ระบบอบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์แบบเรือนกระจก

Download Report

Transcript ระบบอบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์แบบเรือนกระจก

แนวทางการให้การสนับสนุน
และผลการดาเนินโครงการส่งเสริม
ส่งเสริมการใช้ระบบอบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์
1. การให้การสนับสนุนระบบอบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์
“ ระบบอบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์ มีลกั ษณะเป็ นเรือนกระจก (green
house) ซึง่ ปิดคลุมด้วยวัสดุโปร่งแสง เช่น กระจก หรือพลาสติกชนิด
ต่างๆ ผลิตภัณฑ์ทตี ่ อ้ งการอบแห้งจะวางบนชัน้ ภายในเรือนกระจก โดยมี
พัดลมดูดอากาศเพือ่ ระบายความชื้นทีร่ ะเหยจากผลิตภัณฑ์ออกมาสู่
อากาศแวดล้อมภายนอก ผลิตภัณฑ์ไม่เปียกฝน และไม่ถูกแมลงรบกวน
ซึง่ ช่วยลดค่าใช้จ่ายด้านพลังงานส้ ิ นเปลือง
และเป็ นการรักษาสิง่ แวดล้อม ”
แผ่นโพลีคาร์ บอเนต
แผงโซลาร์เซลล์
ประตูทางเข้าออก
พัดลม
หลักการทางานของระบบอบแห้ง
พลังงานแสงอาทิตย์
เครือ่ งอบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์แบบเรือนกระจก
จะใช้ห ลักการของเรือนกระจก กล่าวคือ เมื่อรังสี ดวง
อาทิตย์สง่ ผ่านกระจกหรือพลาสติกใสเข้าไปภายในจะถูก
พืช และองค์ ป ระกอบต่ า งๆ ภายในโรงเรือ นกระจก
โครงสร้างรู ปทรง ดูดกลืนแล้วเปลีย่ นเป็ นความร้อน วัสดุภายในโรงเรือน
พาราโบลา
จะแผ่รงั สีอินฟาเรดออกมา แต่ไม่สามารถผ่า นกระจก
ออกมาภายนอกได้ทาให้อากาศในเรือนกระจกร้อนขึ้น
และถ่ า ยเทความร้อ นให้ก ับ ผลิต ภัณ ฑ์ เครื่อ งอบแห้ง
แบบเรือนกระจกทีพ่ ฒ
ั นาขึน้ นี้จะใช้แผ่นโพลีคาร์บอเนต
แทนกระจกเนื่องจากสามารถดัดโค้งได้ง่าย น้ าหนั กเบา
และแสงอาทิต ย์ผ่ า นได้ดี มีพ ัด ลมระบายอากาศซึ่ ง
ทางานด้วยโซลาร์เซลล์
ข้อกาหนดเงื่อนไขหลักเกณฑ์ทวไป
ั่
5
การสนับสนุนเพื่อการลงทุน
สนับสนุนเงินลงทุนแบบให้เปล่า สาหรับ สถานประกอบการ
และโครงการทีม่ ี คุณสมบัตผิ า่ นเกณฑ์
คุณสมบัติผขู้ อรับการสนับสนุน
คุณสมบัติของผูข้ อรับการสนับสนุน
1.1 บุคคลธรรมดา กลุม่ บุคคล คณะบุคคล หรือนิตบิ ุคคลทีจ่ ดั ตัง้ ตามกฎหมายไทย
ทัง้ ภาครัฐและเอกชน ทีม่ คี วามต้องการติดตัง้ ระบบอบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์
เพือ่ ใช้อบแห้งผลิตภัณฑ์อบแห้ง(ทุกชนิด) ทัวทุ
่ กภาคของประเทศไทย
1.2 มีความพร้อมในด้านวัตถุดบิ และ/หรือผลิตภัณฑ์ และพืน้ ทีส่ าหรับการติดตัง้ และ
การลงทุน
1.3 ลงนามขอรับการสนับสนุนโดยผูม้ อี านาจลงนามหรือผูร้ บั มอบอานาจลงนามใน
การยืนยันเข้าร่วมโครงการ
7
การสนับสนุนเพื่อการลงทุน
สนับสนุนเงินลงทุนแบบให้เปล่า สาหรับ สถานประกอบการ
และโครงการทีม่ ี คุณสมบัตผิ า่ นเกณฑ์
อัตราการให้เงินสนับสนุน
หลักเกณฑ์การสนับสนุนลงทุน
2.1 ให้การสนับสนุนระบบอบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์แบบเรือนกระจก ซึ่ง
เป็ นไปตามแบบมาตรฐานและคุณสมบัติวสั ดุและอุปกรณ์ ที่จดั ทาโดยกรม
พัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกั ษ์พลังงาน เพือ่ การติดตัง้ ระบบอบแห้ง
