Transcript Click

ความรูเ้ กี่ยวกับโรคติดต่อ
อนุ พนั ธ์ สุวรรณพันธ์
อโรคยา ปรมา ลาภา
คาจากัดความ (Definition)
โรคติดต่อ (Communicable Disease) หมายถึง โรคที่
สามารถถ่ายทอด หรือติดต่อจากสิ่งมีชีวิตหนึ่งไปยังอีก
สิ่งมีชีวิตหนึ่งได้ โดยไม่จากัดว่าสิ่งมีชีวิตนั้นจะเป็ นมนุษย์
หรือไม่ก็ตาม โรคติดต่ออาจสามารถแพร่ไปสู่สิ่งมีชีวิตอื่น
ได้โดยการสัมผัสโดยตรง การสูดดมหายใจเอาเชื้อโรคที่
แพร่จากผูป้ ่ วย การรับประทานอาหารหรือน้ าดื่มที่มีเชื้อ
ปนอยู่ หรือแม้แต่ผ่านตัวกลางที่เรียกว่าพาหะ
คาจากัดความ (Definition)
โรคติดเชื้อ (Infectious Disease) หมายถึง โรคที่เกิดจาก
เชื้อจุลินทรียห์ รือพิษของเชื้อจุลินทรียช์ นิดใดชนิดหนึ่ง
ซึ่งอาจถ่ายทอดเชื้อมาจากมนุษย์ สัตว์ แมลง หรือ
สิ่งแวดล้อมสูค่ นปกติโดยทางตรงหรือทางอ้อมก็ได้ แล้ว
ก่อให้เกิดอันตรายต่อร่างกาย
คาจากัดความ (Definition)
การติดเชื้อ (Infection) หมายถึง การที่เชื้อจุลินทรียเ์ ข้า
ไปอยูใ่ นร่างกายหรือบนร่างกายของสิ่งมีชีวิต ทาให้
ร่างกายมีการตอบสนองทางภูมิคุม้ กันต่อจุลินทรียน์ ้นั
และอาจทาให้รา่ งกายได้รบั อันตรายหรือไม่ก็ได้
กรณีมีอนั ตราย จนป่ วย เรียก การติดเชื้อแบบมีอาการ
(Symptomatic or Clinical Infection)
ถ้าไม่ได้รบั อันตรายหรือได้รบั อันตรายเพียงเล็กน้อยโดยไม่มี
อาการ เรียก การติดเชื้อแบบไม่มีอาการ (Asymptomatic or
Subclinical or Inapparent Infection)
ปั จจัยสามทางระบาดวิทยา (Epidemiologic triad)
ภาวะสมดุ
ล
Agent
Host
Environment
ปั จจัยสามทางระบาดวิทยา (Epidemiologic triad)
ภาวะสมดุ
ล
Agent
Host
Environment
Environment
ปั จจัยสามทางระบาดวิทยา (Epidemiologic triad)
ปั จจัยสามทางระบาดวิทยา (Epidemiologic triad)
ภาวะสมดุ
ล
Agent
Host
Environment
Environment
Environment
ปั จจัยสามทางระบาดวิทยา (Epidemiologic triad)
ภาวะสมดุ
ล
Agent
Host
Environment
Environment
Environment
Environment
ปั จจัยที่ทาให้เกิดโรค
เชื้อที่เป็ นสาเหตุ
การติดเชื้อ
(Etiologic Agent)
(Infection)
• ไวรัส
• แบคทีเรีย
• รา-ยีสต์
• ปรสิต
• ติดเชื้อแบบไม่มีอาการ
• ติดเชื้อแบบมีอาการ
(เล็กน้อย-มาก)
ปั จจัยเสี่ยงหรือปั จจัยเสริม
(Risk /Contributing Factors)
• ปั จจัยของโฮสท์ (ชีวภาพ-พฤติกรรม)
• ปั จจัยด้านสิ่งแวดล้อม
• ปั จจัยอื่น ๆ
ปั จจัยที่ทาให้เกิดโรค
เชื้อที่เป็ นสาเหตุ
การติดเชื้อ
(Etiologic Agent)
(Infection)
• ไวรัส
• แบคทีเรีย
• รา-ยีสต์
• ปรสิต
• ติดเชื้อแบบไม่มีอาการ
• ติดเชื้อแบบมีอาการ
(เล็กน้อย-มาก)
ปั จจัยเสี่ยงหรือปั จจัยเสริม
(Risk /Contributing Factors)
• ปั จจัยของโฮสท์ (ชีวภาพ-พฤติกรรม)
• ปั จจัยด้านสิ่งแวดล้อม
• ปั จจัยอื่น ๆ
คุณสมบัตขิ องโรคติดเชื้อ
• ความสามารถในการติดเชื้อ (Infectivity)
• ความสามารถในการก่อพยาธิสภาพ
(Pathogenicity)
• ความรุนแรงของโรค (Virulence)
• ความสามารถในการทาให้เกิดภูมิตา้ นทานโรค
(Immunogenicity)
1. คุณสมบัตขิ องเชื้อจุลินทรีย ์
