Cube Disaggregation over a Blue Sky

Download Report

Transcript Cube Disaggregation over a Blue Sky

ปลุกพลังประชาคมจังหวัด...เปลีย
่ นไทย
ประเด็นนาเสนอทีป
่ ระชุมเชิงปฏิบต
ั ก
ิ าร
ศูนย์ประสานภาคีการพัฒนาจังหวัด
๒๘ มกราคม ๒๕๕๘
ปฏิสัมพันธของพลั
งในสั งคม กับการเปลีย
่ นผานประเทศ
่
์
เปลี่ยนวิธีคิด-จิตสานึก
ด้ วยการลงมือทา
พลเมืองผู้ตืน
่ รู้
(active
citizen)
2,000,000
เครือขายเวที
ปฏิรป
ู ภาค
่
ประชาสั งคม
(change agent)
20,000
ครม.
36
คสช.
สนช.
15
220
กมธ.
36
สปช.
250
ปรั บกฎหมาย เปลี่ยนโครงสร้ าง
รื อ้ ระบบ
ประชาชน
ทัว่ ไปทีร่ บ
ั รู้
ข้อมูลขาวสาร
่
20,000,000
๑๘ประเด็นปฏิรป
ู
ประเด็นรัฐธรรมนูญ
เวทีรับฟังความเห็น
ประชาชน
สปช.จว.
77 จังหวัด
เวทีกลุมเป
่ ้ าหมาย
เฉพาะ
กรอบเวลาร่างรัฐธรรมนูญใหม่
• 19 ธันวาคม 2557
- สปช.ให้ความเห็นเสนอแนะแก่ กมธ.
• 17 เมษายน 2557
- กมธ.ยกร่าง รธน.(1)
• 26 เมษายน 2558
- สปช.ให้ความเห็นเสนอแนะต่อร่าง (1)
• 23 กรกฎาคม 2558
- กมธ.ปรับปรุงแก้ไขเสร็จเป็ นร่าง (2)
• 6 สิงหาคม 2558
- สปช.พิจารณาร่าง รธน.ทัง้ ฉบับ
เห็นชอบ/ไม่เห็นชอบ
• 4 กันยายน 2558
- ทูลเกล้าฯรธน.ใหม่
พ.ร.บ.จุดคานงัดที่ TDF
ตัง้ เป้ าหมายผ่านสนช. ภายใน 1 ปี
(ร่าง) พ.ร.บ.ว่าด้วยสิทธิชุมชนในการจัดการ
ที่ดินและทรัพยากร
2. (ร่าง) พ.ร.บ.ธนาคารที่ดิน
3. (ร่าง) พ.ร.บ.การบริหารจังหวัดปกครองตนเอง
4. พ.ร.บ.การงบประมาณ เพิ่มงบพืน้ ที่แก้ความ
เหลื่อมลา้
5. (ร่าง) พ.ร.บ.กองทุนสนับสนุนการป้ องกันทุจริต
6. (ร่าง) พ.ร.บ.องค์กรอิสระด้านการคุ้มครอง
ผูบ้ ริโภค
7. พ.ร.บ.ข้อมูลข่าวสารของทางราชการ
8. พ.ร.บ.การแข่งขันทางการค้า
9. (ร่าง) พ.ร.บ.คุ้มครองเกษตรกรและรายได้
เกษตรกรพันธะสัญญา
10. พ.ร.บ.ประกันสังคม
1.
11.
12.
13.
14.
15.
16.
17.
18.
19.
20.
(ร่าง) พ.ร.บ.ปฏิรปู สลากกินแบ่งรัฐบาล
(ร่าง) พ.ร.บ.ปฏิรปู ตารวจและกระบวนการ
ยุติธรรมชัน้ ต้น
พ.ร.บ.ป้ องกันและปราบปรามการทุจริต
แห่งชาติ
พ.ร.บ.การปิโตรเลียม
(ร่าง) พ.ร.บ.สนับสนุนพลังงานหมุนเวียน
(ร่าง) พ.ร.บ.กองทุนสื่อสร้างสรรค์
(ร่าง) พ.ร.บ.กองทุนยุติธรรม
(ร่าง) พ.ร.บ.การโฆษณาประชาสัมพันธ์
ภาครัฐ
พ.ร.บ.การเช่าที่ดินเพื่อเกษตรกรรม
(ร่าง) พ.ร.บ.การตลาดปัจจัยการผลิตและ
สินค้าเกษตร
ขอของขวัญปี ใหม่ สาหรับประชาชน
๑. เดินหน้ าจัดตัง้ กองทุนการออมแห่ งชาติ(ตามพรบ.กอช.)