พลังงานแสงอาทิตย์ ซึง่ มีขนาดมาตรฐานดังนี้
1 ระบบขนาดเล็ก พืน้ ที่ (6 x 8.2) = 49.2
ตารางเมตร (พพ.1)
2 ระบบขนาดกลาง พืน้ ที่ (8 x 12.4) = 99.2
ตารางเมตร (พพ.2)
3 ระบบขนาดใหญ่ พืน้ ที่ (8 x 20.8) = 166.4
ตารางเมตร (พพ.3)
* หมายเหตุ เป็ นขนาดพืน้ ทีใ่ นแนวราบ
9
แบบมาตรฐาน
ระบบอบแห้งพล ังงานแสงอาทิตย์แบบเรือนกระจก
แบบ พพ.1 ขนาด 6.00 x 8.20 ตารางเมตร เท่ากับพืน
้ ที่ 49.2 ตารางเมตร
แบบ พพ.2 ขนาด 8.00 x 12.40 ตารางเมตร เท่ากับพืน
้ ที่ 99.2 ตารางเมตร
แบบ พพ.3 ขนาด 8.00 x 20.80 ตารางเมตร เท่ากับพืน
้ ที่ 166.4 ตารางเมตร
2.2 ให้การสนับสนุนลงทุนในระบบอบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์แบบเรือนกระจก
ซึง่ หมายถึงการจัดเตรียมพืน้ คอนกรีต แผ่นหลังคาโพลีคาร์บอเนตและ
โครงสร้างเพือ่ ยึดติดแผ่นหลังคาโพลีคาร์บอเนต เซลล์แสงอาทิตย์สาหรับ
ผลิตไฟฟ้าและพัดลมดูดอากาศ และอุปกรณ์อ่นื ๆ ทีจ่ าเป็ น (ตามแบบและ
คุณสมบัตมิ าตรฐานทีก่ าหนด)
2.3 ให้การสนับสนุน ตามอัตราทีก่ าหนดต่อตารางเมตรของพืน้ ทีต่ ดิ ตัง้ ระบบ
อบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์ ตามแบบมาตรฐานของกรมพัฒนาพลังงาน
ทดแทนและอนุรกั ษ์พลังงาน ดังนี้
 ให้การสนับสนุน 215,400 บาท สาหรับระบบอบแห้งฯ ขนาดเล็ก (พพ.1)
 ให้การสนับสนุน 434,400 บาท สาหรับระบบอบแห้งฯ ขนาดกลาง (พพ.2)
เป็ นให้
การสนั
บสนุ
สาหรัจบานวน
ระบบอบแห้
ิ นให้เปล่
วงเง
า เช่นน728,800
ขอติดตัง้ บาท
=ชุด พพ.1
3 ชุด งฯ ขนาดใหญ่ (พพ.3)
จะได้เงินสนับสนุน = 3 x 215,400 บาท เป็ นเงิน 646,200 บาท
11
2.4 ให้การสนับสนุนการลงทุนระบบอบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์ตามจานวนที่
คณะกรรมการพิจารณากาหนดให้
2.5 ระบบอบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์ทไ่ี ด้ตดิ ตัง้ อุปกรณ์ไปแล้ว ไม่สามารถขอรับ
เงินสนับสนุนจากโครงการนี้ได้ ซึง่ โครงการทีใ่ ห้การสนับสนุนต้องเป็ นระบบอบแห้ง
พลังงานแสงอาทิตย์ทไ่ี ด้ตดิ ตัง้ ใหม่เท่านัน้
2.6 โครงการทีข่ อรับการสนับสนุนต้องมีการเปรียบเทียบ IRR(อัตราผลตอบแทน
ภายใน) ของพลังงานแสงอาทิตย์กบั LPG หรือพลังงานอื่นทีใ่ ช้ทดแทนจริง ในการ
ขอรับการสนับสนุนลงทุน โดย IRR มากกว่าหรือเท่ากับ 9
ตัวอย่างแบบระบบอบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์
แบบเรือนกระจกขนาดเล็ก (พพ.1)
พืน้ ที่ 49.2 ตารางเมตร
215,400 บาท
ตัวอย่างแบบระบบอบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์
แบบเรือนกระจกขนาดกลาง (พพ.2)
พืน้ ที่ 99.2 ตารางเมตร
434,400 บาท
ตัวอย่างแบบระบบอบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์
แบบเรือนกระจกขนาดใหญ่ (พพ.3)
พืน้ ที่ 166.4 ตารางเมตร
728,800 บาท
การสนับสนุนเพื่อการลงทุน
สนับสนุนเงินลงทุนแบบให้เปล่า สาหรับ สถานประกอบการ
และโครงการทีม่ ี คุณสมบัตผิ า่ นเกณฑ์
การคัดเลือกผูข้ อรับการสนับสนุน
หลักเกณฑ์การสนับสนุนลงทุน
2.7 โครงการทีข่ อรับการสนับสนุน ต้องผ่านเกณฑ์การให้คะแนนจากแบบสารวจ