ไม่ผ่านภูมิคมุ ้ กันแบบไม่จาเพาะ และไม่ทาให้เกิดโรค
Non-Pathogenic Microorganism
ภูมิคมุ ้ กันแบบไม่จาเพาะ (Non-Specific Immunity)
ผ่านภูมิคมุ ้ กันแบบไม่จาเพาะ และอาจทาให้เกิดโรค
Pathogenic Microorganism
1. คุณสมบัตขิ องเชื้อจุลินทรีย ์
เชื้อที่ปกติไม่ก่อโรค แต่ถา้ ภูมิคมุ ้ กันต ่าหรือบกพร่องจะทา
ให้เกิดโรค Opportunistic Microorganism
ภูมิคมุ ้ กันแบบไม่จาเพาะ (Non-Specific Immunity)
ผ่านภูมิคมุ ้ กันแบบไม่จาเพาะ และมักทาให้เกิดโรค
เป็ น Pathogenic Microorganism ที่ทาให้เกิดโรคสูง
Virulent Microorganism
Virulent Microorganism
Virulent Microorganism
Capsule
Virulent Microorganism
แค็ปซูล (Capsule)
แบคทีเรียที่มีแค็ปซูลล้อมรอบผนังเซลล์
จะมีความสามารถในการก่อโรคสูง เนื่อง
จากแค็ปซูลจะป้องกันเม็ดเลือดขาวของ
ร่างกายกลืนกินได้ (Anti-Phagocytosis)
Virulent Microorganism
สเตร็พโตค็อคคัส นิวมอเนีย (Streptococcus Pneumoniae)
ทาให้เกิดโรคปอดอักเสบ
Virulent Microorganism
ฮิโมฟิ ลลัส อินฟูเอ็นซ่า ไทป์ บี (Hemophilus influenzae Type B)
ทาให้เกิดโรคทางเดินหายใจและปอดอักเสบในเด็กเล็ก
Virulent Microorganism
Virulent Microorganism
พิไล (Pili หรือ Fimbriae)
Virulent Microorganism
พิไล (Pili หรือ Fimbriae)
จะช่วยให้เชื้อแบคทีเรียมีความสามารถที่จะ
เกาะติดกับผนังเซลล์ของเซลล์เป้าหมายเพื่อ
ก่อโรค และป้องกันไม่ให้เม็ดเลือดขาวกลืน
กินได้ (Anti-Phagocytosis)
Virulent Microorganism
ไนเซียเรีย โกโนเรีย (Neisseria Gonorrhoeae)
ทาให้เกิดโรคหนองใน
Virulent Microorganism
Virulent Microorganism
เอ็กโซท็อกซิน (Exotoxin)
Virulent Microorganism
เอ็กโซท็อกซิน (Exotoxin)
ไม่มีแค็บซูล ไม่มีพิไล แต่สร้างสารพิษและ
หลั ่งออกมาได้ ส่วนใหญ่เป็ นสารโปรตีนที่ไม่
ทนความร้อน (Heat Labile Toxin)
Virulent Microorganism
คลอสทรีเดียม เตตานาย (Clostridium Tetani)
ทาให้เกิดโรคบาดทะยัก
Virulent Microorganism
โคลินแบคทีเรียม ดิพทีเรีย (Corynebacterium Diphtheriae)
ทาให้เกิดโรคคอตีบ
Virulent Microorganism
บอร์เดเทลลา เพอร์ทสั ซีพ (Bordetella Pertussis)
ทาให้เกิดโรคไอกรน
Virulent Microorganism
ไวบริโอ คลอเลอรา (Vibrio Cholerae)
ทาให้เกิดโรคอหิวาตกโรค
Virulent Microorganism
Virulent Microorganism
เอ็นโดท็อกซิน (Endotoxin)
Virulent Microorganism
เอ็นโดท็อกซิน (Endotoxin)
เป็ นสารพวก ไลโปโพลีแซ็คคาไรด์ (Lipopolysaccharide)
เป็ นองค์ประกอบของผนังเซลล์ของแบคทีเรียแกรมลบ
จะไม่หลั ่งออกมานอกเซลล์เหมือนเอ็กโซทอกซิน แต่จะ
ออกมาในระหว่างที่เซลล์แตกทาให้เกิดไข้ (Fever) และ
ช็อกได้
Virulent Microorganism
Virulent Microorganism
เอ็นซัยม์ (Enzyme)
Virulent Microorganism
เอ็นซัยม์ (Enzyme)
สร้างน้ าย่อยหรือเอ็นซัยม์ออกมาย่อยเนื้อเยือ่
บางชนิดได้ ทาให้สามารถผ่านเข้าสูเ่ ซลล์อื่น ๆ
ได้ง่ายและรวดเร็วขึ้น
Virulent Microorganism
สแตร็พไฟโลคอคคัส ออเรียส (Straphylococcus Aureus)