๒. (ร่ าง)พรบ.สิทธิชุมชนว่ าด้ วยการจัดการที่ดนิ และทรัพยากร
๓. ประกาศปฏิรูประบบสลากกินแบ่ งรั ฐบาล แก้ ล็อตเตอรี่ เกินราคา เสือนอนกินและคอร์ รัปชัน
๔.(ร่ าง)พรบ.กองทุนสื่อปลอดภัยและสร้ างสรรค์
๕. (ร่ าง)พรบ.การโฆษณาประชาสัมพันธ์ ภาครั ฐ ปิ ดรู ร่ ั วการใช้ งบประมาณราชการไปโฆษณาตัวเอง
๖.(ร่ าง)พรบ.พลังงานหมุนเวียนฯเปิ ดโอกาสประชาชนร่ วมผลิตและสร้ างความมั่นคงทางพลังงาน
๗.(ร่ าง)พรฎ.สถาบันฟื ้ นฟูและพัฒนาชุมชนชายแดนใต้ ปรั บนโยบายและยุทธศาสตร์ ดับไฟใต้
๘.(ร่ าง)พรบ.สมัชชาคุณธรรมแห่ งชาติ ปฏิรูประบบคุณธรรมจริยธรมและธรรมาภิบาลจริงจัง
๙.(ร่ าง)พรบ.การแข่ งขันทางการค้ า ป้องกันการผูกขาด สร้ างความเป็ นธรรมในการประกอบธุรกิจ
๑๐.(ร่ าง)พรบ.องค์ กรอิสระคุ้มครองผู้บริโภค หนุนขบวนการผู้บริโภค ธุรกิจคุณธรรม สังคมเข้ มแข็ง
โครงการจัดทาเป้าหมายร่ วมแห่ งชาติ
โครงการสื่อสาร ปลุกพลัง...เปลี่ยนไทย
สนับสนุนกระบวนการจัดทาวิสัยทัศน์ และเป้าหมายร่ วมแห่ งชาติ อันเป็ น
วัตถุประสงค์ ร่วมของสังคมไทยสาหรั บการพัฒนาประเทศในทุกมิติ ที่ทุก
ภาคี ทุกฝ่ ายมีส่วนร่ วม เป็ นเจ้ าของและให้ การยอมรั บ
“ปลุกพลังประชาคมจังหวัด...เปลี่ยนไทย”
สื่อสารรณรงค์ ทางสังคมอย่ างมีประสิทธิภาพและต่ อเนื่อง เพื่อสร้ าง
ค่ านิยมพื้นฐานของคนไทยในมิตใิ หม่ อันเอื้อต่ อการพัฒนาสู่เป้าหมาย
และวิสัยทัศน์ ใหม่
“ปลุกพลังสื่อสาร..เปลี่ยนไทย”
โครงการประสานยุทธศาสตร์
“ปลุกพลังภาคีพันธมิตร...เปลี่ยนไทย”
บูรณาการพลังขับเคลื่อนภาคพลเมือง เพื่อสร้ างแรง
บันดาลใจประเทศไทยมิติใหม่
ปฏิบัตกิ ารร้ อยโครงการเปลี่ยนประเทศ
โครงการเครือข่ ายผู้นาแห่ งอนาคต
สนับสนุนปฏิบัติการเปลี่ยนประเทศ ผ่ านกิจกรรมร้ อยโครงการที่สร้ าง
ความฝั น แรงบันดาลใจ และผลสะเทือนการเปลี่ยนแปลงที่ยงิ่ ใหญ่
“ปลุกพลังร้ อยโครงการ...เปลี่ยนไทย”
ส่ งเสริมเครือข่ ายผู้นามิติใหม่ อันเป็ นกาลังขับเคลื่อนการ
เปลี่ยนแปลง
“ปลุกพลังผู้นา...เปลี่ยนไทย
Believe
Mission
Vision
Purpose
Value
ความเชื่อและอุดมการณ์ :Believe/Ideology
อุดมการณ์ ทางการเมือง หมายถึง แนวความคิดทางการเมืองที่นาไป
ปฏิบัตจิ ริง มีอิทธิพลต่ อกระบวนการทางการเมือง ตลอดจนการใช้
อานาจรั ฐ และการให้ ความชอบธรรมแก่ รัฐบาล นอกจากนีย้ ังสะท้อน
สภาพของสังคมและวัฒนธรรมทางการเมืองของแต่ ละชุมชน
อุดมการณ์ ทางการเมืองจะมีส่วนประกอบที่สาคัญคือ ลักษณะที่ชัดเจน
ประติดประต่ อกัน เป็ นระบบ
อุดมการณ์ ทางการเมือง สังคม เศรษฐกิจ (5กลุ่มใหญ่ ๆ)
Communism Socialism Liberalism
Conservatism Fascism
Communism
Fascism
Socialism
Conservatism
Liberalism(L)
Liberalism(R)
•
มีทิศทางเชิงยุทธศาสตร์ที่กว้างแต่ชดั เจน
•
ต้องมี Evolutionary Mindset
•
มีการวาดฝันประเทศอย่างที่พึงปรารถนาในกรอบเวลา
แห่งอนาคตอย่างชัดเจน
•
