Transcript Document

การจัดการความรู้
(Knowledge Management)
ระบาดวิทยา (Epidemiology)
นางน้ าผึ้ง รัตนพิบูลย์
วันที่ 19 พฤษภาคม 2554
กลุ่มพัฒนาความร่ วมมือทันตสาธารณสุขระหว่ างประเทศ
What is Epidemiology?
The study of distribution and
determinants of disease frequency in
human population. (McMahon B., Pugh TF,1970)
The study of the occurrence of
disease in a human population . (CDC
Center of Disease Control and prevention, 1978)
What is Epidemiology?
The study of distribution and
determinants of health-related states or
events in specified population, and
application of this study to control of
health problems. (Last, 1988)
What is Epidemiology?
Epidemiology is about the interplay
And the interactions between human
hosts, disease agents and their
environments.
It serves as a rationally logical
foundation for public health and
preventive medicine.
South-East Asia Regional Conference on Epidemiology, 2010
ระบาดวิทยา คือ อะไร
•
•
•
•
การศึกษาเกี่ยวกับการกระจายของโรคและปั จจั ย
ที่มีอทิ ธิพลต่ อการกระจายของโรคในมนุษย์
รากศัพท์ ของ “Epidemiology” มาจาก ภาษากรีก
Epi = On, Upon
Demos = People
Logos = Knowledge
http://www.health.nu.ac.th/epidemiology
ระบาดวิทยา คือ...
ึ ษา
การศก
การเกิดโรค
ประชากร
ควบคุมโรค
ี่ ง) คืออะไร
สาเหตุ (หรือปั จจัยเสย
การกระจายของโรค: บุคคล เวลา สถานที่
วิวัฒนาการเกี่ยวกับความเข้ าใจเกี่ยวกับโรค
ต้ นคริสศตวรรษที่ 19 Florence Nightingale และคณะ ได้ ให้ นิยามดังนี ้
โรคเป็ นภาวะของความไม่สมดุลย์ของร่างกาย เช่น การมีไข้ อาเจียร เหงื่อออก
ท้ องร่วง ฯลฯ
การป้องกันโรคทาได้ โดย การหลีกเลี่ยงสิง่ ทีทาให้ เกิดความไม่สมดุลย์ เช่น การอยูใ่ นที่
ที่มีอากาศถ่ายเทดี มีน ้าสะอาด มีสขุ าภิบาลดี และรับประทานอาหารที่ถกู สุขลักณะะ
การรักณาทาได้ โดยการทาให้ เหงื่อออก การทาให้ อาเจียร การเอาเลือดที่เสียคัง่ ออกมา
ต่ อมากลางคริสศตวรรษที่ 19
Pierre Charles-Alexander Louis พบว่าการการเอาเลือดที่เสียคัง่ ออกมาไม่มีผลต่อ
การรักณา
John Snow และคะะค้ นพบว่าการระบาดของโรคอหิวาตกโรคเกิดจากดื่มน ้าที่
ปนเปื อ้ นสิง่ ปฏิกลู
http://www.health.nu.ac.th/epidemiology
วิวัฒนาการเกี่ยวกับความเข้ าใจเกี่ยวกับโรค (ต่ อ)
ปลายคริสศตวรรษที่ 19 Robert Koch และคณะ
ค้ นพบเชื ้อ Tubercle bacillus และ เชื ้ออื่นๆ ที่เป็ นสาเหตุของโรค
นอกจากนี ้ยังพบเชื ้อที่เป็ นสาเหตุเฉพาะของโรคแต่ละโรค
พบว่าการรักณาและป้องกันโรคทาได้ โดยกาจัดสาเหตุของโรค
สิ่งที่ยงั ไม่พบในยุคนี ้คือ เพราะเหตุใดผู้ที่สมั ผัสเชื ้อบางคนจงงไม่เป็ นโรค
ยุคปั จจุบัน
ค้ นพบสาเหตุของโรค และเข้ าใจธรรมชาติของโรคมากขง ้น
นอกจากนีย้ ังพบว่าการเกิดโรคบางโรคยังมีสาเหตุร่วมหลายประการ
เช่ น จากเชื อ้ โรคเอง จากพฤติ ก รรมของผู้ ป่ วย และจากสภาพ
สิง่ แวดล้ อม
http://www.health.nu.ac.th/epidemiology
ประโยชน์ ของระบาดวิทยา
บอกธรรมชาติของการเกิดโรค (National history of disease)
หาสาเหตุของโรค (Causation)
วัดสถานะสุขภาพและการเปลี่ยนแปลง (Description of
health status and changing in time)