ทาให้เกิดโรคหนองฝี และอาหารเป็ นพิษ
2. ความสามารถในการติดเชื้อ (Infectivity)
ความสามารถในการผ่านภูมิคมุ ้ กันแบบไม่จาเพาะ
ภูมิคมุ ้ กันแบบไม่จาเพาะ (Non-Specific Immunity)
2. ความสามารถในการติดเชื้อ (Infectivity)
เชื้อก่อโรคเรื้อน ไมโครแบคทีเรียม เลพเร (Microbacterium Leprae) มี
ความสามารถในการติดเชื้อสูง มักทาให้เกิดโรค (Pathogenicity) ต ่า
2. ความสามารถในการติดเชื้อ (Infectivity)
เชื้อก่อโรคพิษสุนขั บ้า เรบี ไวรัส (Rabies Virus) มีความสามารถในการทา
ให้เกิดโรคสูงและรุนแรง มีความสามารถในการติดเชื้อต ่า
3. จานวนของเชื้อจุลินทรีย ์
3. จานวนของเชื้อจุลินทรีย ์
ร่างกายต้องได้รบั ปริมาณเชื้อในระดับที่ผ่าน
ภูมิคมุ ้ กันแบบไม่จาเพาะของร่างกายแล้ว
ก่อให้เกิดโรค แตกต่างกันตามชนิดของเชื้อโรค
เช่น เมื่อรับประทานเชื้ออหิวาตกโรค 1 แสน
-1 พันล้านเซลล์จะทาให้เกิดอุจจาระร่วงได้
4. ทางเข้าสู่ร่างกาย
4. ทางเข้าสู่ร่างกาย
ช่องทางที่เชื้อเข้าสูร่ า่ งกายแล้วทาให้เกิดโรค
โดยเชื้อจะมีช่องทางเข้าสูร่ า่ งกายแตกต่างกัน
หรือเหมือนกัน บางชนิดเข้าสูร่ า่ งกายได้ทาง
เดียว บางชนิดได้เพียงทางเดียว และ
ความสามารถในการติดเชื้อก็ตา่ งกัน
4. ทางเข้าสู่ร่างกาย
เชื้อไวรัสตับอักเสบ ซี เข้าทางของมีคมติดเชื้อร้อยละ 3-10
ถ้าเข้าทางแผลถลอกมีโอกาสติดเชื้อได้ต ่ากว่าร้อยละ 1
4. ทางเข้าสู่ร่างกาย
เชื้อเอชไอวี/เอดส์ ทางของมีคมผ่านผิวหนัง โอกาสติดเชื้อร้อยละ 0.2-0.5
ถ้าผ่านทางแผลถลอกโอกาสติดเชื้อต ่ากว่าร้อยละ 0.1
4. ทางเข้าสู่ร่างกาย
1. ทางจมูก โดยการหายใจ
เช่น เชื้อก่อโรคทางเดินหายใจ
4. ทางเข้าสู่ร่างกาย
2. ทางปาก โดยการรับประทานหรือดื่ม
เช่น เชื้อก่อโรคทางเดินอาหาร เชื้อไวรัสตับอักเสบ เอ
4. ทางเข้าสู่ร่างกาย
3. ทางผิวหนัง และผิวเยือ่ เมือก โดยเฉพาะที่มีรอยแตก
หรือทางแผล เช่น เชื้อบาดทะยัก เชื้อแอนแทรกซ์
4. ทางเข้าสู่ร่างกาย
3. ทางผิวหนังที่ถูกกัด
เช่น โรคพิษสุนขั บ้า
4. ทางเข้าสู่ร่างกาย
3. ไชเข้าบริเวณผิวอ่อน ๆ
เช่น เชื้อซิฟิลิส พยาธิปากขอ
4. ทางเข้าสู่ร่างกาย
4. ทางเลือด โดยการใช้เข็มฉีดยา
เช่น เชื้อไวรัสตับอักเสบ บี, ซี, ดี เชื้อเอชไอวี
4. ทางเข้าสู่ร่างกาย
4. ทางเลือด โดยแมลงกัด
เช่น เชื้อไวรัสไข้เลือดออก
4. ทางเข้าสู่ร่างกาย
5. ทางรกและขณะคลอด
เช่น เชื้อซิฟิลิส เชื้อหัดเยอรมัน เชื้อไวรัสเอชไอวี
ปั จจัยที่ทาให้เกิดโรค
เชื้อที่เป็ นสาเหตุ
การติดเชื้อ
(Etiologic Agent)
(Infection)
• ไวรัส
• แบคทีเรีย
• รา-ยีสต์
• ปรสิต
• ติดเชื้อแบบไม่มีอาการ
• ติดเชื้อแบบมีอาการ
(เล็กน้อย-มาก)
ปั จจัยเสี่ยงหรือปั จจัยเสริม
(Risk /Contributing Factors)
• ปั จจัยของโฮสท์ (ชีวภาพ-พฤติกรรม)
• ปั จจัยด้านสิ่งแวดล้อม
• ปั จจัยอื่น ๆ
1. องค์ประกอบที่เกี่ยวกับโฮสต์
อายุ
ในทารกแรกเกิดระบบภูมิคุม้ กันโดยเฉพาะ
ด้านเซลล์ยงั ไม่สมบูรณ์ แต่จะได้รบั ภูมิคมุ ้ กัน
จากมารดา (Natural Passive Immunity)
1. องค์ประกอบที่เกี่ยวกับโฮสต์
อายุ