มีพลังร่วมของทุกภาคส่วน ตระหนักใน Sense of Purpose
และมีแรงจูงใจที่เพียงพอ
•
พร้อมเตรียมรับมือกับอุปสรรคและความท้าทายต่างๆ
•
เป็ น Platform ในการผลักดันยุทธศาสตร์และวาระการปฎิรปู
ของประเทศ
ประชาชน
มังคั
่ ง่
การพัฒนา
ที่ยงยื
ั่ น
ประเทศที่มี
• Hope
• Happiness
• Harmony
ประชาชนที่มี
•
•
•
•
Head
Hand
Health
Heart
ประเทศ
มันคง
่
มองย้ อนหลังกึ่งศตวรรษ กับ วิสัยทัศน์ 20 ปี ข้ างหน้ า
วิสัยทัศน์ 2035
หนึ่งศตวรรษ อภิวัฒน์ ประเทศไทย
ช่ วงแผน 8-11 (2540-2559)
แผน 1-7(2504-2539)
“เศรษฐกิจก้ าวหน้ า
สังคมมีปัญหา
การพัฒนาไม่ ยั่งยืน”
“ เศรษฐกิจติดกับ
ทรั พยากรเสื่อมโทรม
สังคมเหลื่อมลา้
ราชการรวมศูนย์
การเมืองวิกฤติ
ทุจริตเบ่ งบาน ”
•ประเทศรายได้ สูง ไม่ มีปัญหาคนยากจน
•ความเหลื่อมล้าลดลง มีระบบดูแลผู้สูงอายุ
และแรงงานต่ างชาติ
•พื้นทีป่ ่ าร้ อยละ37 ที่
อุดมสมบูรณ์ จัดการพลังงานและ
สิ่งแวดล้ อมได้
•ระบบคุณธรรมจริยธรรมฟื้ นคืน
•โครงสร้ างอานาจทางการเมืองได้ ดุล ดัชนี
ความโปร่ งใสเกิน5.5
•แก้ ปัญหาชายแดนใต้ ได้ อย่ างยั่งยืน
ประเทศไทยในภาวะเสื่อมถอย
ตาแหน่ งเชิงยุทธศาสตร์ประเทศไทย
เมือ่ โลกไม่ใช่ใบเดิม
ถอดบทเรียนวิสยั ทัศน์ จากประเทศเพื่อนบ้าน
ท้าทายด้วยฝันอันยิ่งใหญ่
วิสยั ทัศน์ และการออกแบบอนาคตประเทศไทย 2575
อันตรายของการเสื่อมถอย
เมื่อประเทศเริ่มเข้าสู่ยคุ เสื่อมถอย จะกินระยะเวลานาน
เปรียบเทียบ GDP per Capita ระหว่างไทยและฟิลิปปินส์
หน่ วย : ดอลลาร์สหรัฐ ณ ราคาปี 2005
ไทย 3,351
ฟิลิปปินส์ 1,501
ฟิลิปปินส์
ไทย 359
696
1960
1964
เหตุการณ์
สาคัญที่เกิดขึน้
1968
1972
1976
1984
วิกฤตหนี้
ต่างประเทศ
ที่มา: World Bank
Thailand Future Foundation
1980
1984
1988
1992
1996
2000
2004
1986
1997
ประธานาธิบดีมาร์กอสถูก
เนรเทศออกนอกประเทศ
วิกฤติการเงินใน
เอเชีย
2008
2012
และเมื่อประเทศเริ่มเสื่อมถอย ก็จะใช้เวลาไม่นานที่จะถูก
ประเทศอื่นๆ แซงหน้ า
อันดับเปรียบเทียบของ GDP per capita
(ดอลลาร์สหรัฐ)
1960
1980
2000
2012
1
สิงคโปร์
สิงคโปร์
สิงคโปร์
สิงคโปร์
2
มาเลเซีย
มาเลเซีย
เกาหลี
เกาหลี
3
ฟิลฟิ ิ ลิปปปปิิ นส์
นส์
เกาหลี
มาเลเซีย
มาเลเซีย
4
เกาหลี
ฟิลฟิ ลิิ ปปปปิ ิ นส์นส์
ไทย
ไทย
จีน
5
ไทย
ไทย
ไทย
ไทย
ฟิลฟิิ ปลิปปปิิ นส์
นส์
ไทย
ไทย
6
จีน
จีน
จีน
นส์
ฟิลฟิิ ปลิปปปิิ นส์
ที่มา: World Bank/ Thailand Future Foundation
การเติบโต
อย่างมี
เสถียรภาพ
• สิงคโปร์
เกาหลีใต้
โลกทีห
่ นึ่ง
• จีน
เศรษฐกิจ
โลกทีส
่ อง
• เวียดนาม
เปราะบาง
อ่อนไหว
ไร้เสถียรภาพ
•
• พม่า
• อินเดีย
ประเทศ
ไทย
โลกทีส
่ าม
แตกแยกวุ่นวาย
ไร้เสถียรภาพ
สังคมประชาธิปไตย
การเมืองมีเสถียรภาพ
การเมือง
ลาน
้
70
คน
โครงสร้างประชากรของประเทศไทย
อัตราส่วนคา้ จุนผูส้ งู อายุของประเทศไ
พ.ศ. 2513 - 2583
พ.ศ. 2503 - 2578
(Potential Support Ratio: PSR)
14.2 %