ตามรายละเอียดในแบบขอรับการสนับสนุน
ปริมาณผลิตภัณฑ์ที่ทาการอบแห้ง
ความพร้อมด้านการบริหารจัดการ
ระยะเวลาที่มีผลิตภัณฑ์
ความเหมาะสมด้านการใช้งานระบบอบแห้ง
พลังงานแสงอาทิ ตย์
แบบเรือนกระจกกับผลิ ตภัณฑ์
ความเหมาะสมของพืน้ ที่ติดตัง้
ระบบ ฯ
การประหยัดพลังงาน
ความพร้อมด้านการตลาด
ความพร้อมในการเป็ นแหล่งเรียนรู้
2.8 ขนาดและคุณสมบัตมิ าตรฐานตามที่ พพ.กาหนดโดยมีสว่ นประกอบดังนี้
2.8.1 พืน้ คอนกรีตเสริมเหล็กพร้อมระบบระบายน้าทิง้
รายละเอียดตามทีป่ รากฏในแบบมาตรฐาน
2.8.2 โครงสร้างรับแผ่นหลังคาโพลีคาร์บอเนต
รายละเอียดตามทีป่ รากฏในแบบมาตรฐาน
18
2.8.3 วัสดุหลังคาโพลีคาร์บอเนต
• แผ่นโพลีคาร์บอเนตเป็ นชนิดผนังสองชัน้ หรือแบบลูกฟูกมีความหนา 6 ±
0.05 มิลลิเมตร หรือมากกว่า และเป็ นชนิดเกรด A
• มีสใี ส (clear)
• มีน้าหนักไม่น้อยกว่า 1.3 กิโลกรัมต่อตารางเมตร
• การส่งผ่านของแสง (Light Transmission) มีคา่ ไม่น้อยกว่าร้อยละแปดสิบ
โดยมีใบรับรองผลการทดสอบจากสถาบันทีเ่ ชื่อถือได้ ตามมาตรฐาน
ASTM D 1003 หรือมาตรฐานอื่นๆ ทีเ่ ทียบเท่า
• ผิวด้านบนหรือด้านรับแสงของแผ่นต้องเคลือบสารป้องกันรังสี
อัลตราไวโอเลต (UV) มีความหนาไม่น้อยกว่า 30 ไมโครเมตร โดยมี
ใบรับรองจากโรงงานผูผ้ ลิต
19
2.8.4 ชุดอลูมิเนี ยมจับยึดแผ่น (Clamping) และยางรีดน้า
• รอยต่อของแผ่นต้องใช้ชุดอลูมเิ นียมประกอบ 3 ชัน้
• อุปกรณ์อลูมเิ นียมต้องมีความหนาไม่น้อยกว่า 1.10 มิลลิเมตร ยกเว้นฝา
ปิด (Top Clamping)
• อุปกรณ์อลูมเิ นียมต้องสอดด้วยยางรีดน้าหรือยางกันน้า
• ยางรีดน้าต้องเป็ นชนิด Santoprene ยางบริสทุ ธิ ์ชนิดไม่จมน้ า
20
2.8.5 เซลล์แสงอาทิตย์และพัดลมระบายอากาศ จานวนและขนาดให้เป็ นไป
ตามแบบมาตรฐานทีก่ าหนด
2.8.6 ประตูให้เป็ นชนิดบานเลื่อนไม่มธี รณีประตู และมีมงุ้ ลวดชนิดถอดทา
ความสะอาดได้ และติดตัง้ ตามแบบมาตรฐาน
2.8.7 ช่องระบายอากาศตามแบบมาตรฐาน ให้เป็ นมุง้ ลวดชนิดถอดทาความ
สะอาดได้
21
2.8.8 งานส่วนทีเ่ ป็ นเหล็กทัง้ หมด ชัน้ วางผลิตภัณฑ์ และน้ อตยึด ให้ชบุ กัลวา
ไนซ์ และติดตัง้ ล้อเลื่อนตามขนาดทีร่ ะบุในแบบมาตรฐาน ตะแกรงวาง
ผลิตภัณฑ์เป็ นอลูมเิ นียมหรือเหมาะสมกับผลิตภัณฑ์ กรณีทต่ี ้องการ
เปลีย่ นแปลงชัน้ วางผลิตภัณฑ์และตะแกรงวางผลิตภัณฑ์สามารถทาได้ ดังนี้
ก.ชัน้ วางผลิตภัณฑ์สามารถเปลีย่ นแปลงได้ แต่ตอ้ งใช้วสั ดุตามกาหนดในแบบ
มาตรฐาน
ข.ตะแกรงวางผลิตภัณฑ์สามารถเปลีย่ นแปลงได้ตามความเหมาะสมของ
ผลิตภัณฑ์อบแห้ง
22
2.8.9 ติดตัง้ เครือ่ งวัดอุณหภูม ิ และเครือ่ งวัดความชืน้ สัมพัทธ์ รายละเอียดตาม
แบบขอรับการสนับสนุน
2.8.10 ติดตัง้ ป้ายโครงการตามขนาดและแบบทีก่ าหนดในแบบขอรับการ
สนับสนุน
2.8.11 อุปกรณ์ประกอบทีใ่ ช้สาหรับระบบอบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์ ได้แก่
ระบบความร้อนเสริม ระบบส่งกระจายความร้อนภายในระบบอบแห้ง อุปกรณ์
กระจายความร้อน และอุปกรณ์ตรวจวัดอื่นๆ ให้เป็ นไปตามแบบ พพ.๑-๓ และ
แบบขอรับการสนับสนุน
2.8.12 งานส่วนอื่น ให้เป็ นไปตามแบบมาตรฐานทีก่ าหนด
เงื่อนไขการดาเนินงาน
24
1.