ในผูส้ ูงอายุระบบภูมิคมุ ้ กันจะลดลง
1. องค์ประกอบที่เกี่ยวกับโฮสต์
อายุ
โรคบางโรคมักเกิดมากในช่วงอายุตา่ งกัน
เช่น ไข้เลือดออก มักเกิดในวัยเรียน
1. องค์ประกอบที่เกี่ยวกับโฮสต์
เพศ
โรคบางโรคเกิดกับผูช้ ายมากกว่าผูห้ ญิง เช่น
การติดเชื้อไวรัสตับอักเสบ บี เรื้อรัง HIV
1. องค์ประกอบที่เกี่ยวกับโฮสต์
กรรมพันธุแ์ ละเชื้อชาติ
ความไวต่อการติดเชื้อต่างกัน เช่น พวกผิวขาว
กับผิวเหลืองมีความไวต่อการติดเชื้อมาลาเรีย
มากกว่าคนผิวดา
1. องค์ประกอบที่เกี่ยวกับโฮสต์
กรรมพันธุแ์ ละเชื้อชาติ
บางโรคพบมากในบางเชื้อชาติ เช่น โรคมะเร็งตับ
โรคไวรัสตับอักเสบ บี และซี พบในชาวเอเชีย
มากกว่าในยุโรปและอเมริกนั
1. องค์ประกอบที่เกี่ยวกับโฮสต์
องค์ประกอบด้านพฤติกรรม
พฤติกรรมไม่ถูกต้อง เช่น รับประทานอาหารสุก ๆ
ดิบ ๆ มีโอกาสเป็ นโรคพยาธิใบไม้
1. องค์ประกอบที่เกี่ยวกับโฮสต์
องค์ประกอบด้านพฤติกรรม
การมีเพศสัมพันธ์โดยไม่ใช้ถุงยางอนามัยเพิม่ โอกาส
ในการติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์และเอดส์
1. องค์ประกอบที่เกี่ยวกับโฮสต์
องค์ประกอบด้านสรีระ
โภชนาการ และจิตใจของโฮสท์
หญิงตัง้ ครรภ์มีสิทธิ์ตดิ เชื้อได้ง่าย
1. องค์ประกอบที่เกี่ยวกับโฮสต์
องค์ประกอบด้านสรีระ
โภชนาการ และจิตใจของโฮสท์
ผูท้ ี่ตดิ เชื้อ หากเครียดมีโอกาส
แสดงอาการโรคได้เร็ว
1. องค์ประกอบที่เกี่ยวกับโฮสต์
องค์ประกอบด้านสรีระ
โภชนาการ และจิตใจของโฮสท์
เด็กที่ขาดสารอาหารเมื่อป่ วยเป็ นโรคหัดจะมี
อาการรุนแรงและเกิดภาวะแทรกซ้อนได้ง่าย
1. องค์ประกอบที่เกี่ยวกับโฮสต์
ประสบการณ์ของร่างกายที่มีผล
ต่อเชื้อจุลินทรีย ์
ผูท้ ี่ตดิ เชื้อมาก่อนจะมีภมู ิคมุ ้ กันโรค เช่น หัด
ไข้สุกใส
1. องค์ประกอบที่เกี่ยวกับโฮสต์
ประสบการณ์ของร่างกายที่มีผล
ต่อเชื้อจุลินทรีย ์
บางโรคมีภมู ิคมุ ้ กันระยะสั้น เมื่อได้รบั เชื้อ
ใหม่ก็จะติดเชื้ออีก เช่น ไข้หวัดใหญ่ ไอกรน
1. องค์ประกอบที่เกี่ยวกับโฮสต์
ประสบการณ์ของร่างกายที่มีผล
ต่อเชื้อจุลินทรีย ์
บางโรคมีการติดเชื้อซ้ าจะทาให้โรคมีอาการ
รุนแรงขึ้น เช่น โรคไข้เลือดออก
1. องค์ประกอบที่เกี่ยวกับโฮสต์
ประสบการณ์ของร่างกายที่มีผล
ต่อเชื้อจุลินทรีย ์
การได้รบั วัคซีนจะทาให้เกิดภูมิคุม้ กัน
ภูมิคมุ ้ กันของร่างกาย
ภูมิคมุ ้ กันของร่างกาย
1. ภูมิคมุ ้ กันแบบไม่จาเพาะ (Non-Specific
หรือ Innate Immunity)
2. ภูมิคมุ ้ กันแบบจาเพาะ (Specific หรือ
Acquired Immunity)
ภูมิคมุ ้ กันของร่างกาย
1. ภูมิคมุ ้ กันแบบไม่จาเพาะ (Non-Specific
หรือ Innate Immunity)
2. ภูมิคมุ ้ กันแบบจาเพาะ (Specific หรือ
Acquired Immunity)
ภูมิคมุ ้ กันของร่างกาย
เป็ นภูมิคมุ ้ กันที่มีอยูพ
่ ร้อมแล้วในร่างกาย ได้แก่ สิ่งกีด
ขวางบนพื้นผิวและสิ่งกีดขวางในเนื้อเยือ่ และเลือด
ภูมิคมุ ้ กันของร่างกาย
• ผิวหนัง
• เหงื่อ มีกรดแลคติก
• เยื่อเมือก และสารเมือกตามระบบทางเดินหายใจ ทางเดิน
ปั สสาวะ สืบพันธุ ์
ภูมิคมุ ้ กันของร่างกาย
• ระบบทางเดินอาหาร ปากมีน้ าลาย มี ไลโซซัยม์ (Lysozyme)
