Digestive System Feed and Feeding กระบวนการย่ อยอาหาร (digestion) แบ่ งได้ เป็ น 3 ประเภทด้ วยกัน คือ การย่ อยโดยวิธีกล (mechanical digestion)ได แก การเคีย้ วอาหารใน ปาก.

Download Report

Transcript Digestive System Feed and Feeding กระบวนการย่ อยอาหาร (digestion) แบ่ งได้ เป็ น 3 ประเภทด้ วยกัน คือ การย่ อยโดยวิธีกล (mechanical digestion)ได แก การเคีย้ วอาหารใน ปาก.

Digestive System
Feed and Feeding
1
กระบวนการย่ อยอาหาร (digestion)
แบ่ งได้ เป็ น 3 ประเภทด้ วยกัน คือ
การย่ อยโดยวิธีกล (mechanical digestion)ได แก การเคีย้ วอาหารใน
ปาก การบดอาหารในส่ วนของกระเพาะบด (gizzard) ของสัตว์ ปีก
การย่ อยโดยวิธีเคมี (chemical digestion) เป็ นการย่ อยอาหารโดยอาศัย
เอ็นไซม์ จากส่ วนต่ างๆ ของอวัยวะย่ อยอาหาร และอวัยวะที่เกี่ยวข้ อง
การย่ อยโดยจุลนิ ทรี ย์ (microbial digestion) โดยเอนไซม์ จากจุลินทรี ย
ที่อาศัยอยู่ในส่ วนของกระเพาะรู เมนและลาไส้ ใหญ่
2
1. สัตว์ กระเพาะเดี่ยว ได แก สัตว์ กินเนือ้ (carnivorous) เช่ น เสือ
สิงโต เป็ นต้ น สัตว์ กินพืช (herbivorous) เช่ น ช้ าง กระต่ าย เป็ นต้ น และ
สัตว์ ที่กนิ เนือ้ และเมล็ดธัญพืช (omnivorous) เช่ น สุกร สัตว์ ปีก เป็ นต้ น
2. สัตว์ กระเพาะรวม เป็ นสัตว์ ที่ท่อทางเดินอาหารมีการพัฒนามาก
เพื่อให้ เหมาะสมกับอาหารที่กนิ คืออาหารที่มีเยื่อใยสูง ได แก โค
กระบือ แพะ และ แกะ เป็ นต้ น
3
ท่ อทางเดินอาหาร
ท่ อทางเดินอาหาร ในสัตว์ แต่ ละชนิดประกอบด้ วย
ปาก (mouth)
คอหอย (pharynx)
หลอดอาหาร (esophagus)
กระเพาะอาหาร (stomach)
ลาไส้ เล็ก (small intestine)
ลาไส้ ใหญ่ (large intestine)
4
สัตว์ ปีก (Avian)
1. ปาก (Mouth)
2. คอหอย (Pharynx)
3. หลอดอาหาร (Esophagus)
4. ถุงพักอาหาร (Crop)
5. กระเพาะอาหาร (Proventiculus)
6. กึ๋น (Gizzard)
8. ลาไส้ ใหญ่ (Colon)
9. ทวาหนัก (Anus)
5
6
สัตว์ เคีย้ วเอือ้ ง (Ruminants)
1. ปาก (Mouth)
2. คอหอย (Pharynx)
3. หลอดอาหาร (Esophagus)
4. รู เมน (rumen)
5. เรติคูลัม (reticulum)
6. โอมาซัม (omasum)
7. กระเพาะจริง (abomasum)
7. ลาไส้ เล็ก (Intestine) ทาหน้ าที่ย่อยทางเคมี และดูดซึมสารอาหาร
8. ลาไส้ ใหญ่ (Colon) ทาหน้ าที่กาจัดกากอาหารออกนอกร่ างกาย
9. ทวารหนัก (Anus) เป็ นช่ องเปิ ดปลายสุดของลาไส้ ใหญ่ ทาหน้ าที่ขับถ่ ายกากอาหาร
7
ปาก (Mouth)
ปากประกอบด้ วย
ริมฝี ปาก (lips)
ลิน้ (tongue)
ฟ น (teeth)
เพดานปาก
ต อมนา้ ลาย (salivary glands)
