
ข้ อ 3
• รายจ่ายค่าจ้างชั ่วคราว
เพื่อจ้างครูผสู ้ อน และ
พนักงานที่ปฏิบตั ิงานในลักษณะอานวยการ
• งบดาเนินงาน ยกเว้น ค่าใช้จา่ ยในการเดินทางไป
ต่างประเทศ
• งบเงินอุดหนุน ช่วย นร. ยากจนและขาดแคลน
12
ข้ อ 3 (ต่อ)
•งบลงทุน เฉพาะที่เป็ นประโยชน์ตอ่ การจัดการ
เรียนการสอนและพัฒนาคุณภาพการศึกษา ค่า
ครุภณ
ั ฑ์ วงเงินต่อหน่วยต ่ากว่า 2,000,000 บาท
ค่าที่ดินและสิ่งก่อสร้าง วงเงินต่อหน่วยต ่ากว่า
10,000,000 บาท
• รายจ่ายเพื่อสมทบค่าครุภณ
ั ฑ์ ที่ดิน และ
สิ่งก่อสร้าง ให้เป็ นไปตามระเบียบว่าด้วยการ
บริหารงบประมาณที่ทางราชการกาหนด
13
การใช้จา่ ยเงินรายได้ฯ
เพื่อเป็ นเงินยืม
ข้ อ 4
• ยืมเงินเพื่อทดรองจ่ายในการบริหารจัดการเพื่อ
พัฒนาสภาพแวดล้อมและเพื่อพัฒนาคุณภาพการ
จัดการเรียนการสอนของสถานศึกษา
• การดาเนินงานจัดหารายได้ให้กบั สถานศึกษา
• ยืมเพื่อทดรองจ่ายสวัสดิการของข้าราชการและ
ลูกจ้าง ในส่วนที่เบิกงบประมาณมาชดใช้ได้
14
ข้ อ 5
- ห้ ามสั่ งซื้อ สั่ งจ้ าง และก่ อหนีผ้ ูกพัน
เกินวงเงินรายได้ สถานศึกษาทีม่ ีอยู่
ณ วันทีด่ าเนินการ
15
ข้ อ 6
- รายงานการรับ – จ่ ายเงินรายได้ สถานศึกษา
ให้ คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพืน้ ฐานและ
สพท. ทราบ ภายใน 30 วัน นับแต่ วนั สิ้น
ปี งบประมาณ
16
ข้ อ 7
- กรณีจาเป็ นต้ องปฏิบัตินอกเหนือ
จากทีก่ าหนดไว้ ในประกาศนี้ ให้ ขอความ
เห็นชอบต่ อ เลขา สพฐ. ก่อนดาเนินการ
16
มอบอานาจเกี่ยวกับเงินรายได้สถานศึกษา
1505/2551 ลว 26 พย. 51
• ผูอ้ านวยการโรงเรียน
ครั้งละไม่เกิน
15 ล้าน
บาท
• ผูอ้ านวยการสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา 20 ล้านบาท
• ผอ สานักการคลังและสินทรัพย์ สพฐ
20 ล้าน
บาท
• ผูว้ ่าราชการจังหวัด
25 ล้านบาท
• ที่ปรึกษาสานักการคลังและสินทรัพย์ สพฐ 30 ล้าน
17
การรับเงินและทรัพย์สิน
เพื่อการจัดการศึกษา
หนังสือ สพฐ.ที่ ศธ
04002/ว 2968
ลว
25 ธ.ค. 2551
1
การรับบริจาค
- การที่ผบู ้ ริจาคมีความประสงค์
จะบริจาคเงินหรือทรัพย์สินให้แก่
ร.ร.ด้วยความเต็มใจเพื่อการกุศล
โดยมิได้หวังผลตอบแทนใด ๆ
2
การรับเงินแป๊ ะเจีย๊ ะ
- การรับเงินหรือทรัพย์สินจากผูท้ ี่
มอบให้ในช่วงการรับ นร. โดยมี
วัตถุประสงค์เป็ นการแลกเปลี่ยน
กับโอกาสเข้าเรียน
3
การรับเงินแป๊ ะเจีย๊ ะ (ต่อ)
-กรณีดงั กล่าวไม่ว่าจะมอบให้ ร.ร.