4.9%
26.6 %
9.1
20.5
60
12
11.3
10.3
10
50
8
40
1.7
42.9
30
20
10
6.7
6.5
6
35.2
17.2
4
2
15.5
7
12.3
6.4
4.8
3.2
อัตราส่วนวัยแรงงาน /
ผูสู
้ งอายุ 1 คน
2.4
8.2
0
0
2513
(34.4 m)
2555
วัยเด็ก
(64.4 m)
วัยแรงงาน
2583
วัยสูงอายุ
(63.9 m)
ที่มา : โฆสิ ต ปัน้ เปี่ ยมรัษฏ์ (2555), สถาบันวิ จยั ประชากรและสังคม มหาวิ ทยาลัยมหิ ดล
2503 2523 2543 2548 2549 2550 2558 2568 2578
คลื่นลูกที่
หนึ่ง
17891815
Industrial
Revolution
คลื่นลูกที่
สอง
ปลาย 1840ต้น 1870
The Great
railroad
expansion
คลื่นลูกที่
สาม
18901920s
Basic technology
growth of
telephony and
electrification
คลื่นลูกที่
สี่
หลัง WWII1993
Massive
industrialization
and economic
reconstruction
คลื่นลูกที่
ห้า
19932020
Communication
Technology and
globalization
Source: Roger Cass
เมื่อปี1960 เกาหลีใต้เป็น
หนึ่งในประเทที่ยากจน
ที่สุดของโลก โดยมี GDP
ต่อหัวอยู่ที่ $79 ต่่ากว่า
หลายประเทศในแอฟริกา
และลาตินอเมริกา
วันนี้ เกาหลีใต้มี GDP ต่อ
หัวที่ $13,300 จัดเป็น
ประเทศที่ร่ารวยอันดับที่
12 ของโลก
Korea Model
ความมั่งคัง่ ของชาติ
Korea 3.0 ?
Korea 2.0
Korea 1.0
• Entertainment
Software
• Telecommunications
Equipment
Heavy Industry
• Ship Building
• Steel
• Chemical
เวลา
• การเข้าสู่สงั คมผูส้ งู อายุและการลดลงของจานวนประชากรจะจากัดขอบเขตความ
เป็ นไปได้ของการพัฒนาประเทศญี่ปนเป็
ุ่ นอย่างมาก
• การเพิ่มขึน้ ของ total factor productivity มีค่าเฉลี่ยเพียง 0.2 % ต่อปี ในช่วง ค.ศ.
1991-2000 ลดลงจาก 2.4% ต่อปี ในช่วง ค.ศ. 1983- 1991
• สัดส่วนรายได้ของบริษทั ญี่ปนใน
ุ่
Fortune Global 500 ลดลงจาก 35% ในปี 1995
เหลือเพียง13% ในปี 2009
• ตัง้ แต่ปี 2011 เป็ นต้นมา ประเทศญี่ปนมี
ุ่ โรงไฟฟ้ านิวเคลียร์ 54 แห่ง คิกเป็ น 27%
ของปริมาณไฟฟ้ าทัง้ หมด
• ประเทศญี่ปนมี
ุ่ ความเสี่ยงที่จะไม่สามารถบรรลุเป้ าหมายด้านการรับมือกับการ
เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศได้
Source: Reimaging Japan; McKinsey & Company
• ประเทศญี่ปนอาจกลั
ุ่
บมามีนัยสาคัญเชิงยุทธศาสตร์เพิ่มขึน้ ได้อีกครัง้ เมื่อประเทศจีน
ก้าวขึน้ มามีบทบาทเด่นในเวทีโลก
Japan-centered Asia ก็มกั ถูกทาบรัศมี
ด้วยยุทธศาสตร์ China-centered Asia อยู่เสมอ
• อย่างไรก็ตาม ยุทธศาสตร์
• นัน่ คือ ประเทศญี่ปนเร
ุ่ ิ่ มมีความสาคัญลดน้ อยลงเรื่อยๆ ในสายตาของประเทศจีน
สวนทางกับแนวโน้ มที่จะจีนมีความสาคัญต่อญี่ปนเพ
ุ่ ิ่ มขึน้ ทุกทีๆ
Source: Reimaging Japan; McKinsey & Company
• ความถดถอยของประเทศญี่ปนุ่ เกิดจากความผิดพลาดในการ (ไม่) ตัดสินใจทัง้ ใน
ระดับสถาบันและระดับบุคคลผูม้ ีอานาจ
• ในสายตาของต่างชาติ ผูว้ างนโยบายของญี่ปนมั
ุ่ กถูกมองว่าย่ามใจมากเกินไป
ในช่วงหลังจากเกิดวิกฤติ