8
ปากและฟัน (Mouth and Teeth)
9
ฟ น (Teeth)
สัตว์ ชัน้ สูงส่ วนใหญ่ มีฟันอยู่ 2 ชุด คือฟั นนา้ นม และ ฟั นแท้
1.ฟั นนา้ นม (deciduous teeth) หมายถึงฟั นชุดที่งอกขึน้ มาตัง้ แต่ แรก
เกิดมีทัง้ หมด 20 ซี่ และจะหลุดออกไปเมื่อมีฟันแท้ ขึน้ มาแทนที่
2.ฟั นแท้ (permanent teeth) หมายถึง ฟั นชุดที่เจริญขึน้ มาแทนที่ฟัน
นา้ นมเมื่อสัตว์ เจริญเติบโต มีทงั ้ หมด 32 ซี่
โดยสัตว์ ปีกจะไม่ มีฟัน
โคจะไม่ มีฟันหน้ าบนและฟั นเขีย้ ว
10
ลิน้ (Tongue)
มีต่ ุมรั บรส และทาหน้ าที่คลุกเคล้ าอาหารในช่ องปาก
ลิน้ สามารถรั บรสได้ 4 รส
– รสหวาน
อยู่บริเวณปลายลิน้
– รสเค็ม
อยู่บริเวณปลายลิน้ และข้ างลิน้
– รสเปรีย้ ว
อยู่บริเวณข้ างลิน้
– รสขม
อยู่บริเวณโคนลิน้
โดยสัตว์ ปีกจะไม่ มีต่ ุมรับรสบนลิน้
11
ต่ อมนา้ ลาย (Salivary glands)
- Parotid gland เป็ นต่ อมนา้ ลายข้ างกกหู ซึ่งมีขนาดใหญ่ สุด
- Submaxillary gland พบอยู่ใต้ ต่อมนา้ ลายข้ างกกหู
- Sublingual gland พบอยู่ใต้ ลนิ ้ เป็ นต่ อมนา้ ลายขนาดเล็กสุด
- ในนา้ ลายมีเอนไซม์ ไทยาลินเป น ส่ วนประกอบ ช่ วยในการ่ อย
อาหารประเภทแป ง
12
ต่ อมนา้ ลาย (Salivary glands)
13
คอหอย หรื อ หลอดคอ (Pharynx)
คอหอยเป็ นท่ อเปิ ดร่ วมระหว่ างทางเดินหายใจและระบบทางเดินอาหาร
มีส่วนของ epiglottis ทาหน้ าที่ปิดส่ วนของระบบหายใจ (หลอดลม)
เมื่อสัตว์ หายใจ epiglottis จะปิ ดช่ องระหว่ างลาคอกับหลอดอาหารทาให้
อากาศที่หายใจผ่ านช่ องจมูกเข้ าสู่หลอดลมได สะดวก
14
Pharynx
Glottis
Larynx
Trachea
ขณะที่อาหารอยู่ในปาก
ขณะกลืนอาหาร
Peristaltic movement
15
หลอดอาหาร (Esophagus)
เป็ นท่ อทางเดินอาหารที่เชื่อมต่ อระหว่ างคอหอยกับกระเพาะอาหาร
ส่ วนต้ น (cardiac)
บริเวณรอยต่ อระหว่ างหลอดอาหารกับกระเพาะมีกล้ ามเนือ้ หูรูด (cardiac
sphincter) ทาหน้ าที่ควบคุมการเข าออกของอาหารสู กระเพาะ
16
หลอดอาหาร (Esophagus)
17
กระเพาะอาหาร (Stomach)
กระเพาะอาหารของสัตว์ กระเพาะเดี่ยว
18
กระเพาะอาหารสัตว กระเพาะเดี่ยว
จะรับอาหารจากหลอดอาหาร และ
คลุกเคล้ ากับนา้ ย่ อยจากกระเพาะให้
เป็ นของเหลวเรียกว่ า chyme ก่ อนที่
เคลื่อนลงสู่ลาไส้ เล็กส่ วนต้ น
สามารถแบ่ งออกได้ เป็ น 3 ส วน คือ
– Cardiac Region
– Fundus
– Pylorus
19
กระเพาะอาหารของสัตว เคีย้ วเอือ้ ง
แบ่ งออกเป็ น 4 ส วน
 กระเพาะรู เมน หรื อ กระเพาะผ้ าขีร้ ิ ว
้ (rumen)
 กระเพาะรั งผึง้ (reticulum)
 กระเพาะส่ วนสามสิบกลีบ (omasum)
 กระเพาะแท้
(abomasum)
20