ประเมินมาตรการ (Evaluation of health intervention)
http://www.bmadcd.go.th/power%20point/BMA%20Principle%20of%20Epi
demiology%20080624.ppt
องค์ ประกอบในการเกิดโรค (Epidemiologic Triangles)
Agent
Host
Environment
ในภาวะที่มีความสมดุลระหว่ างปั จจัยทัง้ สามจะไม่ มีโรค
เกิดขึน้ ในชุมชน (Stage of equilibrium)
http://www.health.nu.ac.th/epidemiology
Host, Agent and Environment
Host
Genetic factors
Personality
Age
Gender
Race
Immunities
Behavior
Lifestyle
Agent
Infectious:
•bacteria
•viruses
•parasite
Chemical:
•poisons
•allergens
Physical:
•radiation
http://www.health.nu.ac.th/epidemiology
Environment
Social:
•Social Economic Status
•Country of residence
Physical:
•pollution (air, water)
•heat, cold
•light
•disaster
•
ในภาวะที่ไม่ มีความสมดุลระหว่ างปั จจัยทัง้ สาม
จะมีโรคเกิดขึน้ ในชุมชน (Stage of unequilibrium)
Host
Agent
Environment
ภาวะที่ไม่สมดุลนี้ อาจเกิดขึ้นเนื่องจาก
 สิ่งที่ทาให้ เกิดโรคมีความสามารถในการแพร่กระจายโรคและทาให้ เกิดโรคมากขง ้น
 สัดส่วนของคนที่มีความไวในการติดโรคเพิ่มมากขง ้นโดยเฉพาะทารกและคนชรา
 การเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้ อมที่สนับสนุนให้ มีการแพร่ กระจายของโรค เช่น ในฤดูฝน
ทาให้ ยงุ ลายเพิ่มจานวน ไข้ เลือดออกสูงขง ้น
http://www.health.nu.ac.th/epidemiology
หลักการป้องกันและควบคุมโรค
Agent
Host
1.การวินิจฉัยแต่แรกเริ่ ม
และรักณาทันที
1.การส่งเสริ มสุขภาพ
โภชนาการ สุขศงกณา
2. การค้ นหาและรักณา
พาหะนาโรค
2.การคุ้มกันเฉพาะ
เช่น วัคซีน
3. การควบคุมแหล่งแพร่
เชื ้อ
Environment
ก า ร ค ว บ คุ ม
สิ่ง แวดล้ อ ม เช่น ขยะ
น ้า เ สี ย สิ่ ง ป ฏิ กู ล
สัต ว์ แ ละแมลงที่ เ ป็ น
พาหะนาโรค
http://www.health.nu.ac.th/epidemiology
ธรรมชาติการเกิดโรค
The Natural History of Disease
แบ่ งออกได้ เป็ น 4 ระยะ คือ
1.ระยะมีความไวต่ อการเกิดโรค (Stage of susceptibility)
2.ระยะก่ อนมีอาการของโรค (Stage of preclinical disease)
3.ระยะมีอาการของโรค (Stage of clinical disease)
4.ระยะมีความพิการของโรค (Stage of disability)
http://www.health.nu.ac.th/epidemiology
ทาไมต้ องรู้ ธรรมชาติการเกิดโรค ?
 เพื่อประโยชน์ในการป้องกันโรค
 เพื่อประโยชน์ในการวินิจฉัยโรค และหาสาเหตุที่แท้ จริ ง
ของโรค โดยเฉพาะอย่างยิ่งถ้ าโรคนันเป็
้ นโรคที่มีระยะ
ฟั กตัวนาน (long latency)
http://www.health.nu.ac.th/epidemiology
ธรรมชาติการเกิดโรค
1.ระยะมีความไวต่ อการเกิดโรค
(Stage of susceptibility)
คนปกติม ี risk
แต่ไม่ป่วย
2.ระยะก่ อนมีอาการของโรค
(Stage of preclinical disease)
มีพยาธิสภาพแต่
ยังไม่มอ
ี าการ
3.ระยะมีอาการของโรค
(Stage of clinical disease)
มีอาการของโรค
เกิดขึน
้
4.ระยะมีความพิการ
(Stage of disability)
หาย หรือ มีความ
พิการ หลงเหลืออยู่
การป้องกันขัน้ 1
(1o prevention)
กาจัดปั จจัยเสี่ยงเพื่อ
ลดผู้ป่วยรายใหม่
การป้องกันขัน้ 2
(2o prevention)
คัดกรองรี บรักณาทันที
เพื่อลดความรุนแรง
และลดการดาเนินโรค
การป้องกันขัน้ 3
(3o prevention)
รั กณาที่ ถูกต้ อ งและส่ง
ต่ อ ต า ม ค ว า ม
เ ห ม า ะ ส ม เ พื่ อ ล ด