ผู้ส มัค รที ไ่ ด้ ร บั การอนุ ม ตั ิ ก ารสนั บ สนุ น จาก พพ. แล้ ว จะต้ อ ง
ดาเนินการติดตัง้ ระบบฯ ตามแบบมาตรฐานและใช้ให้แล้วเสร็จภายใน 6
เดือน นับตัง้ แต่วนั ที ล่ งนามในสัญญารับการสนับสนุน มิฉะนัน้ พพ. มีสทิ ธิ ์
บอกเลิกการให้การสนับสนุนหากผูข้ อรับการสนับสนุ นมิได้ดาเนินการติดตัง้ ตาม
แบบมาตรฐาน หรือมิได้ใช้วสั ดุและอุปกรณ์ตามคุณสมบัติท่กี าหนด หรือมิได้
ดาเนินการติดตัง้ ให้แล้วเสร็จตามทีก่ าหนด
25
้
เอกสารทีใ่ ชในการยื
น
่ ขอรับการสนับสนุน ทีพ
่ พ.จัดเตรียมให ้ผู ้
ขอรับการสนับสนุน
•
•
แบบ พพ 1-3
แบบขอรับการสนั บสนุน
– Input Form
– Calculation Sheet
– สรุปรายละเอียดการขอรับการสนั บสนุน
– แผนผังแสดงกระบวนการอบแห ้ง
– แผนทีข
่ องสถานทีต
่ ด
ิ ตัง้ ระบบฯ
– ภาพถ่ายพืน
้ ทีต
่ ด
ิ ตัง้ ระบบฯ
– รายการเอกสารแนบ
– แบบป้ าย
– แบบสารวจความเหมาะสม
– รายละเอียดอุปกรณ์ประกอบ
– อืน
่ ๆทีจ
่ าเป็ น
2. เอกสารประกอบการขอรับการสนับสนุน ประกอบด้วย
2.1 แบบขอรับการสนับสนุนการลงทุนติดตัง้ ระบบอบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์ ซึง่
ประกอบด้วยข้อมูลต่างๆ ดังนี้
2.1.1 ข้อมูลทัวไป
่ ข้อมูลวัตถุดบิ และ/หรือ ผลิตภัณฑ์ เพือ่ การอบแห้ง
2.1.2 ข้อมูลแสดงกระบวนการอบแห้งทีม่ ใี ช้อยูใ่ นปจั จุบนั หรือ
ทีค่ าดว่าจะทดแทนโดยระบบอบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์
2.13 ข้อมูลการคานวณการลงทุนและ IRR (อัตราผลตอบแทนภายใน) และ
ข้อมูลอื่นๆ ตามแบบขอรับการสนับสนุนฯ
27
2.2 เอกสารแสดงคุณสมบัติและมาตรฐานของอุปกรณ์ ในระบบอบแห้ง
พลังงานแสงอาทิตย์ ตามหลักเกณฑ์ทก่ี าหนดไว้ใน หมวดที่ 2 ข้อ 2.7 ดังนี้
2.2.1 วัสดุหลังคาโพลีคาร์บอเนต
2.2.2 ชุดอลูมเิ นียมจับยึดแผ่น (Clamping) และยางรีดน้า
2.2.3 วัสดุโครงสร้างรับแผ่นหลังคาโพลีคาร์บอเนต
2.2.4 เซลล์แสงอาทิตย์และพัดลมระบายอากาศ
2.2.5 อุปกรณ์อ่นื ๆ
2.3 ภาพถ่ายจุดอ้างอิงทีถ่ าวรแสดงอยูบ่ นรูปเพือ่ เปรียบเทียบกับรูปถ่ายหลังจาก
การติดตัง้ แล้ว
2.4 แผนการดาเนินการติดตัง้ และแผนการบารุงรักษา
2.5 เอกสารการรับประกันอายุการใช้งานแผ่นโพลีคาร์บอเนต ชุดอลูมเิ นียมจับยึด
แผ่น (Clamping) และยางรีดน้า อย่างน้ อย 5 ปี
2.6 เอกสารรับประกันงานติดตัง้ ระบบ 1 ปี
2.7 หลักฐานสาคัญของผูข้ อรับการสนับสนุน ทัง้ กรณี บุคคลธรรมดา กลุ่มบุคคล
คณะบุคคล หรือนิตบิ ุคคล ทัง้ ภาครัฐและเอกชน
2.8 แผนการผลิตและการจาหน่ายในระยะเวลา 1 ปี ตามแบบการขอรับการ
สนับสนุน
29
3. ผูข้ อรับการสนับสนุนในโครงการนี้ จะขอรับการสนับสนุนซ้าซ้อนกับโครงการ
สนับสนุนอื่นๆ ของ พพ. ไม่ได้ ยกเว้นโครงการเงินหมุนเวียนเพือ่ การ
อนุรกั ษ์พลังงานและพลังงานทดแทน, ESCO Fund
30
การสนับสนุนเพื่อการลงทุน
สนับสนุนเงินลงทุนแบบให้เปล่า สาหรับ สถานประกอบการ
และโครงการทีม่ ี คุณสมบัตผิ า่ นเกณฑ์
การเข้าร่วมโครงการ
แผนผ ังการขอร ับการสน ับสนุนลงทุนติดตงระบบอบแห้
ั้
งพล ังงานแสงอาทิตย์(1/2)
กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกั ษ์พลังงาน
คณะกรรมการฯ
คณะทางานโครงการ
1
3
ผู้ขอรับการสนับสนุน
2
ประสานงานการขอรับการ
สนับสนุ น
รับแบบการขอรับการ
สนับสนุ น
ขอรับแบบการขอรับการ
สนับสนุ น
จัดทาและแก้ไขแบบการรับ
การสนับสนุ นตาม
หลักเกณฑ์ทก่ี าหนด
4
(ภายใน 10 วัน
ทาการนับจาก
ตรวจสอบแบบตาม รับแบบฯ)
หลักเกณฑ์เงือ่ นไข
แผนดาเนินงาน
ไม่ถูกต้อง
สารวจพืน้ ที่
ถูกต้อง
5
ไม่ผา่ น
6
ประชุมคณะกรรมการพิจารณาเห็นชอบขอรับการสนับสนุ น
ผ่าน
สรุปและแก้ไขเอกสาร