Rumen
มีความจุประมาณ 80% ของกระเพาะทัง้ หมด
อยู่ตดิ กับผนังด้ านซ้ ายของช่ องท้ อง
ผนังภายในประกอบด้ วยแผ่ นเล็กๆเรียกว่ า Papillae
ทาหน้ าที่คลุกเคล้ าอาหารและดูดซึม VFA
21
Reticulum
เป็ นถุงขนาดเล็ก ผนังภายในมีลักษณะคล้ ายรังผึง้
มีความจุประมาณ 5% ของกระเพาะทัง้ หมด
อยู่ตดิ กับส่ วนหน้ าของกระเพาะรูเมน โดยมีผนังกัน
rumino-reticular fold ซึ่งปิ ดไม่ สนิท
22
Omasum
กระเพาะส่ วนนีอ้ ยู่ตดิ กับผิวบนส่ วนหน้ าของกระเพาะรูเมน
มีลักษณะเป็ นรูปกลมและมีปริมาตรความจุประมาณ7-8%ของ
กระเพาะทัง้ หมด
ลักษณะภายในมีลักษณะเป็ นแผ่ นซึ่งเรียกว่ า laminae ซึ่งบนผิว
ของแผ่ นเหล่ านีม้ ีปุ่มอยู่ท่ วั ทัง้ แผ่ น
กระเพาะส่ วนนีท้ าหน้ าที่ดดู เอาของเหลวในอาหารกลับ
23
Abomasum
กระเพาะจริงอยู่ตดิ ด้ านขวาของกระเพาะรูเมนและอยู่ตดิ กับพืน้
ล่ างของช่ องท้ อง
ทางเปิ ดเชื่อมต่ อจากกระเพาะ omasum
ภายในมีต่อมที่สามารถผลิตนา้ ย่ อยกระจายอยู่ตามเนือ้ เยื่อเมือก
ส่ วนปลายของกระเพาะเปิ ดเข้ าสู่ลาไส้ เล็กมีกล้ ามเนือ้ หูรูด
(pyloric-orifice)
24
25
ขบวนการเคีย้ วเอือ้ ง
Regurgitation = การขยอกอาหารจากกระเพาะหมักกลับไปที่ปาก
Swallowing = การกลืนกลับของเหลวลงที่ท้อง
Remastication = การเคีย้ วอาหารที่ขยอกออกมาให้ ละเอียด
Reinsalivation = การเคีย้ วและการขับหลั่งนา้ ลาย
Reswallowing = การกลืนอาหารกลับลงสู่กระเพาะหมัก
26
ลาไส เล็ก (small intestine)
ผนังของลาไส้ เล็กจะมี microvilli ทาหน้ าที่ช่วยในการดูดซึมโภชนะ ซึ่งลาไส้
เล็กแบ่ งออกเป็ น 3 ส่ วนคือ
แบ่ งเป็ น 3 ส่ วนคือ
ลาไส้ เล็กส่ วนต้ น (duodenum)
เจจูนัม (Jejunum)
ไอเลียม (Ileum)
27
ลาไส้ ใหญ่
ทาหน้ าที่ดูดซึมนา้ และแร ธาตุท่ จี าเป็ นต่ อร่ างกาย
ถ้ ามีเชือ้ โรคเข้ าสู่ลาไส้ ใหญ่ จะทาให้ ลาไส้ ใหญ่ ดูดนา้ กลับสู่เลือดไม่ ได้
ทาให้ เกิดโรคท้ องเดิน (Diarrhea)
และถ้ ากากอาหารอยู่ในลาไส้ ใหญ่ นานเกินไป จะถูกลาไส้ ใหญ่ ดูดนา้
ออกมามาก ทาให้ เกิดโรคท้ องผูก (Constipation)
ลาไส้ ใหญ่ มีความยาวประมาณ 1.5 เมตร แบ่ งได้ เป็ น 3 ส วนคือ
–
–
–
ส วนไส ติ่ง( caecum)
โคลอน (Colon)
ไส้ ตรง (Rectum)
28
อวัยวะที่ช วยในการย อยอาหาร
ตับ (liver)
ผลิตนา้ ดีเพื่อช่ วยในการย่ อยไขมันในส่ วนลาไส้ เล็ก
เกี่ยวข้ องกับขบวนการเมตาโบลิซมึ ของโปรตีน คาร์ โบไฮเดรต และไขมัน
ทาหน้ าที่กาจัดสารพิษออกจากร่ างกาย (detoxification) เช่ น การเปลี่ยนรู ป
ของแอลกอฮอล์ ให้ เป็ นนา้ และคาร์ บอนไดออกไซด์