กรดในกระเพาะ
• แบคทีเรียในลาไส้ หรือที่อวัยวะเพศ
ภูมิคมุ ้ กันของร่างกาย
• หากผ่านชั้นผิวได้ จะพบกับเซลล์และสารน้ าในเนื้อเยือ่ และ
เลือด ได้แก่ เม็ดเลือดขาว คอมพลีเมนต์ แอนตี้บอดีบางชนิด
และอินเตอร์เฟอรอน
ภูมิคมุ ้ กันของร่างกาย
1. ภูมิคมุ ้ กันแบบไม่จาเพาะ (Non-Specific
หรือ Innate Immunity)
2. ภูมิคมุ ้ กันแบบจาเพาะ (Specific หรือ
Acquired Immunity)
ภูมิคมุ ้ กันของร่างกาย
เป็ นภูมิคมุ ้ กันที่รา่ งกายสร้างขึ้น หลังจากระบบ
ภูมิคมุ ้ กันได้รบั การกระตุน้ เมื่อเชื้อโรคสามารถ
ผ่านภูมิคมุ ้ กันแบบไม่จาเพาะได้
ภูมิคมุ ้ กันของร่างกาย
มี 2 ประเภท
1. ภูมิคมุ ้ กันแบบอาศัยแอนติบอดี (HumoralMedicated Immunity)
2. ภูมิคมุ ้ กันแบบอาศัยเซลล์ (CellMedicated Immunity)
ภูมิคมุ ้ กันของร่างกาย
1. ภูมิคมุ ้ กันแบบอาศัยแอนติบอดี (HumoralMedicated Immunity)
มีบทบาทในการป้องกันและกาจัดเชื้อโรคที่
เป็ น Extracellular Bacteria โดยอาศัยเซลล์
เม็ดเลือดขาว B-Lymphocyte เป็ นหลัก
ภูมิคมุ ้ กันของร่างกาย
2. ภูมิคมุ ้ กันแบบอาศัยเซลล์ (CellMedicated Immunity)
มีบทบาทในการป้องกันและกาจัดเชื้อโรคที่
เป็ น Intracellular Bacteria โดยอาศัยเซลล์เม็ด
เลือดขาว T-Lymphocyte เป็ นหลัก
2. องค์ประกอบที่เกี่ยวข้องกับสิ่งแวดล้อม
1. สิ่งแวดล้อมทางกายภาพ เช่น อุณหภูมิ
ลักษณะภูมิอากาศ ลักษณะภูมิประเทศ
2. องค์ประกอบที่เกี่ยวข้องกับสิ่งแวดล้อม
2. สิ่งแวดล้อมทางชีวภาพ เช่น มนุษย์ สัตว์ พืช
แมลง ซึ่งเป็ นแหล่งแพร่เชื้อและบ่อเกิดโรค
2. องค์ประกอบที่เกี่ยวข้องกับสิ่งแวดล้อม
3. สิ่งแวดล้อมทางเคมี เช่น สารเคมี ฝุ่ น สารพิษ
2. องค์ประกอบที่เกี่ยวข้องกับสิ่งแวดล้อม
4. สิ่งแวดล้อมทางสังคม เศรษฐกิจ และจิตวิทยา
เช่น ลักษณะทางสังคม เศรษฐกิจ ขนบธรรมเนียม
จารีต ความเชื่อ อาชีพ การศึกษา
2. องค์ประกอบที่เกี่ยวข้องกับสิ่งแวดล้อม
ภาวะโลกร้อนทาให้การแพร่ระบาดของยุงและเพิ่ม
จานวนเชื้อบางชนิด เพราะฉะนั้นโรคที่มียุงเป็ นพาหะ
เช่น ไข้มาลาเรีย ไข้เลือดออกจะสูงขึ้น
2. องค์ประกอบที่เกี่ยวข้องกับสิ่งแวดล้อม
สุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมไม่ดี โดยเฉพาะน้ าและอาหาร
จะทาให้โรคที่มีน้ าและอาหารเป็ นสื่อเพิ่มขึ้น
2. องค์ประกอบที่เกี่ยวข้องกับสิ่งแวดล้อม
มลพิษทางอากาศเพิ่มขึ้น ทาให้มีฝุ่นเกิดโรคระบบ
ทางเดินหายใจ
2. องค์ประกอบที่เกี่ยวข้องกับสิ่งแวดล้อม
ภูมิคมุ ้ กันชุมชน เฮิด อิมมูนิต้ ี (Herd Immunity) หากคนใน
ชุมชนมีภูมิคมุ ้ กันจากโรคร้อยละ 60 จะลดการแพร่ระบาด
ได้ หากมีรอ้ ยละ 90-95 โรคนั้นจะไม่ระบาดในชุมชน
ปรากฎการณ์ไอซ์เบอร์ก (Iceberg Phenomena)
ปรากฎการณ์ไอซ์เบอร์ก (Iceberg Phenomena)
ผูต้ ดิ เชื้ออาจมีอาการหรือไม่มีอาการ บางรายอาจมีอาการ
เล็กน้อย ไม่ชดั เจน ไม่มาพบแพทย์ ดังนั้น ผูป้ ่ วยที่มาพบ
แพทย์จงึ เป็ นเพียงส่วนน้อย เปรียบกับภูเขาน้ าแข็ง
ปรากฎการณ์ไอซ์เบอร์ก (Iceberg Phenomena)
ส่วนที่อยูเ่ หนือน้ าเป็ นเพียงส่วนน้อย แต่อยูใ่ ต้น้ ามีจานวน