รายงานเตรียมประชุม
(รวบรวมให้ครบ 5 รายหรือ
ภายใน 15 วันทาการนับจาก
ตรวจสอบเอกสารถูกต้อง)
แผนผ ังการขอร ับการสน ับสนุนลงทุนติดตงระบบอบแห้
ั้
งพล ังงานแสงอาทิตย์(2/2)
กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์ พลังงาน
คณะกรรมการฯ
ผู้ขอรั บการสนับสนุน
คณะทางานโครงการ
6
ประชุมคณะกรรมการพิจารณาเห็นชอบขอรับการสนับสนุ น
ผ่าน
(ภายใน 10 วันทาการ นับจากคณะกรรมการฯเห็นชอบ)
7
แจ้งผล
แจ้งผลการพิจารณา /
ทาสัญญา
8
ดาเนินการติดตัง้ ให้แล้วเสร็จ
ใน 6 เดือน
(แจ้งยืนยัน
และทาสัญญา)
9
ตรวจสอบการติดตัง้
10
ดาเนินการเบิกจ่ายเงิน
แจ้งผล
(ภายใน 15 วันทาการ นับจากได้รบั แจ้งผล)
11
รับเงินสนับสนุ นและแจ้งตอบ
วิธีการร่วมโครงการ
1 ผูข้ อรับการสนับสนุนสามารถสมัครเข้าร่วมโครงการได้โดยขอรับแบบขอรับการ
สนับสนุนได้จาก พพ. หรือทาง เว็ปไซด์ www.dede.go.th โดยยืน่ ข้อเสนอขอรับ
การสนับสนุน เริ่มวันที่ 19 เมษายน 2555 และสิ้นสุดภายในวันที่ 31
กรกฎาคม 2555 หรือจนกว่าเงินสนับสนุนจะหมด
2 ผูข้ อรับการสนับสนุนจัดทาและส่งแบบขอรับการสนับสนุนโดยนาไปส่งด้วยตนเอง
ที่ สานักพัฒนาพลังงานแสงอาทิตย์ อาคาร 7 ชัน้ 5 ของ พพ. ภายในวันที่
กาหนดในข้อที่ 1 ตามเวลาราชการ
34
3 การพิจารณาให้การสนับสนุนแก่ผขู้ อรับการสนับสนุน คณะกรรมการจะใช้
หลักเกณฑ์ เพือ่ ประกอบการพิจารณาดังนี้
3.1 ปริมาณวัตถุดบิ และระยะเวลาทีม่ ผี ลิตภัณฑ์
3.2 ความเหมาะสมของพืน้ ทีต่ ดิ ตัง้ ระบบฯ
3.3 ความพร้อมด้านการตลาด
3.4 ความพร้อมด้านการบริหารจัดการ
3.5 ความเหมาะสมด้านการใช้งานระบบอบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์แบบ
เรือนกระจกกับผลิตภัณฑ์
3.6 การประหยัดพลังงาน
3.7 ความพร้อมในการเป็ นแหล่งเรียนรู้
4. ผูข้ อรับการสนับสนุนจะต้องอานวยความสะดวกเพือ่ ให้เข้าสารวจและให้ขอ้ มูลที่
เป็ นประโยชน์ต่อการพิจารณาให้การสนับสนุนของคณะทางานที่ พพ.มอบหมาย
5. การพิจารณาให้การสนับสนุนจะพิจารณาให้กบั ผูข้ อรับการสนับสนุน ที่อยูใ่ น
พืน้ ทีป่ ระสบ อุทกภัยจากปี 2554 เป็ นกรณีพเิ ศษ โดยผูข้ อรับการสนับสนุน
ต้องแนบเอกสารทีจ่ าเป็ นเพือ่ ประกอบการพิจารณา
6. พพ. จะตรวจสอบแบบขอรับการสนับสนุนตามหลักเกณฑ์เงือ่ นไขและแผน
ดาเนินงาน
– หากไม่ถกู ต้อง พพ.จะส่งกลับให้ผขู้ อรับการสนับสนุนแก้ไขและส่งกลับมาใหม่
– หากถูกต้องสมบูรณ์ตามหลักเกณฑ์จะนาเสนอต่อคณะกรรมการ เพือ่ พิจารณาใบสมัคร
ของผูท้ ย่ี น่ื ใบสมัครขอรับการสนับสนุน
– โดยประเมินตามหลักเกณฑ์ประกอบการพิจารณาในข้อ 3 (จาก
แบบสอบถาม) และเรียงลาดับการพิจารณาให้การสนับสนุนตามผลการ
ประเมินและข้อเท็จจริงจากการสารวจ ในข้อ 4 (จากการสารวจ)
– ทัง้ นี้การพิจารณาให้การสนับสนุนของคณะกรรมการถือเป็ นทีส่ น้ิ สุด ผูข้ อรับ
การสนับสนุนไม่อาจเรียกร้องใดๆได้
7. คณะกรรมการดาเนินการพิจารณาการขอรับการสนับสนุนฯ และ พพ.จะมี
หนังสือแจ้งกลับไปยังผูผ้ า่ นการพิจารณาให้รบั การสนับสนุนและให้ผขู้ อรับ
การสนับสนุนทาสัญญากับ พพ. เพือ่ เข้าร่วมโครงการ
8. ผูข้ อรับการสนับสนุนทีผ่ า่ นการพิจารณาให้รบั การสนับสนุนจะต้องยืน่ หลักประกันสัญญาเป็ น
จานวน ร้อยละ 5 ของวงเงินทีไ่ ด้รบั การสนับสนุน โดยหลักประกันสัญญาจะต้องมีระยะเวลาค้า
ประกันไม่น้อยกว่า 12 เดือนนับตัง้ แต่วนั ทีท่ าสัญญารับการสนับสนุ น โดยใช้หลักประกันอย่าง
หนึ่งอย่างใด ดังต่อไปนี้
8.1 เงินสด
8.2 เช็คทีธ่ นาคารสังจ่
่ ายให้แก่กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกั ษ์พลังงาน โดยเป็ นเช็ค