หรือ ผ่านสมาคมผูป้ กครองและครู
ผ่านคกก.สถานศึกษา
-ถือว่าเป็ นการรับที่
ผิดระเบียบของทางราชการ
4
การระดมทรัพยากร
เพื่อการศึ กษา
- การรับเงินหรือทรัพย์สินตาม
โครงการต่าง ๆ ของ รร.เพื่อส่งเสริม
คุณภาพการศึกษา เพื่อเสริมสร้าง
คุณภาพชีวิตของ นร.
5
การเก็บเงินบารุงการศึ กษา
- การรับเงินจากผูป้ กครองที่มี
ความประสงค์ตอ้ งการจะให้บุตร
หลานเพิ่มพูน ปสภ.และคุณภาพ
การศึกษา ด้วยรูปแบบ วิธีการ
สื่ออุปกรณ์และครูผสู ้ อนที่ทาการ
6
การเก็บเงินบารุงการศึ กษา (ต่อ)
สอนเพิ่มเติมจากเกณฑ์มาตรฐาน
ทั ่วไปของหลักสูตรการศึกษาขั้น
พื้นฐานเป็ นกรณีพิเศษ โดยความ
สมัครใจ
7
แผนปฏิบตั กิ ารสถานศึกษา
ยุพดี ดีอนิ ทร์
เจ้ าหน้ าที่ตรวจสอบภายใน 8 ว สพท. กทม. 2
แผนปฏิบตั กิ ารสถานศึกษา
งปม.มุ่งเน้ นผลงาน
จัดสรร งปม.เป็ นก้อน
แผนกลยุทธ์
แผนปฏิบัติการประจาปี
1
เงินที่ใช้ในการทาแผนฯ
เงินอุดหนุน
เงินรายได้ สถานศึกษา
2
การจัดสรร งปม.
1. งบวิชาการ 60 – 70 %
2. งบบริหารทัว่ ไป 20 – 30 %
3. งบสารองจ่ าย 10 – 20 %
3
เดิม
งบรายจ่าย
ใหม่
หมวด เงินเดือน
ค่าจ้าง
ประจา
ค่าจ้าง
หมวด ค่าตอบแทน
ชั ่วคราว ใช้สอยและวัสดุ
งบบุคลากร
งบดาเนินการ
สาธารณูปโภค
หมวด ค่าครุภณ
ั ฑ์ ที่ดิน
สิ่งก่อสร้าง
หมวด เงินอุดหนุน
หมวด รายจ่ายอื่น
งบลงทุน
งบเงินอุดหนุน
งบรายจ่ายอื่น
4
รายการ
งบบริหาร
ทัว่ ไป
งบวิชาการ
งบสารองจ่ าย
งาน/โครงการ/
กิจกรรม
เงิน
รายได้
อุดหนุน สถานศึกษา
รวม
1. ค่ าสาธารณูปโภค
2. ครู อตั ราจ้ าง
3. พนง.ทาความสะอาด
200,000
100,000
1. โครงการภาษาไทย
2. โครงการคอมพิวเตอร์
3. โครงการคณิตศาสตร์
200,000
400,000
200,000
550,000
400,000
พัฒนาการเรียนการสอน
100,000
100,000
รวม
50,000
550,000
1,000,000
600,000
200,000
100,000
50,000
1,600,000
5
แผนปฏิบัติการประจาปี
• การมีส่วนร่วมของผูเ้ กี่ยวข้อง (ครู หน.หมวด)
• ครอบคลุมเงิน งปม. นอกงปม. รายได้สถานศึกษา
• คณะกรรมการสถานศึกษาฯเห็นชอบ
• ประชาสัมพันธ์ให้บุคลากรทั้งภายใน
และภายนอกสถานศึกษาทราบ
6
การตรวจสอบ ติดตาม
• โครงการ/กิจกรรมสอดคล้องนโยบาย สพฐ./สพท.
• ปฏิบตั ิตามโครงการ/กิจกรรมที่กาหนด
• ใช้จา่ ยเงินเป็ นไปตามแผน-ถูกต้องตามระเบียบ
• ควบคุม กากับการปฏิบตั ิตามแผน
7
The end
สวัสดีค่ะ