มากไม่สามารถตรวจพบโดยวิธีปกติทั ่วไป ส่วนใหญ่เป็ นผูไ้ ม่
มีอาการและอาการไม่ชดั เจน ซึ่งทาให้มีโอกาสแพร่โรคได้สูง
ปรากฎการณ์ไอซ์เบอร์ก (Iceberg Phenomena)
• ผูป้ ่ วยโรคติดเชื้อ
1. ผูป้ ่ วยมีอาการชัดเจน (Clinical Case หรือ Frank
Case) เป็ นผูท้ ี่มีอาการของโรคชัดเจน อาจมีอาการเล็กน้อย
ปานกลาง หรือรุนแรงได้
2. ผูป้ ่ วยมีอาการไม่ชดั เจน (Missed Case หรือ
Modified Case) เป็ นผูท้ ี่อาการไม่ชดั เจน สามารถแพร่เชื้อให้
ผูอ้ ื่นได้
ปรากฎการณ์ไอซ์เบอร์ก (Iceberg Phenomena)
• ผูต้ ดิ เชื้อแบบไม่ปรากฏอาการ มีการติดเชื้อแล้วร่างกาย
มีการตอบสนองทางภูมิคมุ ้ กัน อาจเกิดพยาธิสภาพเพียง
เล็กน้อย แพร่เชื้อได้
ปรากฎการณ์ไอซ์เบอร์ก (Iceberg Phenomena)
• ผูเ้ ป็ นพาหะ เป็ นบุคคลที่ตดิ เชื้อแบบไม่ปรากฏอาการ มีเชื้อโรคก่อ
โรคในร่างกาย แพร่เชื้อได้ ส่วนใหญ่มกั ไม่รูต้ วั อาจมีสุขภาพดี
(Healthy Carrier) หรืออยูใ่ นระยะฟั กตัวของโรค (Incubatory Carrier)
หรืออยูใ่ นระยะพักฟื้ นแต่แพร่เชื้อได้ (Convalescent Carrier) หรือ
เป็ นผูส้ มั ผัสโรคและแพร่เชื้อได้ (Contact Carrier)
ปรากฎการณ์ไอซ์เบอร์ก (Iceberg Phenomena)
อาการชัดเจน
ผูป้ ่ วยเอดส์
ปรากฎการณ์ไอซ์เบอร์ก (Iceberg Phenomena)
อาการชัดเจน
อาการไม่ชดั เจน
(ไม่ได้มีการวินิจฉัย)
ผูป้ ่ วยเอดส์
ผูต้ ดิ เชื้อเอชไอวี
ปรากฎการณ์ไอซ์เบอร์ก (Iceberg Phenomena)
อาการชัดเจน
อาการไม่ชดั เจน
(ไม่ได้มีการวินิจฉัย)
ติดเชื้อไม่มีอาการ
(รวมกลุม่ มีความเสี่ยงสูง)
ผูป้ ่ วยเอดส์
ผูต้ ดิ เชื้อเอชไอวี
กลุม่ เสี่ยงสูง
ทางออกจากร่างกายของเชื้อจุลินทรีย ์
ทางระบบหายใจ พบบ่อย เช่น โรค
ไข้หวัดใหญ่ วัณโรคปอด โรคหัด
ทางออกจากร่างกายของเชื้อจุลินทรีย ์
ทางระบบทางเดินอาหาร เช่น
ทัยฟอยด์ โรคอหิวาตกโรค โรค
อุจจาระร่วง โรคไวรัสตับอักเสบ เอ
ทางออกจากร่างกายของเชื้อจุลินทรีย ์
ทางแผลเปิ ด แผลถลอก ออกมากับ
น้ าเหลืองและเลือด เช่น โรคซิฟิลิส
เอดส์ โรคไวรัสตับอักเสบ บี และซี
ทางออกจากร่างกายของเชื้อจุลินทรีย ์
ทางหูและตา เช่น โรคตาแดงจาก
เชื้อ Enterovirus 70 หูอกั เสบ
ทางออกจากร่างกายของเชื้อจุลินทรีย ์
ทางกลไก ได้แก่ ออกจากโฮสท์จาก
แมลงกัด/ดูด มีด เข็มฉีดยา เช่น
โรคไข้เลือดออก โรคมาลาเรีย โรค
เอดส์ โรคไวรัสตับอักเสบ บีและซี
กลไกการแพร่เชื้อและถ่ายทอดเชื้อ
กลไกการแพร่เชื้อและถ่ายทอดเชื้อ
1. การแพร่เชื้อโดยตรง (Direct Transmission) ได้แก่
การสัมผัสใกล้ชิด หรือการสัมผัส
การร่วมประเวณี
ไอ จาม
ทางบาดแผล
สัมผัสใกล้ชิด
จากแม่สูล่ กู ทางเลือด
ผ่านเยือ่ เมือก
กลไกการแพร่เชื้อและถ่ายทอดเชื้อ
2. การแพร่เชื้อโดยอ้อม (Indirect Transmission)
ได้แก่ การสัมผัสใกล้ชิด หรือการสัมผัส
โดยสัตว์ (Vector) โดยสื่อ (Vehicle) อากาศ (Air-borne)
อาหาร (Food-borne)
กลไกการแพร่เชื้อและถ่ายทอดเชื้อ
1. การแพร่เชื้อโดยตรง (Direct Transmission) ได้แก่
การสัมผัสใกล้ชิด หรือการสัมผัส
การร่วมประเวณี
โรคติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์ โรคเอดส์
กลไกการแพร่เชื้อและถ่ายทอดเชื้อ
1. การแพร่เชื้อโดยตรง (Direct Transmission) ได้แก่
การสัมผัสใกล้ชิด หรือการสัมผัส
ไอ จาม
โรคไข้หวัดใหญ่ โรควัณโรค
กลไกการแพร่เชื้อและถ่ายทอดเชื้อ
1. การแพร่เชื้อโดยตรง (Direct Transmission) ได้แก่
การสัมผัสใกล้ชิด หรือการสัมผัส
จากแม่สูล่ กู ทางเลือด
โรคหัดเยอรมัน โรคซิฟิลิส
กลไกการแพร่เชื้อและถ่ายทอดเชื้อ
1. การแพร่เชื้อโดยตรง (Direct Transmission) ได้แก่
การสัมผัสใกล้ชิด หรือการสัมผัส
โรคตับอักเสบบี และซี
ทางบาดแผล
กลไกการแพร่เชื้อและถ่ายทอดเชื้อ
1. การแพร่เชื้อโดยตรง (Direct Transmission) ได้แก่
การสัมผัสใกล้ชิด หรือการสัมผัส
โรคเริม
สัมผัสใกล้ชิด
กลไกการแพร่เชื้อและถ่ายทอดเชื้อ
1. การแพร่เชื้อโดยตรง (Direct Transmission) ได้แก่
การสัมผัสใกล้ชิด หรือการสัมผัส
โรคติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์
ผ่านเยือ่ เมือก
กลไกการแพร่เชื้อและถ่ายทอดเชื้อ
2. การแพร่เชื้อโดยอ้อม (Indirect Transmission)
ได้แก่ การสัมผัสใกล้ชิด หรือการสัมผัส
มีสตั ว์ (Vector)
มีสื่อ (Vehicle) อากาศ (Air-borne)
อาหาร (Food-borne)
กลไกการแพร่เชื้อและถ่ายทอดเชื้อ
2. การแพร่เชื้อโดยอ้อม (Indirect Transmission)
ได้แก่ การสัมผัสใกล้ชิด หรือการสัมผัส
โดยสัตว์ (Vector)
โรคไข้เลือดออก โรคมาลาเรีย
กลไกการแพร่เชื้อและถ่ายทอดเชื้อ
2. การแพร่เชื้อโดยอ้อม (Indirect Transmission)
ได้แก่ การสัมผัสใกล้ชิด หรือการสัมผัส
มีสื่อ (Vehicle)
โรคอุจจาระร่วง โรคอหิวาตกโรค
กลไกการแพร่เชื้อและถ่ายทอดเชื้อ
2. การแพร่เชื้อโดยอ้อม (Indirect Transmission)
ได้แก่ การสัมผัสใกล้ชิด หรือการสัมผัส
อากาศ (Air-borne)
โรคลีจโิ อแนร์
กลไกการแพร่เชื้อและถ่ายทอดเชื้อ
2. การแพร่เชื้อโดยอ้อม (Indirect Transmission)
ได้แก่ การสัมผัสใกล้ชิด หรือการสัมผัส
โรคอุจจาระร่วง โรคไวรัสตับอักเสบ เอ
อาหาร (Food-borne)
หลักการป้ องกันและควบคุมโรค
• Host
– ส่งเสริมสุขภาพ (Health promotion)
– การป้องกันเฉพาะ (Specific protection) เช่น การฉีดวัคซีน การให้ยา
ป้องกัน
• Agent
– การวินิจฉัยตั้งแต่แรกเริ่มและรักษาทันที (Early diagnosis and prompt
treatment)
– การค้นหาและรักษาพาหะนาโรค (Detection and treatment of carriers)
– การควบคุมแหล่งแพร่เชื้อ (Control potential sources of pathogen)
• Environment
– การควบคุมสิ่งแวดล้อม (Environment control) เช่น ขยะ น้ าเสีย สัตว์
และแมลงนาโรค
ธรรมชาติของการเกิดโรค
(Natural history and spectrum of disease)
วงจรการเกิดโรคตามธรรมชาติ กรณีทไี่ ม่ได ้รับการ
ป้ องกันหรือรักษาโรค
เกิดการเปลี่ยนแปลงในร่างกาย
(PATHOLOGIC
CHANGES)
สัมผัสสาเหตุ
(EXPOSURE)
ระยะมีภูมิไวรับ
(STAGE OF
SUSCEPTIBILITY)
วินิจัยโรคได้โดยการตรวจปกติ
(USUAL TIME
OF DIAGNOSIS)
เริ่มมีอาการ
(ONSET OF
SYMPTOMS)
ระยะเกิดโรคแต่ไม่มีอาการ
ระยะป่วยมีอาการ