ทีล่ งวันทีท่ ท่ี าสัญญาหรือก่อนหน้านัน้ ไม่เกิน 3 วันทาการของทางราชการ
8.3 หนังสือค้าประกันของธนาคารภายในประเทศตามแบบของทางราชการ
หลักประกันสัญญาจะคืนให้แก่ผขู้ อรับการสนับสนุ นภายหลังจากที่ พพ. อนุมตั เิ งินสนับสนุน
และผูข้ อรับการสนับสนุนได้รบั เงินเรียบร้อยแล้ว
และหากผูข้ อรับการสนับสนุนไม่ดาเนินการให้แล้วเสร็จ ตามหมวดที่ 2 เงือ่ นไขการ
ดาเนินงานข้อ 1 พพ. จะรีบหลักประกันสัญญานี้ไว้เป็ นสมบัตขิ องกองทุนเพือ่ ส่งเสริมการ
อนุรกั ษ์พลังงาน
38
9. พพ. จะตรวจสอบผลการติดตัง้ ภายหลังจากทีไ่ ด้รบั แจ้งผลการติดตัง้ แล้วเสร็จและสรุปผลการ
ตรวจสอบเพือ่ ขอให้อธิบดีกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกั ษ์พลังงานพิจารณาอนุมตั กิ าร
เบิกจ่ายเงิน เมือ่ ได้รบั การอนุมตั แิ ล้ว พพ.จะมีหนังสือแจ้งให้ผขู้ อรับการสนับสนุ นมารับเงิน
สนับสนุนฯ
10. ผูข้ อรับการสนับสนุนรับเงินสนับสนุนภายหลังจากที่ พพ. ได้มหี นังสือแจ้งแล้ว
การศึกษาความเป็ นไปได้ ?
คุม้ ค่าทีจ่ ะเปลีย่ น
หรือไม่ ?
ติดขนาดไหน.?
จานวนเท่าไร ?
การศึกษาความเป็ นไปได้
• พืน้ ที่สาหรับทาการติดตัง้ ระบบอบแห้งพลังงาน
แสงอาทิตย์
เป็ นพืน้ ทีเ่ ปิดโล่ง ไม่มสี งิ่ ปลูกสร้าง หรือต้นไม้บดบัง ,สูงไม่มนี ้าขัง หรือมีการ
ระบายน้าทีด่ ี
• ข้อมูลประกอบการพิจารณาการลงทุน
ข้อมูลประกอบการพิจารณาการลงทุน
• ปริมาณการอบแห้ง
ข้อมูลการอบแห้งวัตถุดบิ เดิม…….ตัน/วัน ,ตัน/เดือน
• ระยะเวลาการอบแห้ง
เวลาทีใ่ ช้ในกระบวนการอบแห้ง….ช.ม./รอบ
• พลังงานความร้อนเดิม
ชนิดของเชือ้ เพลิง ? ปริมาณเดิมทีใ่ ช้ ?
• ขนาดต้องติดตัง้
ทดแทนการผลิตแบบเดิม……ทัง้ หมด ? กีเ่ ปอร์เซ็นต์?
(บางผลิตภัณฑ์มวี ตั ถุดบิ ตามฤดูกาล)
สิ่งที่ได้รบั จากการประเมินเบือ้ งต้น
ปริมาณกาลังการผลิต
ตัน/วัน
เวลาที่ใช้ในการอบแห้ง
ชัวโมง/รอบ
่
ขนาดของระบบอบแห้ง
จานวนของระบบอบแห้ง
ราคาอุปกรณ์
(บาท)
ผลประหยัด
(บาท)
ระยะเวลาคืนทุน
(ปี )
ขัน้ ตอนต่อไปหลังจากได้รบั ผลการประเมิน
ไม่ลงทุน
เจ้าของสถาน
ประกอบการ
พร้อมลงทุน
ผูจ้ าหน่ าย
(คัดเลือก
แล้ว)
ตัวอย่างระบบอบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์
โครงการอุทยานธรรมชาติวทิ ยา จ.ราชบุรี
วิสาหกิจชุมชนข้าวแต๋นนา้ แตงโมอาพ ัน
•
้
ประโยชน์ของการใชระบบอบแห
้งพลังงาน
•
•
•
•
•
้
ใชระยะเวลาในการอบรอบละ
150 กก. หรืออาจมาก
ถึง 300 กก. เมือ
่ มีการปรับปรุงกระบวนการอบแห ้ง
ระยะเวลาอบแห ้งด ้วย GH ประมาณ 7-8 ชม. ขณะที่
้
เดิมตากแดดตามธรรมชาติใชเวลา
1-1.5 วัน
ี หายจากการเปี ยกฝนซงึ่ มีปริมาณที่
ลดการเสย
•
ี หายร ้อยละ 2 คิดเป็ นเงินปี ละกว่า 1.2 แสนบาท
เสย
การใช ้ GH ทาให ้ลดต ้นทุนด ้านแรงงานลง
•
ผลิตภัณฑ์คณ
ุ ภาพสะอาด คาดว่าจะสง่ จาหน่าย
ได ้มูลค่าทีส
่ งู มากขึน
้ ในอนาคต
ลดการใชก๊้ าส LPG จากเดิมหากในหน ้าฝนใช ้
ี ค่าใชจ่้ ายประมาณ 1
อบแห ้งด ้วยแก๊สจะต ้องเสย
ถัง (15 กก.) ด ้วยการอบ 300 กก. หรือคิดเป็ น
เงิน 300 บาท ดังนัน
้ หากใช ้ GH จะลดค่าใชจ่้ าย
ด ้านพลังงานจาก LPG วันละ 150 บาท (อบแห ้ง
150 กก./รอบ/วัน)
การอบแห ้งข ้าวแต๋นใชอุ้ ณหภูมป
ิ ระมาณ 60C ซงึ่
GH มีความเหมาะสม
สามารถขอมาตรฐาน GMP ต่อไปในอนาคต
ึ ษาพัฒนาระบบอบแห ้งพลังงานแสงอาทิตย์
การศก
(Solar Drying)
ระบบอบแห ้งพลังงานแสงอาทิตย์แบบเรือนกระจก
โครงการอุทยานธรรมชาติวท
ิ ยา ในพระราชดาริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ
สยามบรมราชกุมารี อ.สวนผึง้ จ.ราชบุร ี
• ขนาดพืน
้ ที่ 5 x 8 ม.