• การปฏิรปู มักไม่ครอบคลุมหรือลงลึกเพียงพอที่จะก่อให้เกิด broad-based
productivity revolution
• ระบบการศึกษาของญี่ปนจะต้
ุ่
องช่วยเยาวชนให้ปรับเปลี่ยนทัศนคติจาก
“Island Mentality” ไปสู่การพัฒนาให้เป็ น “Sailor’s
Mentality”
Source: Reimaging Japan; McKinsey & Company
ทิศทางเชิงยุทธศาสตร์
2020
ที่มา: Strategic Group
สร้ า งสั ง คม “เสี่ ย วคั ง ” หรื อ
สังคมที่ ประชาชนจีนมีความกิ น
ดีอยู่ดีอย่างทั ่วหน้ า
สะท้ อ นความแน่ วแน่ ที่ จ ะก้ า ว
ต่อไปตามแนวทางระบอบสังคม
นิ ยมที่มีเอกลักษณ์ แบบจีน
ภายในปี 2020 จีนตั้งเป้าหมายทีจ
่ ะเพิ่ม GDP และรายได้ตอ
่ หัว
ของประชากรทัง้ ในเขตเมืองและเขตชนบท อีก 1 เท่าตัว เมื่อเทียบ
กับปี 2010
• เศรษฐกิจจีนจะมีขนาด 13 trillion USD ในปี 2020 (เทียบ
กับราคาคงทีป
่ ี 2010 )ใกล้เคียงกับประเทศในโลกทีห
่ นึง่
• รายได้ตอ
่ หัว จะมากกว่า 10,000 USD.
วิสัยทัศน์ ของสิ งค์ โปร์ คอื การเป็ น Global City
ปัจจุบนั
อนาคต
• มุง่ เน้นที่ การผลิตและการบริการ
•
• ส่งเสริมการยกระดับภาคเอกชนเพือ่ ให้
แข่งขันได้ในระดับโลก
• หันมาให้ความสาคัญกับ ภาคบริการ
โดยเฉพาะด้านศิลปะและวัฒนธรรม
• ตัวขับเคลื่อนหลักของการเติบโต:
เป็ นศูนย์กลางทางการเงินของโลก เป็ น
ศูนย์กลาง headquarters ของภูมภิ าค
การบริการด้านธุรกิจ การท่องเทีย่ ว
• ตัวขับเคลื่อนหลักของการเติบโต:
การบริการด้านสุขภาพ การบริการที่
เกีย่ วกับวิชาชีพ อุตสาหกรรม
สร้างสรรค์ เช่น ศิลปะ วัฒนธรรม การ
ออกแบบ สือ่
Highly Resilient
วิสยั ทัศน์
• A Global Leader
• A Great City
• A Home in Asia for Business,
Innovation & Talent
เป้ าหมาย
Enhance Singapore's
position as a global hub
for business, investment
and talent
ภารกิจ
Create for Singapore, sustainable economic growth with
vibrant business and good job opportunities
ระบบคุณค่า
Nation, Imagination, Courage, Integrity, Care, Excellence, Team
Vision Malaysia 2020 (Wawasan 2020)
ก้าวสู่การเป็นประเทศพัฒนาแล้วภายในปี 2020:
มีระดับการเติบโตทางเศรษฐกิจสูง ควบคู่กับการมีสภาพแวดล้อมทางสังคมและการเมืองที่
ดีเยี่ยม มุ่งเน้นการพัฒนาระบบการท่างานภาครัฐ คุณภาพชีวิต คุณค่าทางจิตวิญญาณ
ความภาคภูมิใจในชาติ และการมีความเชื่อมั่นในตนเองของประชาชน
ความท้าทายเชิงยุทธศาสตร์:
1. ยังมีความแตกต่างหลากหลายระหว่างประชากรแต่ละกลุ่ม
2. ยังเป็นเพียงผู้ซื้อเทคโนโลยีเพื่อใช้งาน โดยยังไม่สามารถพัฒนาได้เอง
3. ยังมีค่านิยมทางสังคมบางประการที่ต้องส่งเสริม: self-confidence, excellence-oriented,
dynamic
อัตลักษณ์
ความเป็ นไทย
พระมหากษัตริย์
ที่ทรงธรรม
National
Identity
Meritocratic
Monarchy
ความภูมิใจใน
ความเป็ นรัฐชาติ
ความเป็ น
พลเมืองที่ตื่นตัว
Pride of
Nation-State
Engaged
Citizenship