ทาหน้ าที่สร้ างเกลือของกรดนา้ ดี (bile salt)
29
ตับอ อน (pancreas)
ทาหน้ าที่ผลิตนา้ ย่ อยสาหรั บย่ อยโปรตีน คาร์ โบไฮเดรต หรื อ ไขมัน โดยมีท่อ
เปิ ด (pancreatic duct) เข้ าสู่ลาไส้ เล็กส่ วนต้ น ซึ่งสารและเอนไซม์ ท่ ีสาคัญ ได
แก
โซเดียมไฮโดรเจนคาร์ บอเนต (NaHCO3)
เอนไซม์ อะไมเลส (Amylase)
เอนไซม์ ไลเพส (pancreatic lipase) ทางานได้ ดีท่ ี pH 8.0
30
สารและเอนไซม์ จากตับอ่ อน
- ทริปซิโนเจน (Trypsinogen) เป็ นสารเคมีท่ ีไม่ พร้ อมจะทางาน ต้ องอาศัย
เอนไซม์ เอนเทอโรไคเนส (Enterokinase) จากลาไส้ เล็ก
- ไคโมทริปซิโนเจน (Cyhmotrypsinogen)
- โพรคาร์ บอกซิเพปทิเดส (Procarboxypeptiddase) ทาหน้ าที่ย่อยโปรตีน
ตรงปลายสุดด้ านหมู่คาร์ บอกซิลเท่ านัน้
31
ฮอร์ โมนจากระบบทางเดินอาหาร
แกสตริน (Gastrin)
ซีครีตนิ (Secretin)
โคเลซีสโตไคนิน (Cholecystokinin;CCK)
เอนเทอโรแกสโตรน (Enterogastron)
32
33
การย่ อยอาหารในปาก
ในสัตว์ กระเพาะเดี่ยวการย่ อยอาหารในปากเกิดจากการย่ อยโดยวิธีกลและวิธีเคมี
เมื่ออาหารถูกนาเข าปากอาหารจะถูกเคีย้ วทาให้ มีขนาดเล็กลงมีการคลุกเคล้ า
อาหารผสมกับนา้ ลายเพื่อให้ ชิน้ อาหารอ่ อนนุ่มและสะดวกในการกลืน
ในสัตว์ บางชนิด เช่ น สุกร สุนัข และม้ า นา้ ลายมี เอนไซม์ อะไมเลส ทาหน้ าที่ในการ
ย่ อยคาร์ โบไฮเดรตในอาหารได้ บางส่ วน
ในสัตว์ กระเพาะรวมนา้ ลายจะไม มีเอนไซม์ ย่อยคาร์ โบไฮเดรต
ลูกสัตว์ จะมีเอนไซม์ ที่ใช่ ย่อยไขมันในอาหาร คือ เอนไซม์ pregastric lipase ทา
หน้ าที่ย่อยไขมันในกลุ่มบิวทีริก ซึ่งเอนไซม์ นีจ้ ะหมดไปเมื่อลูกสัตว์ หย่ านม
34
การย่ อยอาหารในกระเพาะอาหาร
Cephalic Phase เป็ นระยะรั บกลิ่น รส หรื อนึกถึงอาหาร เส้ นประสาท
Vagus จากสมองจะกระตุ้นให้ กระเพาะเคลื่อนที่และการหลั่งสาร
Gastric Phase เป็ นระยะที่ก้อนอาหาร (Bolus) เข้ าสู่กระเพาะอาหาร และ
หลั่งฮอร์ โมน Gastrin ไปกระตุ้นให้ กระเพาะอาหารหลั่ง HCl ออกมารวม
กับ Pepsinogen
Intestinal Phase เป็ นระยะที่อาหาร (Chyme) ออกจากกระเพาะอาหารเข้ า
สู่ลาไส้ เล็ก
35
การย่ อยอาหารในลาไส เล็ก
เป็ นการย่ อยโดยวิธีกลจากการบีบตัวของกล้ ามเนือ้ เรี ยบของลาไส้ เล็ก
เป็ นการย่ อยโดยวิธีเคมีท่ ีเกิดจากเอนไซม์ ที่ผลิตจากเซลล์ เยื่อบุของ
ลาไส้ เล็กและเอนไซม์ จากตับอ่ อน
โภชนะที่ถูกย่ อยในลาไส เล็ก ได แก โปรตีน คาร์ โบไฮเดรต ไขมัน
ไวตามิน และแร ธาตุ
36
เอนไซม์ ในลาไส เล็ก
- Enterokinase ช่ วยเปลี่ยน trypsinogen และ procarboxypeptidase ที่หลั่งจาก