• สามารถอบแห ้งผลิตภัณฑ์สดได ้ครัง้ ละ 250-300 กิโลกรัม
ี ส ระหว่างเวลา 9.00-17.00 น.
• อุณหภูมอ
ิ บแห ้ง 40-70 องศาเซลเซย
้
• ใชเวลาในการอบแห
้ง 3-4 วัน
กล้วยตากจากเครือ
่ งอบแห้งพล ังงานแสงอาทิตย์
ี โครงการอุทยานธรรมชาติวท
กลุม
่ พ ัฒนาอาชพ
ิ ยาฯ อ. สวนผึง้ จ. ราชบุร ี
ระบบอบแห้งพล ังงานแสงอาทิตย์แบบเรือนกระจก
องค์การบริหารสว่ นตาบลหัวเรือ อ.เมือง จ.อุบลราชธานี
อบแห ้ง : พริกแห ้งหัวเรือ
พริกทีต
่ ากในโรงอบแห ้ง
พริกทีต
่ ากตามธรรมชาติ
ระบบอบแห้งพล ังงานแสงอาทิตย์แบบเรือนกระจก
วิสาหกิจชุมชนตาบลดอนตูม อ.ดอนตูม จ.นครปฐม
ิ อ
อบแห ้ง : มะเขือเทศราชน
ี บแห ้ง
ระบบอบแห้งพล ังงานแสงอาทิตย์แบบเรือนกระจก ทีโ่ ครงการพระราชดาริ เขาค้อ
แผนการสน ับสนุน
•
พพ.จะเริม
่ การสนั บสนุนการลงทุนติดตัง้ ระบบอบแห ้งด ้วยพลังงานแสงอาทิตย์ ตัง้ แต่
ปี พ.ศ. 2554 ถึง 2565 โดยมีเป้ าหมายที่ จานวน 50,000 ตารางเมตรของพืน
้ ทีก
่ าร
ติดตัง้ ระบบอบแห ้งด ้วยพลังงานแสงอาทิตย์ จาแนกเป็ น
– ระยะแรก ระหว่างปี 2554-2556 ให ้การสนั บสนุนการลงทุนติดตัง้ ระบบฯ ร ้อยละ
60 หรือไม่เกิน 4,380 บาท/ตารางเมตรของพืน
้ ทีก
่ ารติดตัง้ ระบบอบแห ้งด ้วย
พลังงานแสงอาทิตย์
- ปี 2554 จานวน 2,000 ตารางเมตร
- ปี 2555-2556 ปี ละ 4,000 ตารางเมตร
– ระยะทีส
่ อง ระหว่างปี 2557-2565 ให ้การสนั บสนุนการลงทุนติดตัง้ ระบบฯ ร ้อยละ
50 หรือไม่เกิน 3,650 บาท/ตารางเมตรของพืน
้ ทีก
่ ารติดตัง้ ระบบอบแห ้งด ้วย
พลังงานแสงอาทิตย์ ปี ละ 5,000 ตารางเมตร รวมจานวน 40,000 ตารางเมตร
การสน ับสนุน
เงินทุน
60%
50%
้ ทีร่ ะบบอบแห้งพล ังงานแสงอาทิตย์ทใี่ ห้การสน ับสนุน (ตร.ม.)