ความรักชาติ ความเป็ นเจ้าของ
และความเป็ นเอกภาพ
Sense of Patriotism,
การมีส่วนร่วมใน
การทาประโยชน์ ให้ประเทศ
Commitment to
the
Modified
National
from Singapore
Course
Civic Education
ความหลากหลาย
เชิงวัฒนธรรม
มีความ
หลากหลาย
วิถีชีวิตเกษตร
ใกล้ชิดธรรมชาติ
สนุกสนาน
มีชีวิตชีวา
ความหลากหลาย
เชิงชีวภาพ
แหลงข
่ อมู
้ ล: เอกวิทย ์ ณ ถลาง
มีความละเอียด
พิถีพิถนั
ทักษะ
ฝี มือเชิงช่าง
อัตลักษณ์
ความเป็ นไทย
เปิดรับ
และประยุกต์
มองโลกในแง่บวก
สร้างสรรค์
สะท้อนความเชื่อ
และศาสนา เป็ นกันเอง มีน้าใจ
เคารพผูใ้ หญ่
ชุดคุณค่าเดิม
ลดทอน
• ระบบอุปถัมภ์ ระบบศักดินา
อภิสิทธิ์ชน อานาจนิยม
• การยึดรู ปแบบไร้ เนือ้ หา
• ความฉาบฉวย
• การแสดงออกที่เกินงาม
ยุทธศาสตร์
การปรับฐานราก
วัฒนธรรม
ปลูกฝัง
• คุณค่ าปั จเจกนิทศั น์
• คุณค่ าจิตสาธารณะ
• คุณค่ าการวิจารณ์ ตนเอง
• คุณค่ าที่เน้ นการปฏิบัติ
อย่ างมีเป้าหมาย
ชุดคุณค่าใหม่
คุณค่าเชิงวัฒนธรรม
ความโดดเด่น
เยอรมัน
Discipline/ Order
Engineering
ฝรังเศส
่
Houte Couture
Chic
Art & Aesthetics
Design
High Self-Esteem
Technology
?
?
อิตาลี
ญี่ปนุ่
ไทย
Page 35
การเมืองไทย
ในปัจจุบนั
การเมืองไทยที่พึง
ปรารถนา
พลเมือง
ที่ตื่นตัว
พลเมือง
ที่เฉื่ อยชา
ไร้ซึ่งความคิด
อุดมการณ์
จิตสานึ กต่อ
ส่วนรวม
รัฐควบคุม
สังคม
การพึ่งพิง
ภาครัฐ
สังคม
ควบคุมรัฐ
มีความคิด
อุดมการณ์
จิตสานึ กต่อ
ส่วนรวม
ความเข้มแข็ง
และความเป็ นอิสระ
ของภาคประชาชน
พระมหา
กษัตริย์
ที่ทรงธรรม
รัฐที่ไม่น่าเชื่อถือ
พลเมืองที่เฉื่ อยชา
พระมหา
กษัตริย์
ที่ทรงธรรม
รัฐที่น่าเชื่อถือ
พลเมืองที่ตื่นตัว
สาหรั บไทย :
เพิม่ ขีดความสามารถในการแข่งขันและผลประโยชน์ชาติ
สาหรั บเพื่อนบ้ าน : ยกระดับคุณภาพชีวิต และเติบโตร่วมกัน
จินตนาการใหม่ : ไทยเป็ นอันหนึ่งอันเดียวกันกับเพือ่ น
Common
Heritage
บ้านใน
•
•
•
•
ขอบเขตใหม่
สานึกร่วมใหม่
ฐานทรัพยากรและการเป็ นเจ้าของร่วม
เป้าหมายการพัฒนาใหม่
Common
Potentials
Common
Problems
การรับรู้รากเหง้ าร่ วมกัน
ประวัตศิ าสตร์ และโบราณคดี
Vision Thailand
ข้อพิจารณาด้านสังคมวัฒนธรรม
ศิลปวัฒนธรรม
40
ความมัน่ คงและผลประโยชน์ แห่ งชาติ
ข้อพิจารณาด้านการเมือง
• นัยยะต่อความมันคงทางทหาร
่
: การลดความขัดแย้งตามแนวพรมแดน
ซึง่ ส่วนใหญ่ไม่ชดั เจน เพิม่ บทบาทการจัดระเบียบตามแนวพรมแดน
• นัยยะต่อความมันคงทางพลั
่
งงาน : ขยายฐานทรัพยากรเพือ่ สร้างความ
มันคงทางพลั
่
งงานร่วมกันของภูมิภาค
• นัยยะต่อความมันคงทางอาหาร
่
: พัฒนาอุตสาหกรรมอาหาร และ
อุตสาหกรรมบนฐานเกษตร เพือ่ รับกับภาวะความต้องการอาหารของโลก
ทีจ่ ะเพิม่ ขึ้น
• นัยยะต่อความมันคงของมนุ
่
ษย์ : การพัฒนาปัจจัยพื้นฐานและระบบ
สาธารณูปโภคให้ทวถึ
ั ่ ง และลดการอพยพแรงงานเพือ่ รักษาโครงสร้างทาง
สังคม
Vision Thailand
41