ตับอ่ อนให้ เป็ น trypsin และ carboxypeptidase
- เอนไซม์ ย่อยคาร์ โบไฮเดรต ได้ แก่ Amylase, Maltase, Sucrase, Lactase
- Peptidase มีหลายชนิด เช่ น Aminopeptidase, Dipeptidase
- เอนไซม์ ไลเพส ช่ วยย่ อยไขมันให้ เป็ นกรดไขมัน และกลีเซอรอล
37
การดูดซึมโภชนะ
การดูดซึมแบบไม่ ใช้ พลังงาน (passive transport) ได แก
– osmosis
– diffusion (การแพร )
– facilitated diffusion (การแพร แบบมีตัวพา)
การดูดซึมแบบใช้ พลังงาน (active transport)
– pinocytosis
– phagocytosis
– active transport
38
Endocytosis
มี 2 ชนิด คือ
Pinocytosis เป็ นกลไกการขนส่ งสารเข้ าสู่เซลล์ โดยการทาให้ เยื่อหุ้ม
เซลล์ เว้ าเข้ าไปในไซโตพลาสซึมจนกระทั่งโมเลกุลของสารนัน้ หลุดเข้ าไป
ในเซลล์ ในลักษณะถุงเล็กๆ (vesicle)
Phagocytosis เป็ นกลไกการขนส่ งสารที่เป็ นเซลล์ ขนาดเล็กเข้ าสู่เซลล์
โดยการสร้ างเท้ าเทียมไปโอบหุ้ม จนกระทั่งโมเลกุลของสารนัน้ หลุดเข้ าไป
ในเซลล์ ในลักษณะถุงเล็กๆ (vesicle)
39
Osmosis
เป็ นการดูดซึมโภชนะโดย โภชนะเคลื่อนที่ไปพร อมกับโมเลกุลของนา้ ที่
ละลายตัวอยู่
โดยโภชนะเคลื่อนที่ผ่านผนังเซลล์ เมมเบรนของเยื่อบุผิวของระบบทางเดิน
อาหาร ทางรู ผนังเซลล์ เยื่อบุทางเดินอาหาร (membrane pore)
เป็ นการดูดซึมโดยไม่ ใช้ ATP
40
Diffusion
Passive diffusion (การแพร ) เป็ นการดูดซึมสารโดยการเคลื่อนตัวจะ
เคลื่อนจากที่ๆมีความเข้ มข้ นสูงไปสู ความเข้ มข้ นต่ากว่ า
Facilitated diffusion เป็ นการขนส่ งโภชนะโดยอาศัยตัวพาหรื อตัวช่ วยขนส่ ง
สาร (carrier) เช่ น โคเอนไซม์ ต่าง ๆ (coenzyme)
41
Active transport
เป็ นขบวนการผ่ านของโภชนะที่มีขนาดโมเลกุลใหญ่ ท่ ีผนังเซลล์ เมเบรน
โดยใช้ ATP และตัวพา (carrier)
นอกจากนีจ้ ะต้ องใช้ เอนไซม ATPase ด วย
เป็ นการขนส่ งสารจากที่มีความเข้ มข้ นต่าไปยังที่มีความเข้ มข้ นสูงกว่ า
เช่ น การดูดซึมนา้ ตาลที่ผนังเยื่อบุลาไส เล็ก การดูดซึมกรดอะมิโน
และการขนส่ ง Na+ ออกจากเซลล์
42
การดูดซึมคาร์ โบไฮเดรต
43
การดูดซึมโปรตีน
44
การดูดซึมไขมัน
45
Glycolysis pathway
46
Glycolysis pathway
47
48
Acetyl CoA Synthesis
49
50
ตาราง สรุ ปพลังงานในกระบวนการหายใจแบบใช ออกซิเจน
51
การนาโภชนะไปใช้ ประโยชน์
production (20%)
Gross energy (100%)
DE (70%)
ME (60%)
NE (40%)
maintanance (20%)
- Fecal energy (30%) – gaseous energy (5%) - heat increment (20%)
– urinary energy (5%)
52
ตะวันไม่ สิ้นแสง ขอจงอย่าสิ้นหวัง
เอาใจเป็ นพลัง และจงสู้ ต่อไป
53