ปริมาณพืน
54
55
56
2,000 4,000 4,000
-
-
-
57
-
58
-
59
-
60
-
61
-
62
-
63
-
64
-
5,000 5,000 5,000 5,000 5,000 5,000 5,000 5,000
รวม
65
-
รวม
10,000
40,000
50,000
บริษ ัท เอส เค สตาร์ฟรุต
๊
จาก ัด
•
•
•
•
•
•
สถานทีต
่ งั ้ ตาบลหินฮาว อาเภอหล่มเก่า จังหวัด
เพชรบูรณ์
ั ญา ทอ. (สพส.) ๔๔/๕๔ ติดตัง้ แล ้ว
เลขทีส
่ ญ
เสร็จ 30 พฤศจิกายน 2554 วงเงินทีร่ ับการ
สนับสนุนฯ 728,800 บาท
พืน
้ ทีต
่ ด
ิ ตัง้ 166.4 ตารางเมตร
ผลิตภัณฑ์ มะขาม
การอบแห ้งแบบเดิม : ตากแห ้งตามธรรมชาติและ
อบด ้วยไอน้ า
้
ี
ใชระบบอบแห
้งแบบเรือนกระจก ลดการสูญเสย
และระยะเวลาในการอบไอน้ าลง
นางบุปผา ชะนะมา
•
•
•
•
•
•
สถานทีต
่ งั ้ ตาบลเนินกุม
่ อาเภอบางกระทุม
่ จังหวัดพิษณุโลก
ั ญา ทอ. (สพส.) ๓๘/๕๔ ติดตัง้ แล ้วเสร็จ 16
เลขทีส
่ ญ
ธันวาคม 2554 วงเงินทีร่ ับการสนับสนุนฯ 728,800 บาท
พืน
้ ทีต
่ ด
ิ ตัง้ 166.4 ตารางเมตร
ผลิตภัณฑ์ กล ้วยตาก
การอบแห ้งแบบเดิม : ตากแห ้งตามธรรมชาติและอบด ้วยตู ้อบ
้
ี การปนเปื้ อนสงิ่
ใชระบบอบแห
้งแบบเรือนกระจก ลดการสูญเสย
สกปรกทีก
่ ล ้วยตาก
่ ั จาก ัด
บริษ ัท เพชรบูรณ์อน
ิ โนเวชน
•
•
•
•
•
•
สถานทีต
่ ัง้ อาเภอเมือง จังหวัดเพชรบูรณ์
ั ญา ทอ. (สพส.) ๔๑/๕๔ ติดตัง้ แล ้วเสร็จ23 ธันวาคม
เลขทีส
่ ญ
2554 วงเงินทีร่ ับการสนับสนุนฯ 434,400 บาท
พืน
้ ทีต
่ ด
ิ ตัง้ 99.2 ตารางเมตร
ผลิตภัณฑ์ ข ้าว
การอบแห ้งแบบเดิม : ตากแห ้งตามธรรมชาติและใชตู้ ้อบไฟฟ้ า
้
ื้ ในข ้าวลดลง และ
ใชระบบอบแห
้งแบบเรือนกระจก ทาให ้ความชน
ไม่มค
ี วามจาเป็ นต ้องใชตู้ ้อบไฟฟ้ าอีกต่อไป
บริษ ัท เจริญอุตสาหกรรม จาก ัด
•
•
•
•
•
•
สถานทีต
่ งั ้ ต.ท่าฉลอม อ. เมือง จ.สมุทรสาคร
ั ญา ทอ. (สพส.) ๔๕/๕๔ ติดตัง้ แล ้วเสร็จ 18
เลขทีส
่ ญ
ธันวาคม 2554 วงเงินทีร่ ับการสนับสนุนฯ 728,800 บาท
พืน
้ ทีต
่ ด
ิ ตัง้ 166.4 ตารางเมตร
ผลิตภัณฑ์ ปลาตากแห ้ง
การอบแห ้งแบบเดิม : อบไอน้ า 5 ชม./ครัง้
้
ื้ ปลาตากแห ้งได ้
ใชระบบอบแห
้งแบบเรือนกระจก ลดความชน
้
ในขัน
้ ตอนเดียว แต่ใชระยะเวลาเพิ
ม
่ ขึน
้ เป็ น 8 ชม./วัน
บริษ ัมแม่ตะเพียนกล้วยอบแห้ง
เครือ
่ งอบแห้งพล ังงานแสงอาทิตย์แบบเรือนกระจกที่
บริษ ัท เจ เอ็น เอส อ ันดาม ัน จาก ัด
•
•
•
ี จากการตากแดดตามธรรมชาติเดิม ปี
ลดการสูญเสย
ละ 4.8 ตันแห ้ง คิดเป็ นมูลค่า 5.76 แสนบาท
สามารถเพิม
่ กาลังการผลิตมากขึน
้ 1.5 ถึง 2 เท่า
มาตรฐาน GMP
้
• ความพึงพอใจของผู ้ใชงาน
ทดแทนการใช้พลังงานเชื้อเพลิง
ปลอดภัยต่อผูบ้ ริ โภค
ผลประโยชน์ ที่ได้รบั
Q&A
ทวีรัก หมู่สญ
ั ญาลักษณ์
[email protected]
081 639 0146
www.solardryerdede.com
www.solardryerdede.com
การส่ งเอกสาร
1. จดหมาย หรือ ยืน่ ด้ วยตัวเอง
ใบสมัครเข้ าร่วมโครงการส่งเสริ มการใช้ น ้าร้ อนพลังงานแสงอาทิตย์ด้วยระบบผสมผสานปี 2553
กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์ พลังงาน
สานักพัฒนาพลังงานแสงอาทิตย์ (ตึก 7 ชัน้ 5)
เลขที่ 17 ถนนพระราม 1 เขตปทุมวัน กทม. 10330
ยื่นใบสมัคร (ระบุชื่อสถานประกอบการที่ยื่นใบสมัคร)
2. โทรสาร
โทรศัพท์
พพ. 02-2217841 02-2230021 ถึง 9 ต่อ 1841
ปรึกษา 02-9439633-36 02-9439633-35
ติดต่ อ
คุณยงยุทธ์ สวัสดิสวนีย์
ทวีรัก
3. E-mail
ที่ปรึกษา
[email protected]