ระยะหายจากโรค พิการ หรือตาย
(STAGE OF
(STAGE OF
(STAGE OF RECOVERY,
SUBCLINICAL DISEASE) CLINICAL DISEASE)
DISABILITY AND DEATH)
ธรรมชาติของการเกิดโรค
สุขภาพดี
(Healthy)
ระยะมีความไวต่อการเกิดโรค
(Stage of susceptibility)
ระยะก่อนมีอาการของโรค
(Stage of preclinical disease)
การสง่ เสริมสุขภาพ
(Health promotion)
การป้ องกันเฉพาะโรค
(Specific protection)
วินจ
ิ ฉั ยแต่แรกและรักษาทันที
(Early diagnosis/prompt treatment)
ระยะมีอาการของโรค
(Stage of clinical disease)
ระยะมีความพิการ
(Stage of disability)
หายหรือตาย
(Recovery or death)
การจากัดความพิการ
(Disability limitation)
การฟื้ นฟูสภาพ
(Rehabilitation)
การป้ องกันขัน
้ 1
(1o prevention)
การป้ องกันขัน
้ 2
(2o prevention)
การป้ องกันขัน
้ 3
(3o prevention)
ื้
ระยะทีส
่ าคัญเกีย
่ วกับการติดเชอ
Incubation period
ระยะฟั กตัวของโรค
Period of communicability
ระยะติดต่อของโรค
Latent
period
Patent period
ื้
ระยะเชอ
ไม่ปรากฏ
ื้ ปรากฏ
ระยะเชอ
ื้
ได ้รับเชอ
โรคปรากฏ
ื้ ปรากฏ
การติดเชอ
ื้ ยุต ิ
การติดเชอ
ื้ โรคหยุดออกจากร่างกาย
เชอ
ระยะฟั กตัว (Incubation period)
เกิดการเปลี่ยนแปลงในร่างกาย
(PATHOLOGIC
CHANGES)
สัมผัสสาเหตุ
(EXPOSURE)
ระยะมีภูมิไวรับ
(STAGE OF
SUSCEPTIBILITY)
วินิจัยโรคได้โดยการตรวจปกติ
(USUAL TIME
OF DIAGNOSIS)
เริ่มมีอาการ
(ONSET OF
SYMPTOMS)
ระยะเกิดโรคแต่ไม่มีอาการ
ระยะป่วยมีอาการ
ระยะหายจากโรค พิการ หรือตาย
(STAGE OF
(STAGE OF
(STAGE OF RECOVERY,
SUBCLINICAL DISEASE) CLINICAL DISEASE)
DISABILITY AND DEATH)
ื้ เข ้าสูร่ า่ งกายจนกระทัง่ ถึงวันเริม
ระยะเวลานับจากเชอ
่ ป่ วย
ระยะฟั กตัว (Incubation period)
ไข ้หวัดใหญ่มรี ะยะฟั กตัว 1-3 วัน หมายความว่า ถ ้า
ื้ ไข ้หวัดใหญ่ (ในปริมาณทีเ่ พียงพอ) จะเริม
ได ้รับเชอ
่ มี
อาการป่ วยภายในอีก 1-3 วันหลังจากนัน
้
ื้ ไข ้หวัดใหญ่
รับเชอ
1-3 วัน
เริม
่ มีอาการป่ วย
ระยะติดต่อของโรค (Period of communicability)
สรุป
ปั จจัยที่ทาให้เกิดโรค
เชื้อที่เป็ นสาเหตุ
การติดเชื้อ
(Etiologic Agent)
(Infection)
• ไวรัส
• แบคทีเรีย
• รา-ยีสต์
• ปรสิต
• ติดเชื้อแบบไม่มีอาการ
• ติดเชื้อแบบมีอาการ
(เล็กน้อย-มาก)
ปั จจัยเสี่ยงหรือปั จจัยเสริม
(Risk /Contributing Factors)
• ปั จจัยของโฮสท์ (ชีวภาพ-พฤติกรรม)
• ปั จจัยด้านสิ่งแวดล้อม
• ปั จจัยอื่น ๆ
คุณสมบัตขิ องโรคติดเชื้อ
• ความสามารถในการติดเชื้อ (Infectivity)
• ความสามารถในการก่อพยาธิสภาพ
(Pathogenicity)
• ความรุนแรงของโรค (Virulence)
• ความสามารถในการทาให้เกิดภูมิตา้ นทานโรค
(Immunogenicity)
ปั จจัยสามทางระบาดวิทยา (Epidemiologic triad)
ภาวะสมดุ
ล
Agent
Host
Environment
Environment
Environment
Environment
ื้
วงจรการติดเชอ
วิธก
ี ารถ่ายทอดโรค
• Direct
– Direct contact
– Droplet spread
• Indirect
– Airborne
– Vehicle borne
– Vector borne
• Mechanical
• Biologic