1. ส่ วนผสมโครงสร้ างเศรษฐกิจทีด่ ี (Good economic structure mix)
2. ศักยภาพของภาคเอกชน (Quite capable private sector)
3. ผู้ส่งออกอาหารรายใหญ่ ของโลก (Net food exporter)
4. ชัยภูมิทดี่ ี (Good geographical location)
5. เครือข่ ายโครงสร้ างพืน้ ฐานทีด่ ีพอควร (Decent network of
infrastructure)
6. ขนาดประชากรพอสมควร (Sizeable population)
7. สิ่ งอานวยความสะดวกทางสั งคม (Social amenities)
8. วัฒนธรรมที่มีไมตรีจิต (Hospitable culture)
9. เศรษฐกิจมหภาคทีม่ ีเสถียรภาพ (Sound macro economy stability)
และอืน่ ๆ
• การอพยพ
แรงงานข้ ามชาติ
5-10M by
2020
• การขยายตัวทาง
เศรษฐกิจของจีน-อินเดีย
Growth rate
47-51%
เพิ่มขึ ้น
• ภาระสวัสดิการ
• การค้ ามนุษย์
• คุณภาพชีวิตคนไทย
• การยอมรับในสากล
เพิ่มขึ ้น
• ชนชันกลางในจี
้
น-อินเดีย
• อิทธิพลต่อประเทศเล็ก
ต่าลง
• อานาจต่อรอง
• ขีดความสามารถ
ต่าลง
• 50 เมืองหลักในสุวรรณภูมิ
• กลุ่มประเทศอาเซียนที่กุม
ฐานการผลิตอาหารของโลก
• Regional Value Chain
• การขยายฐานการผลิตและ
ตลาดในภูมภิ าค
• ลดการอพยพแรงงาน
• เพิ่มคุณภาพชีวติ คนสุวรรณภูมิ
• ความร่ วมมือทางวัฒนธรรม
เศรษฐกิจ
ภาพใหญ่
สังคม
ความมั่นคง
• ทางทหาร
• ด้ านพลังงาน
• ด้ านแรงงาน/โครงสร้ าง
ประชากร
•
•
•
•
•
ศูนย์กลางเศรษฐกิจ
แหล่งงาน
แหล่งการศึกษา
ผังเมืองก้าวหน้ า
เมืองศิลปวัฒนธรรม
• Digitized city
• ฯลฯ
ศูนย์ประสานภาคีการพัฒนาจังหวัด : spec.
1. สถานที่มีความเป็ นกิจลักษณะ
2. ไม่จาเป็ นต้องหรูหรา แต่ควรดูดี
3. สามารถต้อนรับภาคีการพัฒนาต่างๆ ทัง้ ภาครัฐ ธุรกิจ
ชุมชน ท้องถิ่น ประชาสังคม สื่อมวลชน
4. มีคนอยู่ประจา ให้คนภายนอกสามารถติดต่อประสานงาน
ได้
5. มีที่อยู่ที่ติดต่อทางไปรษณี ยไ์ ด้
6. มีโทรศัพท์พนื้ ฐาน/แฟกซ์/อีเมล/fb/ตู้ปณ. (ติดตัง้ เพิ่มเติมได้)
ศูนย์ประสานภาคีการพัฒนาจังหวัด : ภารกิจ
1. เป็ นกลไกประสานงานเชิงยุทธศาสตร์ของพหุภาคีการพัฒนาในพืน้ ที่จงั หวัดของ
ตนได้ทกุ สายงาน
2. เป็ นศูนย์ข้อมูลดิจิตอลด้านองค์กรชุมชน, องค์กรพัฒนาเอกชน, องค์กร
สาธารณะประโยชน์ ภาคประชาสังคม,องค์ความรู้การพัฒนาชุมชนท้องถิ่นและ
การพัฒนาจังหวัด,ผูน้ า,โครงการหรือกรณี ศึกษาที่น่าสนใจ
3. เป็ นกลไกประสานงานภาคสนามสาหรับหน่ วยงานอิสระส่วนกลาง อาทิ สปพส./
สช. สสส. LDI ศคธ. ฯลฯ
4. เป็ นหน่ วยดาเนินการเวทีวิสยั ทัศน์ จงั หวัด รวมทัง้ ริเริ่มและประสานกิจกรรม/
เวทีการเคลื่อนไหวปฏิรปู ต่างๆร่วมกับแผนงานInspiringThailandอื่นๆ
5. ประสานงานเวทีรบั ฟั งความคิดเห็นประชาชน/ร่วมกิจกรรมกับสภาปฏิรปู .
6. เปิดบริการตู้ปณ. เว็บไซต์หรือเฟซบุค๊ เพื่อเป็ นช่องทางรองรับความคิดเห็น
เสนอแนะของประชาชนที่มีต่องานพัฒนา/การปฏิรปู
กรอบแนวคิดรวบยอด :ยุทธศาสตร์รว
่ มขององค์กรภาคีเพือ
่ สน ับสนุนชุมชนเข้มแข็ง
2
1
5
6
7
4
อชช./
อปท.