ภาวะแทรกซ้ อน ลด
ความพิการ และทาให้
ชี วิ ต ที่ เ ห ลื อ อ ยู่ มี
คุะภาพ
http://www.bmadcd.go.th/power%20point/BMA%20Principle%20of%20Epidemiology% 20080624.ppt
นิยามศัพท์
• อุบตั ิการณ์ incidence – ผูป้ ่ วยรายใหม่
• ความชุก prevalence – ผูท้ ี่กาลังป่ วย(รวมรายใหม่ และ
รายเก่าที่ยงั ไม่หาย)
ป่ วยรายใหม่
incidence
Prevalence
ตาย
หาย
http://thaibod.net/documents/Epidemiological_Approach.ppt
นิยามศัพท์
• Endemic (โรคประจำถิ่น)
– โรคที่พบกำรระบำดได้ ตำมควำมคำดหมำยในกลุ่มประชำกร
– “Background” level
จำนวนคำดกำรณ์ผูเ้ สียชีวิตในแต่ละปี
Cécile Viboud, et al. Emerg Infect Dis [serial on the Internet]. 2006 Apr. Available from
http://www.cdc.gov/ncidod/EID/vol12no04/05-0695-G2.htm
• Epidemic
– เมื่อพบผู้ป่วยหรือกำรระบำดมำกกว่ำควำมคำดหมำย (มำกกว่ำปรกติ)
• Pandemic
– เมื่อพบกำรระบำดในวงกว้ ำงทำงภูมิศำสตร์ หรือ ทั่วโลก
Number of Cases
of a Disease
Endemic vs Epidemic
Endemic
Epidemic
Time
http://dpc2.ddc.moph.go.th/phpinfoboard3/data/2/pic/7.ppt
การวัดทางระบาดวิทยา
• Ratio : ตัวตัง้ ไม่จาเป็ นต ้องเป็ นสว่ นหนึง่ ของตัวหาร
• Proportion : เปรียบเทียบจานวนย่อยกับจานวน
รวมทัง้ หมด
• Rate : มีเวลาเกีย
่ วข ้อง
http://www.bmadcd.go.th/power%20point/BMA%20Principle%20of%20Epide
miology%20080624.ppt
อัตราส่ วน Ratio
• a/b
• เป็ นการเปรี ยบเทียบค่ าตัวเลขของจานวนหนึ่ง
กับอีกจานวนหนึ่ง โดยตัวตัง้ ไม่ ได้ มาจากตัวหาร
http://dpc2.ddc.moph.go.th/phpinfoboard3/data/2/pic/7.ppt
สัดส่ วน Proportion
• ผู้ป่วยโรคมะเร็งปอด 5 รายต่อประชากร 100 คน
• x/x+y+…..X 100
• เป็ นการเปรี ยบเทียบระหว่างตัวตังซง
้ ง่ เป็ นจานวนหนงง่
ของตัวหาร กับตัวหารซงง่ เป็ นจานวนรวมทังหมด
้
มัก
นิยมแปลงเป็ นรูปร้ อยละหรื อเปอร์ เซ็นต์
http://dpc2.ddc.moph.go.th/phpinfoboard3/data/2/pic/7.ppt
อัตรา Rate
• a/(a+b) X k
• การเปรี ยบเทียบจานวนความถี่ของโรคหรื อ
ลักษณะบางอย่างต่อหน่วยประชากรที่เฝ้ า
สังเกต
http://dpc2.ddc.moph.go.th/phpinfoboard3/data/2/pic/7.ppt
การวัดทางระบาดวิทยา
• ความชุก (Prevalence) : จานวนผู ้ป่ วย
ทัง้ หมดทีม
่ อ
ี ยู่ (เก่าและใหม่) ในระยะเวลาที่
กาหนด
• อุบัตก
ิ ารณ์ (Incidence) : จานวนผู ้ป่ วยใหม่
ทีเ่ กิดขึน
้ ในระยะเวลาทีก
่ าหนด
http://www.bmadcd.go.th/power%20point/BMA%20Principle%20of%20Epide
miology%20080624.ppt
ความชุก (Prevalence)
• จานวนผู ้ป่ วยทัง้ หมดทีม
่ อ
ี ยูใ่ นระยะเวลาทีก
่ าหนด
จานวนผู ้ป่ วยทัง้ หมด
จานวนประชากรทัง้ หมด
จานวนประชากร 1000 คน
2552
2553
8
ความชุก =
x 1000 = 8 ต่อประชากรพันคน
1000
http://www.bmadcd.go.th/power%20point/BMA%20Principle%20of%20Epide
miology%20080624.ppt
อุบต
ั ก
ิ ารณ์ (Incidence)
• จานวนผู ้ป่ วยใหม่ทเี่ กิดขึน
้ ในระยะเวลาทีก
่ าหนด
จานวนผู ้ป่ วยใหม่ทเี่ กิดขึน
้
ี่ งต่อการเกิดโรค
จานวนประชากรทีเ่ สย
จานวนประชากร 1000 คน
2552
5
อุบต
ั ก
ิ ารณ์ =
1000
2553
x 1000 = 5 ต่อประชากรพันคน
http://www.bmadcd.go.th/power%20point/BMA%20Principle%20of%20Epide
miology%20080624.ppt
สวัสดี