/ท้องที่
/อืน
่ ๆ.
้ ที่
ในพืน
อชช.
เข้มแข็ง
เต็ม
้ ที่
พืน
3
46องค์กรภาคี
สน ับสนุน
ระด ับชาติ ก ับ
ภารกิจที่
หลากหลาย
เครือ
่ งมือรวมแสงเลเซอร์
1.เป้าหมายใหญ่ 2.หล ักการร่วม 3.ความเป็นเจ้าของร่วม
4.ฐานข้อมูล 5.แผนยุทธศาสตร์ 6.คล ังเครือ
่ งมือ
7.กลไกจ ัดการร่วม
ชุมชน
เข้มแข็งชุมชน
สุขภาวะ
ทงชุ
ั้ มชน
ชุมชนสุขภาวะ ชุมชนเข้มแข็ง
ชุมชนจ ัดการตนเอง ชุมชนเป็นสุข
ั
....หมายความว่า ชุมชนทีม
่ ศ
ี กยภาพในการ
เรียนรู ้ ปร ับต ัวและสามารถจ ัดการปัญหาได้
ั
ด้วยตนเอง ทงด้
ั้ านเศรษฐกิจ สงคม
การเมือง สงิ่ แวดล้อม สุขภาพและคุณธรรม
จริยธรรม จนบรรลุซงึ่ ความเข้มแข็ง
พึง่ ตนเองได้และมีความสุขหรือสุขภาวะใน
ด้านต่างๆ
องค์กรชุมชน
....หมายความว่า รูปแบบการจ ัดตงและจ
ั้
ัดการ
ตนเองอย่างมีโครงสร้างและเป็นระบบของชุมชน
ซงึ่ มีความแตกต่างหลากหลายไปตาม
ั ันธ์
ว ัตถุประสงค์ ความสนใจและการปฏิสมพ
ตอบสนองก ับองค์กรภายนอก ทงในด้
ั้
านชนิด
ประเภท ขนาดและคุณสมบ ัติพน
ื้ ฐานขององค์กร
องค์ กรชุมชน๒๓ประเภท
(จากฐานข้ อมูล๑๕องค์ กรภาคี)
• จานวนรวม ๓๐๗,๙๒๔ อชช.
• ความหนาแน่ นเฉลี่ย ๓,๙๙๙ อชช./จังหวัด
๓๑๕ อชช./อาเภอ
๓๙ อชช./ตาบล-เทศบาล
• ระดับความเข้ มแข็งในเชิงคุณภาพ ร้ อยละ ๑๓.๗-๕๖.๒
• กลุ่มจังหวัดที่มีความหนาแน่ น สูงถึงสูงมาก ๑๖ จว.
ปานกลาง ๑๘ จว.
ต่าถึงต่ามาก ๔๒ จว.
"แผนทีภ
่ ูมศ
ิ าสตรแสดงระดั
บความหนาแน่นของจานวนองคกรชุ
มชนในพืน
้ ที่ 77 จังหวัด พ.ศ.2556"
์
์
จานวนองคกรชุ
มชนตอ
์
่
องคกรปกครองส
วนท
องถิ
น
่
์
่
้
 < 29 ตา่ มาก
 30-39 ตา่
 40-49 ปานกลาง
 50-59 สูง
 60 > สูงมาก
จัดทาโดย
แนวโน้ ม(บางประการ)ภายหลังสภาปฏิรูป
• ลดอานาจรั ฐ เพิ่มอานาจประชาชน/
ประชาสังคม
• กระจายความรั บผิดชอบและการ
บริหารจัดการสู่ท้องถิ่น
• ประชาธิปไตยแบบมีส่วนร่ วมและ
ประชาธิปไตยทางตรง
• เครื่ องมือของสังคมและชุมชน
ท้ องถิ่นมีมากขึน้ มาก
•
•
•
•
•
•
•
•
•
กองทุนสื่อปลอดภัยและสร้ างสรรค์
กองทุนพัฒนากีฬา
องค์ กรอิสระคุ้มครองผู้บริโภค
สมัชชาคุณธรรมแห่ งชาติ
กองทุนพัฒนาการเมืองภาค
พลเมือง/ต้ านทุจริต
สภาพลเมืองจังหวัด
กองทุนการออมแห่ งชาติ
กองทุนยุตธิ รรม
ฯลฯ
ถึงเวลาสร้ างความเป็ นสถาบันของภาคประชาสังคม
INSTITUTIONALIZATION
การสร้ างความเป็ นสถาบัน
ศูนย์ ประสานภาคีการพัฒนาจังหวัด
:ประสานสนับสนุนพหุภาคีและเครือข่ ายการพัฒนาสังคมและชุมชน
ท้ องถิ่นที่หลากหลายในพืน้ ที่: