GMo - WordPress.com

Download Report

Transcript GMo - WordPress.com

่ ชวี ต
สิงมี
ิ ดัดแปลง
พันธุกรรม
่
หลักการทัวไปของการผลิ
ต GMO คือการเติมองค ์ประกอบทาง
่ ชวี ต
่
พันธุกรรมเข้าไปในจีนของสิงมี
ิ เพือสร
้างลักษณะใหม่ขนมา
ึ้
การศึกษาทางด้านพันธุวศ
ิ วกรรมทาให้เกิดความก้าวหน้าทาง
วิทยาศาสตร ์หลายประการด้วยกันรวมไปถึงการค้นพบดีเอ็นเอและ
่ กรีคอมบิแนนท ์ใน พ.ศ.2516 เป็ น
การสร ้างแบคทีเรียตวั แรกทีถู
่
่ าให้เกิดการ
แบคทีเรียอีโคไลทีแสดงยี
นแซลมอนเนลลาออกมา ซึงท
่
่
่
ถกเถียงกันในแวดวงนักวิทยาศาสตร ์เกียวกั
บความเสียงที
อาจ
้
่ าไปสู ่การถกประเด็นอย่างละเอียด
เกิดขึนได้
จากพันธุวศ
ิ วกรรม ซึงน
่ องแปซิฟิกโกรฟมล ร ัฐแคริฟอล ์เนี ย
ในการประชุมอสิโลมาร ์ทีเมื
่ ปได้จากการประชุมเสนอว่าให้ร ัฐบาล
สหร ัฐอเมริกา คาแนะนาทีสรุ
ทาการเฝ้าสังเกตการวิจยั รีคอมบิแนนท ์ดีเอ็นเอจนกว่าเทคโนโลยี
้
ดงั กล่าวจะได้ถูกร ับรองว่าปลอดภัย จากนันเฮอร
์เบิร ์ต บอยเออร ์ ทา
้ั ษท
่ เทคโนโลยีการรีคอมบิแนนท ์ดีเอ็นเอ
การก่อตงบริ
ั แห่งแรกทีใช้
คือบริษท
ั จีเน็ นเทค และใน พ.ศ.2521 ทางบริษท
ั จึงประกาศถึงการ
่
่ ดจาก
สร ้างแบคทีเรียสายพันธุ ์อีโคไลทีสามารถผลิ
ตอินซูลน
ิ ทีเกิ
โปรตีนในร่างกายมนุ ษย ์ได้
่ า
ในปี พ.ศ.2529 บริษท
ั เทคโนโลยีชวี ภาพขนาดเล็กชือว่
Advanced Genetic Sciences แห่งเมืองโอ๊คแลนด ์ มลร ัฐแคลิฟอร ์เนี ย
ได้มก
ี ารนาเทคโนโลยีทางด้านพันธุวศ
ิ วกรรมมา
่
ประยุกต ์ใช้ในการปร ับปรุงพันธุ ์พืชเพือให้
ได้พน
ั ธุ ์พืชที่
่ องการ โดยนาหน่ วยพันธุกรรมจาก
มีคณ
ุ สมบัตต
ิ ามทีต้
่ ชวี ต
สิงมี
ิ หนึ่ งถ่ายเข้าไปรวมหรือร่วมอย่างถาวรกับ
หน่ วยพันธุกรรมกับหน่ วยพันธุกรรม ของพืชอีกชนิ ด
่ เคยมีอยู ่ใน
หนึ่ ง ทาให้สามารถแสดงลักษณะทีไม่
้ พืชชนิ ดนันจึ
้ งเรียกว่า
ธรรมชาติสาหร ับพืชชนิ ดนัน
่ ร ับตัดต่อสารพันธุกรรม ( Genetically
เป็ น พืชทีได้
่ ร ับการตัดต่อสาร
Modified Plants ) ปั จจุบน
ั มีพช
ื ทีได้
่ นทียอมร
่
พันธุกรรมหลายชนิ ดทีเป็
ับและได้มก
ี ารปลู ก
เป็ นการค้าในต่างประเทศหลายชนิ ด เช่น มะละกอ,
่
ข้าวโพด, ฝ้าย และถัวเหลื
อง เป็ นต้น อย่างไรก็ตาม
ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีพน
ั ธุวศ
ิ วกรรมดังกล่าว
แล้ว ก่อให้เกิดความกังวลในหมู ่สาธารณชนและ
่
้
นักวิชาการ ในการควบคุมภยันตรายซึงอาจจะเกิ
ดขึน
้ เพือป้
่ องกันอ ันตรายดังกล่าวทีอาจเกิ
่
้ กรม
ดังนัน
ดขึน
หมายถึง การถอดรหัสพันธุกรรมของยีนจากดีเอ็น
เอเป็ น mRNA แล้วเกิดการแปลรหัสเป็ นโปรตีน รหัส
พันธุกรรมของยีนในดีเอ็นเอ เป็ นตวั กาหนดชนิ ดของ
่
่
โปรตีนทีเซลล
์สร ้าง โดยเริมจากการถอดรหั
ส
่ ่ในดีเอ็นเอเป็ น mRNAในนิ วเคลียส และ
พันธุกรรมทีอยู
่
้
แปลรหัสเป็ นโปรตีนในไซโตพลาสซึมซึงโปรตี
นนี มี
่
่ ชวี ต
ความเกียวข้
องในทุกกระบวนการของสิงมี
ิ เช่น
่ ในการย่อยอาหาร เป็ นส่วนประกอบ
เป็ นเอ็นไซม ์ทีใช้
ของตัวร ับสัญญาณ (receptor) และ แอนติบอดี ้
่
่
(antibody) ทีปกป้
องร่างกายจากสิงแปลกปลอมต่
างๆ
จีโนมของคนประกอบด้วยยีนประมาณ 30,000 ชนิ ดแต่
้ สามารถใช้
่
จะมีเพียงบางยีนเท่านันที
งานได้ในแต่ละ
เซลล ์ เพราะมีการควบคุมการแสดงออกของยีนให้
้
่ องการเท่านัน
้
เกิดขึนเฉพาะส่
วนทีต้
เรียกกระบวนการในการควบคุมให้มก
ี ารแสดงออก
่
้
มี 2 ขันตอนด
ังนี ้
่ น TRAITS
1. เจาะจงโดยการค้นหายีนต ัวใหม่หรือจะใช้ยน
ี ทีเป็
่
้
(มีคณ
ุ ลักษณะแฝง) ก็ได้ ตามทีเราต้
องการ ยีนต ัวนี อาจจะ
มาจากพืช สัตว ์ หรือจุลน
ิ ทรีย ์ก็ได้
2. นาเอายีนจากข้อที่ 1. ถ่ายทอดเข้าไปอยู ่ในโครโมโซม
่ าได้หลายวิธ ี
ของเซลล ์ใหม่ ซึงท
่ ก ันในปั จจุบน
พืช GMO วิธห
ี ลักทีใช้
ั มี 2 วิธค
ี อ
ื
2.1 ใช้จุลน
ิ ทรีย ์ เรียกว่า Agro-Bacterium เป็ นพาหะช่วย
่
พายีนเข้าไป ซึงคล้
ายก ับการใช้รถลาเลียงสัมภาระเข้าไปไว้
่ ต้
่ องการ
ในทีที
่
2.2 ใช้ปืนยีน (GENE GUN) ยิงยีนทีเกาะอยู
่บนผิวอนุ ภาค
่ งเข้าไป
ของทอง ให้เข้าไปในโครโมโซมเซลล ์พืช กระสุนทียิ
่ นอนุ ภาคของ
เป็ นทองและนา DNA ติดก ับผิวของกระสุนทีเป็
ทอง และยิงเข้าไปในโครโมโซมด้วยแรงเฉื่อย จะทาให้ DNA
่
่
เมือเข้
าไปทีใหม่
จะโดยวิธ ี 2.1 หรือ 2.2 ก็ตาม ยีนจะ
แทรกตัวรวมอยู ่ก ับโครโมโซมของพืช จนกลายเป็ นส่วนหนึ่ง
้ ได้เป็ นการ
ของโครโมโซมพืช การถ่ายทอดยีนเข้าสู พ
่ ช
ื นันมิ
่ องการเท่านัน
้ แต่เป็ นการถ่ายทอดชุด
ถ่ายทอดเฉพาะยีนทีต้
ของยีนเรียกว่า GENE CASSETTE โดยนักวิทยาศาสตร ์ที่
่ องการนัน
้ ไปผ่านขบวนการเสริมแต่ง เพือเพิ
่
่
นาเอายีนทีต้
ม
่ นและยุต ิ
ต ัวช่วย ได้แก่ ต ัวควบคุมการทางานของยีนให้เริมต้
้
่ ัวช่วยทังสองเป็
้
และต ัวบ่งชีปรากฏการณ์
ของยีน ซึงต
นสาร
้
่
พันธุกรรมหรือยีนเช่นก ัน ทังหมดจะถู
กนามาเชือมต่
อเข้า
้ ไปฝากไว้ก ับ
ด้วยก ันเป็ นชุดของยีนก่อนจะนาชุดของยีนนัน
้
เชืออะโกรแบคที
เรียมหรือนาไปเคลือบลงบนผิวอนุ ภาคของ
ทองอีกทีหนึ่งนักวิทยาศาสตร ์จาเป็ นต้องพ่วงต ัวช่วย
้ ับยีนทีต้
่ องการเพือใส่
่ ยน
เหล่านันก
ี เข้าไปในเซลล ์พืช ให้
สามารถทางานได้ หรือสามารถควบคุมให้มก
ี ารสร ้างโปรตีน
่ ต ัวควบคุมการทางานของยีนให้เริมต้
่ นหรือให้ยุต ิ ก็
ได้ เมือมี
่ ดปิ ดได้น่นเอง
เปรียบเหมือนก ับสวิตช ์ทีเปิ
ั
้ งต้องมีวธ
นอกจากนี ยั
ิ ก
ี ารติดตามหรือสะกดรอยชุดยีนที่
วิธก
ี ารดู ดว้ ยตาเปล่าไม่สามารถบอกได้วา
่
้ั ง ต้องมี
พืชชนิ ดใดเป็ น GMO ต้องใช้เทคนิ คชนสู
่
่ ยวชาญ
่
แลบ มีเครืองมื
อ มีนก
ั วิทยาศาสตร ์ทีเชี
่ าหน้าทีเป็
่ นสวิตช ์
ตรวจหาสาร GMO คือ ยีนทีท
่ นสวิตซ ์ปิ ด
เปิ ดคือ 35 S PROMOTER และส่วนทีเป็
เรียกว่า NOS TERMINATOR หรือตรวจยีนตัวเลือก
เรียกว่า MARKER GENE หรือ SELECTABLE MARKE
GENE จะค่อนข้างยุ่งยากและลาบากในการตรวจ
พอสมควร
อ ันตรายที่ มีตอ
่ สุขภาพ อนามัยของมนุ ษย ์ มีอะไรบ้าง ?
่ กวิทยาศาสตร ์ใส่ยน
เมือนั
ี แปลกปลอมเข้าไปใน
่ ชวี ต
สิงมี
ิ ใครก็ตาม ยีนจะไปรบกวนกระบวนการทางาน ที่
่ ชวี ต
้
ละเอียดอ่อน ในสิงมี
ิ ชนิ ดนันและสร
้างคุณลักษณะ
้
่
่ นพิษ หรือเป็ น
ใหม่ๆ ขึนมา
ซึงอาจท
าให้เกิด สภาพทีเป็
ต้นเหตุของอาการภู มแ
ิ พ้ได้ เช่น ในกรณี ของประเทศสหร ัฐ
่ั
่ ยน
ต้องหาทางป้ องก ัน ไม่ให้เมล็ดถวเหลื
อง จีเอ็มโอ ทีมี
ี
่
บราซิลนัท ออกสู ต
่ ลาดหลังจากพบว่าคนทีเคยแพ้
บราซิล
่ั
นัทแล้ว มาบริโภคถวเหลื
องจีเอ็มโอ โดยไม่รู ้ว่ามียน
ี บราซิล
่ั
้ นที ทีบริ
่ โภคเข้าไป อีก
นัทอยู ่ เกิดอาการแพ้ถเหลื
องนันทั
่ จะไม่ได้ร ับอนุ ญาตให้
ต ัวอย่าง คือ ข้าวโพด สตาร ์ลิงค ์ ทีแม้
ใช้ในอาหารมนุ ษย ์ เนื่องจากอาจก่อให้เกิด โรคภู มแ
ิ พ้ได้ ก็
ยังพบว่า มีการปนเปื ้ อนอยู ่ ในอาหารในหลายๆ ประเทศ
่ ชวี ต
่
สิงมี
ิ ด ัดแปลงพันธุกรรมอีกมากมาย ทีกระตุ
นให้
้
้
ร่างกายดือยาปฏิ
ชวี นะ สมาคมแพทย ์และร ัฐบาล ของ
่
หลายๆ ประเทศทัวโลกร่
วมก ันประณามการใช้ยน
ี ด ังกล่าว
่ ดขึนก
้ ับสิงแวดล้
่
อ ันตราย ทีเกิ
อม มีอะไรบ้าง?
่ ชวี ต
่
GMO เป็ นสิงมี
ิ ทีสามารถสื
บพันธุ ์และแพร่พน
ั ธุ ์ต่อไป
้
ได้ ด ังนันหากปล่
อยจีเอ็มโอออกสู ส
่ งแวดล้
ิ่
อม แล้วมีสงิ่
้
ผิดปกติใดๆ เกิดขึนจะไม่
สามารถเรียกกลับคืนมาได้อก
ี เลย
่
่
- พืช GMO อาจกลายเป็ น "พืชพิเศษ" ทีสามารถต่
อสู เ้ พือ
ดารงชีวต
ิ ได้เหนื อกว่าพืชธรรมชาติ และสามารถ ทาลาย
พืชธรรมชาติและระบบนิ เวศน์
- พืช GMO จะผลิตเมล็ดพันธุ ์และละอองเกสร ไปปนเปื ้ อน
่ และปนเปื ้ อนอยู ่ในดิน
ก ับเมล็ดพันธุ ์อืนๆ
้
่
- การวิจ ัยพบว่า พืช GMO บางชนิ ดสร ้างขึนเพื
อผลิ
ตยา
้ มีอ ันตราย ต่อต ัวอ่อน ของผีเสือ้
ฆ่าแมลงได้ดว้ ยต ัวเองนัน
้ งมีผลกระทบต่อแมลงทีมี
่
โมนาร ์ค แมลงเต่าทอง ทังยั
้
ประโยชน์อก
ี มากมาย นอกจากนี เกสรของพื
ช GMO บาง
ชนิ ด
่ ตสารฆ่าแมลงได้ดว้ ยต ัวเอง ยังเป็ นอ ันตรายก ับผึง้
ทีผลิ
่ งตอนนี ้ พบว่าสิงมี
่ ชวี ต
จนกระทังถึ
ิ ดัดแปลง
่
กกน
ั อยู ่ ต้องใช้ควบคู ่
พันธุกรรมส่วนมากทีเพาะปลู
่ พลังสู ง ซึงมั
่ นหมายถึงว่า
ก ับ ยากาจัดว ัชพืช ทีมี
่
่
่ั
่
เมือไรที
เกษตรกรปลู
กถวเหลื
อง GMO ทีทนทานต่
อ
ยาฆ่าหญ้า ราวด ์อ ัพเร็ดดี ้ เกษตรกรก็ตอ
้ งฉี ดยาฆ่า
่ั
้
แมลงราวด ์อ ัพเร็ดดี ้ ถวเหลื
อง GMO นันจะทนทาน
่ ชวี ต
่
่ ่บริเวณนันจะ
้
และมีชวี ต
ิ อยู ่ แต่วา
่ สิงมี
ิ อืนๆที
อยู
ตาย เท่าก ับว่า เป็ นการทาลาย แหล่งอาหารของ
้
่
ัยพืชเหล่านันในการ
แมลงและสัตว ์ อีกมากมายทีอาศ
ดารงชีวต
ิ และเป็ นการทาลายระบบนิ เวศน์ทมี
ี่ อยู ่ตาม
้ การศึกษาพบว่าเกษตรกรใช้
ธรรมชาติ นอกจากนี มี
่ น
้ ๒-๕ เท่า ซึงเป็
่ นการเพิม
่
ยาฆ่าหญ้า เพิมขึ
อ ันตรายต่อเกษตรกร มีอะไรบ้าง?
บรรดาเกษตรกรและองค ์กรเกษตรกรอีกมากมายออกมา
ต่อต้านเมล็ดพันธุ ์ GMO เนื่องจากมีการผู กมัดว่า เกษตรกร
่ เมล็ดพันธุ ์ GMO ต้องใช้ยากาจัดแมลง ทีบริ
่ ษท
ทีใช้
ั เป็ น
ผู ผ
้ ลิตควบคู ก
่ ันไป เช่น กรณี ของเกษตรกร ชาวอเมริก ัน ที่
่ั
ปลู กถวเหลื
อง GMO ของบริษท
ั มอนซานโต้ จาก ัด ต้องเซ็น
้
สัญญาซือยาฆ่
าแมลง ของ มอนซานโต้ และยังต้องปฏิบต
ั ิ
ตามกฎของ มอนซานโต้ รวมไปถึงต้องอนุ ญาต ให้
่
เจ้าหน้าทีของ
มอนซานโต ้้เข้าออกไร่นาของพวกเขาด้วย
้ งห้ามเกษตรกร เก็บเมล็ดพันธุ ์ไว้ เพือเพาะปลู
่
อีกทังยั
กใน
ฤดู ตอ
่ ไป เท่าก ับว่า บรรดาเกษตรกร อยู ่ในกามือของ กลุ่ม
้
บริษท
ั อุตสาหกรรมเคมี ข้ามชาติเหล่านันแล้
วนอกจากนี ้
่ ของ
พืชพันธุ ์ GMO ยังสามารถปนเปื ้ อนก ับพืชพันธุ ์อืนๆ
่ แนวโน้มว่า เมล็ดพันธุ ์เหล่านัน
้ จะ
เกษตรกรได้ดว้ ย ซึงมี
ขายไม่ได้ อย่างกรณี การปนเปื ้ อน ของพืช GMO โดยไม่ได้
้ั
ตงใจ
ในไร่ของเกษตรกร ชาวคานาดา ผลปรากฏว่า มอน
ประโยชน์ตอ
่ เกษตรกร
1. ทาให้เกิดพืชสายพันธุ ์ใหม่ทมี
ี่ ความทนทานต่อ
สภาพแวดล้อม เช่น ทนต่อศ ัตรู พช
ื หรือมีความสามารถใน
้
้
การ ป้ องก ันตนเองจากศ ัตรู พช
ื เช่น เชือไวร
ัส เชือรา
แบคทีเรีย แมลงศ ัตรู พช
ื หรือแม้แต่ยาฆ่าแมลง และยา
่
ปราบวัชพืช หรือในบางกรณี อาจเป็ นพืชทีทนแล้
ง ทนดิน
้ คุณสมบัต ิ เช่นนี เป็
้ นประโยชน์ ต่อเกษตรกร
เค็ม ดินเปรียว
้ าเป็ น agronomic traits
เราเรียกลักษณะเช่นนี ว่
2. ทาให้เกิดพืชสายพันธุ ์ใหม่ทมี
ี ่ คณ
ุ สมบัตเิ หมาะแก่การ
เก็บร ักษาเป็ นเวลานาน ทาให้สามารถอยู ่ได้นานวัน และ
ขนส่งได้เป็ นระยะทางไกลโดยไม่เน่ าเสีย เช่น มะเขือเทศที่
้ งแข็ง และกรอบ ไม่
สุกช้า หรือแม้จะสุกแต่กไ็ ม่งอม เนื อยั
่
้ ถอ
งอมหรือเละเมือไปถึ
งมือผู บ
้ ริโภค ลักษณะนี ก็
ื ว่าเป็ น
agronomic traits เช่นเดียวกัน เพราะให้ประโยชน์
ประโยชน์ตอ
่ ผู บ
้ ริโภค
3. ทาให้เกิดธ ัญพืช ผัก หรือผลไม้ทมี
ี ่ คณ
ุ สมบัต ิ
่ นในทางโภชนาการ
้
่
เพิมขึ
เช่น ส้มหรือมะนาวทีมี
่ มากขึน
้ หรือผลไม้ทมี
วิตามินซีเพิม
ี่ ขนาดใหญ่ขน
ึ้
้ นการ
กว่าเดิม ให้ผลมากกว่าเดิม ลักษณะเหล่านี เป็
่ ณค่าเชิงคุณภาพ (quality traits)
เพิมคุ
่ คณ
4. ทาให้เกิดพันธุ ์พืชใหม่ๆ ทีมี
ุ ค่าในเชิงพาณิ ชย ์
เช่น ดอกไม้หรือพืชจาพวกไม้ประดบ
ั สายพันธุ ์ใหม่ทมี
ี่
รู ปร่างแปลกกว่าเดิม ขนาดใหญ่กว่าเดิม สีสน
ั แปลกไป
่ อว่าเป็ น
จากเดิม หรือมีความคงทนกว่าเดิม ซึงถื
quality traits เช่นกัน
ประโยชน์ตอ
่ อุตสาหกรรม
่ าให้ลดการใช้สารเคมี และช่วยให้ได้
5. คุณสมบัตข
ิ องพืชทีท
้
่
พืชผลมากขึนกว่
าเดิมมีผลทาให้ตน
้ ทุนการผลิตตาลง
่
่ั
วัตถุดบ
ิ ทีมาจากภาคเกษตร
เช่น กากถวเหลื
อง อาหารสัตว ์
่ านาจในการแข่งขัน
จึงมีราคาถู กลง ทาให้เพิมอ
่ ก ันอยู ่ใน
6. นอกจากพืชแล้ว ยังมี GMOs หลายชนิ ดทีใช้
้
่ ในการ
ปั จจุบน
ั นี ในอุ
ตสาหกรรมอาหาร เช่น เอ็นไซม ์ทีใช้
่ ในการ
ิ ทีใช้
ผลิตน้ าผักและน้ าผลไม้ หรือเอ็นไซม ์ ไคโมซน
้
ผลิตเนยแข็งแทบทังหมดเป็
นผลิตภัณฑ ์ที่ ได้จาก GMOs
และมีมาเป็ นเวลานานแล้ว
่ ในอุตสาหกรรมยา
7. การผลิตวัคซีน หรือยาชนิ ดอืนๆ
้ วนแล้วแต่ใช้ GMOs แทบทังสิ
้ น
้ อีกไม่นานนี ้ เรา
ปั จจุบน
ั นี ล้
่ สว
่ าเป็ น
อาจมีน้ านมวัวทีมี
่ นประกอบของยาหรือฮอร ์โมนทีจ
ประโยชน์ตอ
่ อุตสาหกรรม
่ าให้ลดการใช้สารเคมี และช่วยให้ได้
5. คุณสมบัตข
ิ องพืชทีท
้
่
พืชผลมากขึนกว่
าเดิมมีผลทาให้ตน
้ ทุนการผลิตตาลง
่
่ั
วัตถุดบ
ิ ทีมาจากภาคเกษตร
เช่น กากถวเหลื
อง อาหารสัตว ์
่ านาจในการแข่งขัน
จึงมีราคาถู กลง ทาให้เพิมอ
่ ก ันอยู ่ใน
6. นอกจากพืชแล้ว ยังมี GMOs หลายชนิ ดทีใช้
้
่ ในการ
ปั จจุบน
ั นี ในอุ
ตสาหกรรมอาหาร เช่น เอ็นไซม ์ทีใช้
่ ในการ
ิ ทีใช้
ผลิตน้ าผักและน้ าผลไม้ หรือเอ็นไซม ์ ไคโมซน
้
ผลิตเนยแข็งแทบทังหมดเป็
นผลิตภัณฑ ์ที่ ได้จาก GMOs
และมีมาเป็ นเวลานานแล้ว
่ ในอุตสาหกรรมยา
7. การผลิตวัคซีน หรือยาชนิ ดอืนๆ
้ วนแล้วแต่ใช้ GMOs แทบทังสิ
้ น
้ อีกไม่นานนี ้ เรา
ปั จจุบน
ั นี ล้
่ สว
อาจมีน้ านมวัวทีมี
่ นประกอบของยาหรือฮอร ์โมน
่
ความเสียงต่
อผู บ
้ ริโภค
้ อนทีเป็
่ นอ ันตราย เช่น เคยมี
1. สารอาหารจาก GMOs อาจมีสงปนเปื
ิ่
ข่าวว่า กรดอะมิโน L-Tryptophan ของบริษท
ั Showa Denko ทาให้
ผู บ
้ ริโภคในสหร ัฐเกิดอาการป่ วยและล้มตาย อย่างไรก็ตาม กรณี ท ี่
้ แท้
้ จริงแล้วเป็ น ผลมาจากความบกพร่องในขันตอนการ
้
เกิดขึนนี
้ อนหลงเหลืออยู ่
ควบคุมคุณภาพ (quality control) ทาให้มส
ี งปนเปื
ิ่
่ นอ ันตราย
หลังจาก กระบวนการทาให้บริสุทธิ ์ มิใช่ตวั GMOs ทีเป็
่
2. ความก ังวลในเรืองของการเป็
นพาหะของสารพิษ เช่น ความก ังวล
่ ในการทา GMOs อาจเป็ นอ ันตราย เช่น การ
ทีว่่ า DNA จากไวร ัสทีใช้
่
่ ั บทีมี
่ lectin และ
ทดลองของ Dr.Pusztai ทีทดลองให้
หนู กินมันฝรงดิ
่
พบว่าหนู มีภูมค
ิ ม
ุ ้ กันลดลง และมีอาการบวมผิดปกติของลาไส้ ซึงงาน
้ ได้
้ ร ับการวิพากษ ์วิจารณ์อย่างสู ง โดยนักวิทยาศาสตร ์ ส่วนใหญ่
ชินนี
มีความเห็นว่าการออกแบบการทดลองและวิธก
ี ารทดลองบกพร่อง
้ อว่
่ ากาลังมี
ไม่ได้มาตรฐานตามหลักการวิทยา ศาสตร ์ ในขณะนี เชื
่
ความพยายามทีจะด
าเนิ นการทดลอง
้
่
่ อถื
่ อได้ มากขึน
้ และจะสามารถ
ทีร่ ัดกุมมากขึนเพื
อให้
ได้ขอ
้ มู ลทีเชื
่
สรุปได้วา
่ ผลทีปรากฏ
3. สารอาหารจาก GMOs อาจมีคุณค่าทางโภชนาการไม่เท่าอาหาร
่ั
ปกติในธรรมชาติ เช่น รายงานทีว่่ าถวเหลื
องที่ ตัดแต่งพันธุกรรมมี
่ั
่
้ น
isoflavone มากกว่าถวเหลื
องธรรมดาเล็กน้อย ซึงสารชนิ
ดนี เป็
่ น phytoestrogen (ฮอร ์โมนพืช) ทาให้มค
กลุ่มของสารทีเป็
ี วาม
่ นของฮอร
้
ก ังวลว่า การเพิมขึ
์โมน estrogen อาจทาให้เป็ นอน
ั ตราย
ต่อ ผู บ
้ ริโภคหรือไม่ โดยเฉพาะในกลุ่มเด็กทารก จึงจาเป็ นต้องมี
่
การศึกษาผลกระทบของการเพิมปริ
มาณของสาร isoflavine ต่อ
กลุ่มผู บ
้ ริโภคด้วย
่
4. ความกังวลต่อการเกิดสารภู มแ
ิ พ้ (allergen) ซึงอาจได้
มาจาก
่ ามาใช้ทา GMOs นัน
้ ตัวอย่าง ทีเคยมี
่
แหล่งเดิมของยีนทีน
เช่น
่
่
่
การใช้ยน
ี จากถวั Brazil nut มาทา GMOs เพือเพิมคุณค่าโปรตีนใน
่ั
่ ขนก่
่
ถวเหลื
องสาหร ับเป็ นอาหารสัตว ์ จากการศึกษาทีมี
ึ ้ อนทีจะมี
่ั
้
การผลิตออกจาหน่ าย พบว่าถวเหลื
องชนิ ดนี อาจท
าให้คนกลุ่มหนึ่ ง
่ นสารภู มแ
เกิดอาการแพ้ เนื่ องจากได้ร ับโปรตีนทีเป็
ิ พ้จากถว่ ั Brazil
้ อย่างไร ก็ตามพืช
nut บริษท
ั จึงได้ระงับการพัฒนา GMOs ชนิ ดนี ไป
่
GMOs อืนๆ
5. การตบแต่งพันธุกรรมในสัตว ์ปลอดภัยต่อผู บ
้ ริโภคหรือไม่? ในบางกรณี วัว
้
่
่
หมู รวมทังสัตว ์ชนิ ดอืนทีได้ร ับ recombinant growth hormone อาจมี
่
้ ง
คุณภาพทีแตกต่
างไปจากธรรมชาติ และ/หรือมีสารตกค้างหรือไม่ ขณะนี ยั
่
้ อย่างไรก็ตาม สัตว ์มีระบบสรีระวิทยาทีซ
่ ับซ ้อน
ไม่มข
ี อ
้ ยืนยันช ัดเจนในเรืองนี
้ ลน
มากกว่าพืช และเชือจุ
ิ ทรีย ์ ทาให้การตบแต่งพันธุกรรมในสัตว ์ อาจทาให้
่ ทีไม่
่ คาดคิดได้ โดยอาจทาให้สต
เกิดผลกระทบอืนๆ
ั ว ์มีลก
ั ษณะและ
่
่
่
่
คุณสมบัตเิ ปลียนไป และมีผลทาให้เกิดสารพิษอืนๆ ทีเป็ นสารตกค้างทีไม่
้
่ นอาหารโดยตรง จึงควร
ปรารถนาขึนได้
การตบแต่งพันธุกรรม ในสัตว ์ทีเป็
้
่
ต้องมีการพิจารณาขันตอนการประเมิ
นความปลอดภัยทีครอบคลุ
มมากกว่า
้ ลน
เชือจุ
ิ ทรีย ์และพืช
่
้
6. ความกังวลเกียวกับการดื
อยา
กล่าวคือเนื่องจากใน marker gene มักจะใช้
่ ้างสารต่อต้านปฏิชวี นะ (antibiotic resistance) ดังนันจึ
้ งมีผูก
ยีนทีสร
้ ังวลว่า
่
พืชใหม่ทได้
ี อาจมีสารต้านปฏิชวี นะอยู ่ดว้ ย ทาให้มค
ี าถามว่า
6.1 ถ้าผู บ
้ ริโภคอยู ่ในระหว่างการใช้ยาปฏิชวี นะอยู ่ อาจจะทาให้การร ักษา
่ น
ไม่ได้ผลหรือไม่ เนื่องจากมีสารต้าน ทานยาปฏิชวี นะอยู ่ในร่างกาย ซึงเป็
่ กวิทยาศาสตร ์กล่าวว่ามีโอกาสเกิดขึนได้
้
ปั ญหาทีนั
น้อย และสามารถแก้ไข
่
หรือหลีกเลียงได้
้
่
6.2 ถ้าเชือแบคที
เรียทีตามปกติ
มอ
ี ยู ่ในร่างกายคน ได้ร ับ marker gene
ดังกล่าวเข้าไปโดยผนวก (integrate) เข้าอยู ่ในโครโมโซมของมันเอง ก็จะทา
้
ให้เกิดแบคทีเรียสายพันธุ ์ใหม่ทดื
ี่ อยาปฏิ
ชวี นะได้
่
่ น 35S promoter และ NOS
7. ความกังวลเกียวกับการที
ยี
่ ่ในเซลล ์ของ GMOs จะหลุดรอดจากการ
terminator ทีอยู
ย่อยภายในกระเพาะอาหารและลาไส้ เข้าสู เ่ ซลล ์ปกติของ
้ าให้เกิด การ
คนทีร่ ับประทานเข้าไป แล้วเกิด active ขึนท
่
่ อนี จากผลการทดลองที
้
่
เปลียนแปลงของยี
นในมนุ ษย ์ ซึงข้
ผ่านมายืนยันได้วา
่ ไม่น่ากังวลเนื่ องจากมีโอกาส เป็ นไป
่ ด
ได้น้อยทีสุ
8. อย่างไรก็ตาม อาจจาเป็ นต้องใช้ความระมัดระวังบ้างใน
่ ระบบทางเดินอาหารทีสั
่ นกว่
้
บางกรณี เช่น เด็กอ่อนทีมี
า
ผู ใ้ หญ่ทาให้การย่อยอาหารโดยเฉพาะ DNA ในอาหาร
่
้ วา
เป็ นไปโดยไม่สมบู รณ์เมือเที
ยบกับผู ใ้ หญ่ ในข้อนี แม้
่ จะ
่
่
่
่
ความเสียงต่
อสิงแวดล้
อม
่ ปราบแมลงศ ัตรู พช
9. มีความก ังวลว่า สารพิษบางชนิ ดทีใช้
ื เช่น Bt
่ อยู ่ใน GMOs บางชนิ ดอาจมีผล กระทบต่อแมลงทีมี
่
toxin ทีมี
่ เช่น ผลการทดลองของ Losey แห่งมหาวิทยาลัย
ประโยชน์ชนิ ดอืนๆ
่ าวถึงการ ศึกษาผลกระทบของสารฆ่าแมลงของเชือ้
Cornell ทีกล่
่ ต่อผีเสือ้
Bacillus thuringiensis (บีท)ี ในข้าวโพดตบแต่งพันธุกรรมทีมี
่
้ าในห้องทดลองภายใต้สภาพเงื่อนไข
Monarch ซึงการทดลองเหล่
านี ท
่ บเค้น และได้ให้ผลในขันต้
้ นเท่านัน
้ จาเป็ นอย่างยิงที
่ จะต้
่
ทีบี
องมีการ
่
่ นย
่
ทดลองภาคสนามเพือให้
ทราบผลทีมี
ั สาคัญ ก่อนทีจะมี
การสรุปผล
และนาไปขยาย ความ
10. ความก ังวลต่อการถ่ายเทยีนออกสู ส
่ งแวดล้
ิ่
อม ทาให้เกิดผล
กระทบต่อความหลากหลายทางชีวภาพเนื่ องจาก มีสายพันธุ ์ใหม่ท ี่
้ มในธรรมชาติ หรือลักษณะสาคัญบางอย่าง
เหนื อกว่าสายพันธุ ์ดังเดิ
่ พงึ ประสงค ์ หรือแม้กระทังการท
่
ถู กถ่ายทอดไปยังสายพันธุ ์ ทีไม่
าให้
้ อยาปราบวัชพืช เช่น ทีกล่
่ าวก ันว่าทาให้เกิด super bug
เกิดการดือต่
้ การวิจย
หรือ super weed เป็ นต้น ในขณะนี มี
ั จานวนมาก
ความก ังวลในด้านเศรษฐกิจ-สังคม
่ นันมั
้ กเป็ นเรืองนอกเหนื
่
11. ความก ังวลอืนๆ
อวิทยาศาสตร ์
่
เช่น ในเรืองการครอบง
าโดยบรรษัทข้ามชาติทมี
ี ่ สท
ิ ธิ บัตร
์
่ ยวข้
่
ถือครองสิทธิในทร
ัพย ์สินทางปั ญญาทีเกี
องก ับ GMOs
่
่
ทาให้เกิดความก ังวลเกียวก
ับความมันคงทาง
อาหาร
่
ตลอดจนปั ญหาความสามารถในการพึงตนเองของประเทศ
่ กถู กหยิบยกขึนมากล่
้
ในอนาคต ทีมั
าวถึงโดย NGOs และ
่
ปั ญหาในเรืองการกี
ดก ันสินค้า GMOs ในเวทีการค้าระหว่าง
่ นประเด็นปั ญหาของ ประเทศไทยอยู ่ในปั จจุบน
ประเทศ ซึงเป็
ั
่ ในการที่
อย่างไรก็ด ี กรณี GMOs เป็ นโอกาสทีดี
่ ัวและเร่งสร ้างวุฒภ
ประชาชนในชาติได้มค
ี วามตืนต
ิ าวะ โดย
่
เฉพาะอย่างยิงความรู
้ความเข้าใจในเทคโนโลยีชวี ภาพ ซึง่
่
่ าเป็ นอย่างยิง่ เนื่องจากการต ัดสินใจใดๆ ของ
เป็ นเรืองที
จ
้
สังคมควรเป็ นไปโดยอยู ่บนพืนฐานของความเข้
าใจใน
้
วิทยาศาสตร ์ และโดยขันตอนทางวิ
ทยาศาสตร ์ นั่นคือ การ
่
พันธุวศ
ิ วกรรม (genetic engineering) หรือความรู ้ทีได้
จากการศึกษาชีววิทยาระด ับโมเลกุล (molecular biology) จน
่
่
ทาให้สามารถประยุกต ์ใช้ในการปร ับเปลียน
เคลือนย้
าย หรือ
ตรวจสอบสารพันธุกรรม (ดีเอ็นเอ) และผลิตภัณฑ ์ของสาร
พันธุกรรม (อาร ์เอ็นเอและโปรตีน) ได้ การประยุกต ์ใช้พน
ั ธุ
วิศวกรรมแบบหนึ่งทีรู่ ้จักก ันอย่างกว้างขวางได้แก่ การ
่
่ ชวี ต
เคลือนย้
ายยีน (transgenesis)จากสิงมี
ิ สปี ชีส ์หนึ่งไปสู ่
่ ชวี ต
่
่ ซึงท
่ าให้เกิดการ
สิงมี
ิ อืนในสปี
ชีส ์เดียวกันหรือสปี ชีส ์อืน
่ นนันควบคุ
้
ถ่ายทอดยีนและลักษณะทียี
มอยู ่ ทาให้เกิด
่ ชวี ต
่
สิงมี
ิ รู ปแบบใหม่ (novel)ซึงอาจไม่
เคยปรากฏในธรรมชาติ
มาก่อน ต ัวอย่างเช่น การใส่ยน
ี สร ้างฮอร ์โมนอินซูลน
ิ เข้าไป
่
่
ในแบคทเรียหรือยีสต ์ เพือให้
ผลิตสารด ังกล่าว ซึงสามารถ
์ อใช้
่
นามาสก ัดบริสุทธิเพื
ร ักษาผู ป
้ ่ วยโรคเบาหวาน เป็ นต้น
่ ชวี ต
่ จากกระบวนการเคลือนย้
่
สิงมี
ิ ทีได้
ายยีน เรียกว่า
่ ชวี ต
่
่
สิงมี
ิ เคลือนย้
ายยีน (transgenic organisms) ซึงอาจเป็
นได้
้ั
่ ววิ ัฒนาการตาอย่
่
ตงแต่
สงมี
ิ่ ชวี ต
ิ ทีมี
างจุลน
ิ ทรีย ์ ไปจน
่ ชวี ต
้ั งอย่างพืชและสัตว ์ชนิ ดต่างๆ ในวงการสือ
่ มัก
สิงมี
ิ ชนสู
ด้านเกษตร การขยายพันธุ ์และการปร ับปรุงพันธุ ์สัตว ์และพืช
โดยใช้เทคนิ คต่างๆ
–
–
–
–
–
การคัดเลือกพันธุ ์ผสม
การโคลนนิ่ ง
้
้ อ
่
การเพาะเลียงเนื
อเยื
การใช้พน
ั ธุวศ
ิ วกรรม
การฝากถ่ายตัวอ่อน
ด้านอุตสาหกรรม ผลผลิตจากด้านเกษตรกรรมการใช้จุลน
ิ ท
รีย ์ และการปร ับปรุงสายพันธุ ์จุลน
ิ ทรีย ์
ด้านอาหาร เป็ นผลพลอยได้จากด้านเกษตรกรรมและ
อุตสาหกรรม
ด้านการแพทย ์ การผลิตฮอร ์โมน การผลิตวัคซีน วิตามิน
่ คณ
และยาปฏิชวี นะทีมี
ุ ภาพดี
่
ปลอดภัยและมีป ริมาณทีมากพอส
าหร ับผู ป
้ ่ วยการ
ตรวจสอบสภาวะพันธุกรรมของโรคต่างๆ จากการผลิต
้ วนของยีนการแก้ไขภาวะผิดปกติและการร ักษาโรค
ชินส่
่ านกระบวนการทางพันธุ
คือ พืชทีผ่
่
วิศวกรรม เพือให้
มค
ี ณ
ุ สมบัตห
ิ รือคุณลักษณะที่
จาเพาะเจาะจงตามต้องการ เช่น มีความ
ต้านทานต่อแมลงศ ัตรู พช
ื คงทนต่อ
่ น
่ เหมาะสม หรือมีการเพิมขึ
้
สภาพแวดล้อมทีไม่
ของสารโภชนาการหรือชีวโมเลกุลบางชนิ ด
เช่น วิตามิน โปรตีน ไขมัน เป็ นต้น พืชดัดแปลง
่ ชวี ต
ิ ดัดแปลงพันธุกรรม
พันธุกรรมถือเป็ นสิงมี
หรือจีเอ็มโอ
วอลนัท
่ า
หลังจากทีท
การตัดต่ออะไรสัก
อย่างทาง
พันธุกรรมแล้ว จึง
ทาให้เม็ดวอลนัท
้ คณ
นันมี
ุ สมบัตท
ิ ดี
ี่
้ อทนทานต่อ
ขึนคื
โรค
สตรอเบอรี่
การตัดต่อทาง
พันธุกรรม (GMO)
ส่งผลให้
• เน่ าเร็วลง ทาให้
ไม่สะดวกต่อการ
ขนส่ง
่
• เพิมสารอาหาร
แอปเปิ ล
ผลของการตัดต่อ
่ ตอ
ทางพันธุกรรมทีมี
่
แอปเปิ ลคือ
• ทาให้ความสดและ
ความกรอบของผล
แอปเปิ ลมีระยะ
้
เวลานานขึน
( delay ripening )
• ทนต่อแมลงต่างๆ
่ นศ ัตรู พช
ทีเป็
ื
มะเขือเทศ
่ า
หลังจากทีท
การตัดต่อทาง
พันธุกรรมแล้ว มี
ดงั นี ้
• ทนทานต่อโรคมาก
้
ขึน
่
• เพิมความแข็
งของ
้
เนื อมะเขื
อเทศมาก
้ ทาให้ลดปั ญหา
ขึน
ผลผลิตเสียหายขณะ
ขนส่ง
่ จากการ
• ผลผลิตทีได้
ข้าวโพด
ข้าวโพด นับว่าเป็ นพืช
ทางเศรษฐกิจอีกชนิ ดหนึ่ งที่
เรานามาทาการตด
ั ต่อทาง
พันธุกรรม โดยการตัดต่อยีน
่ อว่
่ า
ของแบคทีเรียทีชื
Bacillus thuringiensis เข้าไป
ในยีนของเมล็ดข้าวโพด จึง
่ ทาการตด
ทาให้ขา้ วโพดทีได้
ั
้
ต่อทางพันธุกรรมนี มี
คุณสมบัตพ
ิ เิ ศษ คือ สามารถ
สร ้างสารพิษ
่ นศ ัตรู พช
ต่อแมลงทีเป็
ื ได้
โดย
มันฝรง่ ั
่
เป็ นพืชเศรษฐกิจทีมี
การตัดต่อทางพันธุกรรม
เช่นเดียวกันกับข้าวโพด
โดยใช้การตัดต่อยีนของ
่ อว่
่ า
แบคทีเรียทีชื
Bacillus thuringiensis
เข้าไปในยีนของมันฝรง่ ั
่ ั ได้
่ ร ับการ
ทาให้มน
ั ฝรงที
ตัดต่อทางพันธุกรรมแล้ว
มีคณ
ุ ค่าทางสารอาหาร
่ น
้ (เพิมปริ
่
เพิมขึ
มาณ
โปรตีน) และในบางชนิ ด
่
่
ถัวเหลื
อง
มีการดัดแปลง
่
พันธุกรรมถัวเหลื
อง
่
เพือให้
มค
ี ณ
ุ สมบัต ิ
พิเศษ สามารถทนต่อ
สารเคมีกาจัดวัชพืช
ชนิ ด Roundup ได้
่
่
ดีกว่าถัวเหลื
องทัวไป
ทาให้ผูป
้ ลู กสามารถ
ใช้สาเครมีชนิ ด
้
Roundup ได้มากขึน
มีผลทาให้ได้ผล
มะละกอ
มีการตัดต่อ
พันธุกรรม
่
มะละกอ เพือให้
สามารถ
ต้านทานโรคห่า
ได้ และมีเมล็ด
้
มากขึน
ฝ้าย
่ าน
เป็ นฝ้ายทีผ่
การดัดแปลงทาง
พันธุกรรมโดยใส่ยน
ี
ของแบคทีเรีย
Bacillus
thuringiensis var.
kurataki (B.t.k) เข้า
ไปในโครโมโซมของ
ต้นฝ้าย ทาให้
สามารถผลิตโปรตีน
่
Cry 1A ซึงมี
่ ชวี ต
่
คือ สิงมี
ิ ทีองค
์ประกอบทางพันธุกรรมถู กด ัดแปลง
่ ยกว่าเทคโนโลยีการรี
โดยใช้กลวิธท
ี างพันธุวศ
ิ วกรรมทีเรี
คอมบิแนนท ์ดีเอ็นเอ (DNA Recombinant) ด้วยเทคโนโลยี
ด ังกล่าว โมเลกุลดีเอ็นเอจากต้นกาเนิ ดต่างๆ กันจะถู ก
รวมเข้าด้วยก ันในหลอดทดลอง แล้วใส่ลงไปในโมเลกุลหนึ่ง
่
้
้ เอ็นเอทีถู
่ กด ัดแปลงก็จะ
ต ัวเพือสร
้างยีนขึนมาใหม่
จากนันดี
่ ชวี ต
ถู กถ่ายลงไปในสิงมี
ิ ทาให้เกิดการแสดงลักษณะที่
้
่
เกิดขึนจากการด
ัดแปลงทีแปลกใหม่
นิ ยามของคาว่า GMO
่ ยกสิงมี
่ ชวี ต
่ กตด
ในอดีตถู กใช้เพือเรี
ิ ทีถู
ั แต่งทางพันธุกรรม
่ ยมปฏิบต
่
ผ่านการผสมข้ามพันธุ ์ทีนิ
ั ก
ิ ันทัวไป
หรือการผสม
พันธุ ์แบบมิวเตเจนี ซส
ิ (การให้กาเนิ ดแบบกลายพันธุ ์)
้ ดขึนก่
้ อนการค้นพบเทคนิ คการรี
เนื่องจากวิธก
ี ารเหล่านี เกิ
้
คอมบิแนนท ์ดีเอ็นเอ ต ัวอย่างของผลิตภัณฑ ์ GMO นันมี
่
ความหลากหลายอย่างมาก ซึงรวมไปถึ
งสัตว ์ทีได้ร ับการต ัด
แต่งพันธุกรรมโดยวิธ ร
ี ค
ี อมบิแนนท ์ดีเอ็นเอเช่น หนู , ปลา
พืชต ัดแต่งพันธุกรรม หรือจุลน
ิ ทรีย ์หลายชนิ ดเช่น
้
แบคทีเรีย และเชือรา
สาเหตุของการผลิตและการใช้
่ ชวี ต
นิ ยามของคาว่า "สิงมี
ิ ดัดแปลงพันธุกรรม"
่
ไม่จาเป็ นทีจะต้
องรวมไปถึงการบรรจุยน
ี เป้ าหมาย
จากสายพันธุ ์หนึ่ งไปยังอีกสายพันธุ ์หนึ่ งเสมอไป
ยกตัวอย่างเช่น ยีนจากแมงกะพรุน ประกอบไปด้วย
โปรตีนเรืองแสงเรียกว่า GFP (Green Fluorescent
่
่
่
Protein) ซึงสามารถน
าไปเชือมต่
อกับยีนอืนโดยตรง
้
ได้และทาให้ยน
ี นี สามารถแสดงลั
กษณะร่วมกันกับ
้
่
ยีนของสัตว ์เลียงลู
กด้วยนมเพือระบุ
ถงึ ตาแหน่ งของ
่ กสร ้างขึนโดยยี
้
่ GFP เชือมอยู
่
โปรตีนทีถู
นทีมี
่ใน
้
้
เซลล ์ของสัตว ์เลียงลู
กด้วยนม วิธก
ี ารเหล่านี รวมถึ
ง
่ ล้วนเป็ นเครืองมื
่
่ ประโยชน์ และ
วิธ ๊การอืนๆ
อทีมี
่ าหร ับนักชีววิทยาในหลายๆ สาขา
สาคัญอย่างยิงส
การวิจย
ั รวมไปถึงผู ท
้ ศึ
ี่ กษากลไกของมนุ ษย ์และโรค
ปลาม้าลาย
(Zebrafish)
่ กด ัดแปลง
ทีถู
พันธุกรรมให้
สามารถเรืองแสงได้
่ ยมใน
กาลังเป็ นทีนิ
ตลาดสหร ัฐฯโดยไม่
ต้องผ่านการร ับรอง
จากองค ์การอาหาร
หมู เอนไวโร (Enviropig)
่ กดัดแปลงพันธุกรรมให้
ทีถู
ผลิตฟอสฟอร ัสน้อยกว่าหมู ปกติ
้ ถูกพัฒนาขึนโดย
้
หมู เอนไวโรนี ได้
นักวิจย
ั จากมหาวิทยาลัยกู เอลฟ
(University of Guelph) ในมณฑล
ออนตาริโอ (Ontario) โดยมี
่ วยเหลือเกษตรกร
จุดประสงค ์เพือช่
้
ผู เ้ ลียงหมูให้
สามารถใช้มูลหมู
้ นปุ๋ ยได้โดยทีไม่
่ ขด
ชนิ ดนี เป็
ั ก ับ
กฎหมายด้านการจัดการ ธาตุ
อาหาร (Nutrient Management
Laws) ของแคนาดา กฎหมายฉบับ
้ กาหนดปริมาณไนโตรเจนและ
นี ได้
่
ฟอสฟอร ัสทีจะน
ามาใช้ในเขต
่
เพาะปลู ก ซึงโดยปกติ
แล้ว
ฟอสฟอร ัสในมู ลของหมู จะมี
ปริมาณมากกว่าไนโตรเจนถึงหนึ่ ง
้
ปลาแซลมอนอควู แอดแวนเทจ (AquAdvantage)
จะเจริญเติบโตได้เร็วกว่าปลาแซลมอนปกติถงึ สอง
่
้
เท่าดังแสดงในรู ป ซึงปลาแซลมอนทั
งสองตั
วในรู ปที่
แสดงมีอายุเท่ากัน สัตว ์ดัดแปลงพันธุกรรมอีกชนิ ดที่
อยู ่ในช่วงการพิจารณาการร ับรองจากองค ์การอาหาร
่ กตัดต่อพันธุกรรมชนิ ดนี เป็
้ น
และยาคือปลาแซลมอนทีถู
่
ปลาแซลมอนแอตแลนติค (Atlantic Salmon) ซึงประกอบ
่ าหน้าทีสร
่ ้างฮอร ์โมนเร่งการเจริญเติบโต
ไปด้วยยีนทีท
จากปลาแซลมอนชีนุค และโปรโมเตอร ์จากปลาน้ าเย็น
่ ชอว่
ทีมี
ื่ า โอเชียน เพาท ์
ปลาแซลมอนอควู แอดแวนเทจ
จะเจริญเติบโตได้เร็วกว่า แต่ไม่ได้
มีขนาดใหญ่ไปกว่าปลาแซลมอน
้ วงจรชีวต
ธรรมดา นอกจากนี มี
ิ ที่
้
้
แมว ( Cats glow )
แมวเรืองแสงเกิดจาก ด ัดแปลง
พันธุกรรมโดยนักวิทยาศาสตร ์ชาว
เกาหลีใต้ ทาให้แมวมีสามารถเรือง
่ มผัสก ับแสง
แสงได้ในความมืดเมือสั
อ ัลตราไวโอเลต โดย กง อิลคุน
่
ผู เ้ ชียวชาญด้
านโคลนนิ่ง
มหาวิทยาลัยแห่งชาติยองซ ัง ได้สร ้าง
้
้ ก
แมวขึนมา
3 ต ัว แมวเหล่านี ถู
ด ัดแปลงพันธุกรรมในส่วนของยีนที่
ผลิตโปรตีนฟลู ออเรสเซนต ์ นับเป็ น
้ั
่ การโคลนแมวทีถู
่ ก
ครงแรกในโลกที
มี
ด ัดแปลงยีนด ังกล่าวตอนแรกพวกเขา
้
ได้แมว 3 ต ัว แต่ตอนนี เหลื
อรอดชีวต
ิ
เพียง 2 ต ัว และเติบโตจนมีน้ าหนัก 3
กก. และ 3.5 กก. โดยวัตถุประสงค ์ใน
้ เพือน
่ า เทคโนโลยีไป
การทดลองนี ก็
่ ยน
ใช้ในการโคลน แมวทีมี
ี ผิดปกติ
แมว Lemurat
่ งของคนรวย
่
ความมังคั
่ น
้ พวก
ชาวจีนกาลังเพิมขึ
้
่
เขากาลังมองสัตว ์เลียงที
แปลกใหม่เอาไว้โอ้อวดเงิน
้
ทองของพวกเขา และนันเอง
่
จึงเป้ นทีมาของบร
ัษัทวิจย
ั
ทางการแพทย ์และ
วิทยาศาสตร ์จีนในการ
แข่งขันผลิตสัตว ์ข้ามสาย
พันธุ ์ให้ประสบผลสาเร็ขมาก
่ ด(เพือการเงิ
่
่ สุ
่ ด
ทีสุ
น) จนทีที
พวกเขาก็ได้แมวพันธุ ์ใหม่ท ี่
เกิดจากการผสมระหว่างพวก
่
ลิงและแมว ทาให้ได้สต
ั ว ์ทีมี
แมงมุม Fern Spider
้ น
แมงมุม เฟิ ร ์นไม่ซากั
่
ในรายการทีเอาสั
ตว ์และ
พืชมารวมกัน เป็ นการ
ดัดแปลงพันธ ์กรรมโดยใช้
แมงมุมพันธุ ์ในอิตาลีชอ
ื่
Wolf spider (Lycosa
tarantula) และ ponga fern
(Cyathea dealbata)
วัตถุประสงค ์ในการผสม
้ อ
พันธุ ์มหัศจรรย ์นี คื
การศึกษาอ ัตราการรอด
ของแมงมุมใน ธรรมชาติ
้
สิงโต Dolion
มันน่ าจะเป็ นตัวอย่างที่
โดดเด่น ที่ สุดของ
วิทยาศาสตร ์ที่ สามารถนา
DNA มาใช้ได้อย่าง
่ Dolion เป็ นการ
เหลือเชือ
ดัดแปลงพันธุกรรมระหว่าง
สิงโตและสุนข
ั จนได้
่ ้
ผลิตผลสัตว ์เหลือเชือนี
้
(บนโลกมีสต
ั ว ์ชนิ ดนี แค่
สามตัวและมันอยู ่ใน
ห้องปฏิบต
ั ก
ิ าร ภาพ
่ น
ข้างบนมีชอว่
ื่ า Rex ซึงเป็
ตุก
๊ แก Umbuku Lizard
่ ชวี ต
เป็ นสิงมี
ิ ชนิ ด
่ ม ี เหตุผลหรือ
เดียวทีไม่
วัตถุประสงค ์ ในการ
ดัดแปลงพันธ ์กรรม แต่
่
เป็ นเครืองพิ
สูจน์วา
่
สามารถทาได้ โดย
พันธุกรรมในซิมบับเว
ได้จด
ั การดัดแปลงให้
้
่
ตุก
๊ แกสัตว ์พืนเมื
องทีมี
ขนาดเล็กและหายาก
ในแอฟ ริกา โดยทาให้
มันบินได้ แล้วตัง้
การดัดแปรพันธุกรรมของสงิ่ มีชวี ต
ิ คือ การนาสาร
พันธุกรรม (หรือทีเ่ รียกว่า ยีน) ทีค
่ วบคุมลักษณะทีต
่ ้องการ
ถ่ายใสเ่ ข ้าสูเ่ ซลล์ของสงิ่ มีชวี ต
ิ ทีเ่ ราต ้องการดัดแปรพันธุกรรม
วิธก
ี ารถ่ายยีน มีด ้วยกันหลายวิธ ี แล ้วแต่วา่ เราจะถ่ายยีนเข ้าสู่
ั ว์ หรือจุลน
สงิ่ มีชวี ต
ิ ชนิดใด พืช สต
ิ ทรีย ์ ซงึ่ ไม่วา่ จะเป็ นวิธใี ดก็
ตาม หลักสาคัญของการถ่ายยีน ก็คอ
ื
- ยีนทีจ
่ ะถ่ายเข ้าไปนัน
้ จะต ้องมีความบริสท
ุ ธิไ์ ม่มส
ี ารใด
ิ ธิภาพของการถ่ายยีน
ปนเปื้ อน เพราะสงิ่ สกปรกจะลดประสท
้
- วิธท
ี ใี่ ชถ่้ ายยีน ไม่วา่ จะเป็ นการใชกระแสไฟฟ้
า หรือสารเคมี
ิ้ ยีน โดย
ทีไ่ ม่เป็ นอันตราย หรือการยิงกระสุนทองคาเคลือบชน
้
้
ื่ “อะโกร
ใชแรงดั
นลมจากก๊าซเฉื่อย หรือการใชแบคที
เรียชอ
ิ ธิภาพดีใน
แบคทีเรีย” วิธต
ี า่ งๆ เหล่านีน
้ อกจากจะต ้องมีประสท
ิ้ ยีนเข ้าสูเ่ ซลล์แล ้ว ยังต ้องไม่ทาอันตรายต่อเซลล์
การนาพาชน
เพราะมิฉะนัน
้ แล ้วเซลล์ทไี่ ด ้รับการถ่ายยีนจะไม่สามารถเจริญ
ขึน
้ เป็ นสงิ่ มีชวี ต
ิ ดัดแปรพันธุกรรมทีส
่ มบูรณ์ได ้
ดังนัน
้ จึงกล่าวได ้ว่าในขัน
้ ตอนของการดัดแปรพันธุกรรมนัน
้
ย่อมมีสารเคมีหรือสารชวี ภาพบางตัวเข ้ามาเกีย
่ วข ้อง แต่สาร
อาหารทีม
่ อ
ี าจมีสว่ นประกอบเป็ น GMO ทีม
่ ี
อยูใ่ นปั จจุบน
ั และพบได ้ในหลายประเทศทั่วโลก
่ สหรัฐอเมริกา ประเทศในกลุม
เชน
่ สหภาพยุโรป
(อีย)ู ญีป
่ น
ุ่ แคนาดา และอืน
่ ๆ ได ้แก่ อาหาร
ประเภทถั่วเหลือง ข ้าวโพด มันฝรั่ง มะเขือเทศ
มะละกอ และผักบางชนิด เป็ นต ้น แต่อาหาร
เหล่านีไ
้ ด ้ผ่านขัน
้ ตอนการประเมินความปลอดภัย
อย่างเข ้มงวดมาแล ้ว จึงสามารถผลิตเพือ
่
จาหน่ายในเชงิ พาณิชย์ได ้ ในกรณีน้ านมจากแม่
โคทีไ่ ด ้รับฮอร์โมนทีไ่ ด ้จากสงิ่ มีชวี ต
ิ ดัดแปร
พันธุกรรมนัน
้ ขณะนีย
้ งั ไม่มรี ายงานว่าพบสารนี้
ตกค ้างในน้ านม อย่างไรก็ตาม ฮอร์โมนทีไ่ ด ้จาก
สานักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.)
่ ยวข้
่
เป็ นหน่ วยงานทีเกี
องกับความปลอดภัยของ
อาหารทุกชนิ ด รวมถึงอาหารจีเอ็มโอ โดยมี
มาตรการความปลอดภัยของอาหารทุกชนิ ด รวมถึง
อาหารจีเอ็มโอ โดยมีมาตรการความปลอดภัยคือ
่ จเี อ็มโอเป็ นส่วนประกอบจะต้องผ่านการ
อาหารทีมี
พิจารณาประเมินความปลอดภัยอย่างเข้มงวด โดย
่
ผู เ้ ชียวชาญก่
อน จึงจะสามารถจาหน่ ายในเชิง
พาณิ ชย ์ได้ นอกจากนี ้ อย.ยังได้ออกประกาศ
่
กระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 251) พ.ศ.2545 เรือง
่ จากเทคนิ กการดัดแปร
การแสดงฉลากอาหารทีได้
่ นการให้ขอ
พันธุกรรมหรือพันธุวศ
ิ วกรรม เพือเป็
้ มู ล
แก่ผูบ
้ ริโภค โดยประกาศฯ ฉบับดงั กล่าวมีผลบังคบ
ั
่ นที่ 11 พ.ค. 2546 ส่วนหน่ วยงานในประเทศ
ใช้เทือวั
่
โรคไวร ัสใบด่างจุดวง
่ ดจากเชือไวร
้
่ Papaya ringspot
แหวนเป็ นโรคทีเกิ
ัสชือ
้ั
่
virus (PRSV) พบในไทยครงแรกที
ภาค
่ พ.ศ. 2518 ในตอนนันไม่
้
ตะวันออกเฉี ยงเหนื อ เมือปี
่
เฉพาะประเทศไทยทีพบปั
ญหาการระบาดของไวร ัสชนิ ด
่ ไม่วา
นี ้ ประเทศอืนๆ
่ จะละแวกเดียวกันอย่างไต้หวัน
หรือข้ามทวีปไปยังฮาวาย ประเทศสหร ัฐฯ ต่างประสบ
้ งสิ
้ น
้ ถึงแม้วา
ปั ญหาการระบาดของโรคนี ทั
่ จะผ่านมา 30
กว่าปี แล้ว แต่การระบาดของไวร ัสใบด่างจุดวงแหวนก็
ยังไม่ลดลง ดังเห็นได้จากการสารวจการปลู กมะละกอใน
จังหวัดขอนแก่น พบว่าในปี พ.ศ. 2548–มกราคม 2550
เกือบทุกอาเภอพบการระบาดของโรคใบด่างจุดวงแหวน
่ กเป็ นโรคทุก
โดยบางหมู ่บา้ นพบมะละกอทีปลู
้
ไวร ัสใบด่างจุดวงแหวนมีความน่ ากลัวมีอยู ่หลายประการ
ประการแรก คือ ความสามารถในการเข้าทาลาย
้ อนเป็ น
มะละกอได้ทุกระยะของการเจริญเติบโต โดยมีเพลียอ่
้
พาหะ ความรุนแรงของโรคขึนอยู
่ก ับสภาพและอายุของ
มะละกอ อาการเกิดได้ในทุกส่วนของต้น แต่จะเห็นช ัดใน
้ หงิก
ส่วนของใบและผล โดยเฉพาะใบจะด่างเหลือง บิดเบียว
้ นแรงใบจะเหลือแต่เส้นใบ
งอ เหมือนหางหนู ถ้าติดเชือรุ
เหมือนเส้นด้าย บริเวณก้านมีจด
ุ ฉ่ าน้ าและเส้นประ ส่วนผล
่ งผล
้
่ ยกว่า
มะละกอจะสังเกตเห็นวงเล็กๆ ทัวทั
เป็ นอาการทีเรี
่ นจุดจะมีลก
“วงแหวน” บริเวณทีเป็
ั ษณะเป็ นไตแข็ง ผิว
่
่ นช ัดเจน ความเสียหายจาก
ขรุขระ ยิงผลใกล้
สุกจะยิงเห็
้
การระบาดของไวร ัสใบด่างจุดวงแหวน อาจถึงขันมะละกอ
้
่ ด
นันไม่
สามารถเก็บผลผลิตได้ และตายในทีสุ
่
ความน่ ากลัวประการทีสอง
ของไวร ัสใบด่างจุดวงแหวน
่ สามารถแก้ไขได้โดยใช้สารเคมี วิธ ี
คือ เป็ นโรคพืชทีไม่
่ าได้คอ
แก้ปัญหาทีท
ื ต้องทาลายทิง้ หรือใช้วธ
ิ ป
ี ลู กแบบกลาง
่ องก ันเพลียอ่
้ อนซึงเป็
่ นพาหะนาโรค
มุง้ ให้มะละกอเพือป้
้ หากพิจารณาถึงพืนที
้ รวมทั
่
้
ด ังนัน
งหมดของมะละกอ
และผลผลิตในแต่ละปี แล้ว พบว่าไม่ได้ลดลงอย่างชด
ั เจน
้ เกิ
้ ดจากการย้ายพืนที
้ ใหม่
่
่ าค ัญคือ
ทังนี
ในแต่ละปี ปั ญหาทีส
่
้ จนไม่
่
เมือไวร
ัสระบาดไปในทุกพืนที
สามารถย้ายไปได้แล้ว จะ
มีทปลอดการระบาดของไวร
ี่
ัสใบด่างจุดวงแหวนให้เราปลู ก
มะละกออยู ่อก
ี หรือไม่
เกษตรกรผู ป
้ ลู กมะละกอจากชุมพร ยึดอาชีพการปลู ก
มะละกอมากว่า 20 ปี เล่าให้ฟังว่าการปลู กมะละกอทาได้ยาก
้ จากทีเคยเก็
่
่ อนปี พ.ศ. 2530 มาวันนี เก็
้ บ
ขึน
บได้ 2 รอบเมือก่
่ น้อยลงมาก บางต้นก็ไม่
ได้เพียงรอบเดียว ผลผลิตทีได้
่
ให้ผล แม้วา
่ จะลองใช้วธ
ิ ป
ี ลู กพืชอืนสลั
บ ก็ยงั ไม่ได้ผล ทา
่ านมาขาดทุน ถ้ามีวธ
่ กว่าก็อยากจะลอง
ให้ 2 ปี ทีผ่
ิ ท
ี ที
ี่ ดี
้ การปลู
่
หากย้อนดู ต ัวเลขพืนที
กมะละกอ พบว่าลดลง
่
จาก 150,000 ไร่ในปี พ.ศ. 2546 เหลือตากว่
า 100,000 ไร่ใน
ปี พ.ศ. 2549 ผลผลิตมะละกอรวมของประเทศลดลงกว่าครึง่
่ นจากปี
้
แม้วา
่ ผลผลิตปี พ.ศ. 2549 เพิมขึ
พ.ศ. 2548 แต่เกิด
้ ปลู
่ กไปยังแหล่งใหม่ เช่นทีจั
่ งหวัดจันทบุร ี
จากการย้ายพืนที
นักวิจ ัยได้พยายามหาวิธป
ี ้ องกันกาจัดโดยใช้เทคนิ คและ
วิธก
ี ารต่างๆ หลายวิธ ี เช่น
้ อนทีน
่ าโรคมายังมะละกอ แต่วธ
้
1. การกาจัดเพลียอ่
ิ น
ี ี ใช้
้ อนไม่ได้อาศ ัยอยู ่บนต้นมะละกอ และ
ไม่ได้ผล เพราะเพลียอ่
้
ยังใช้เวลาเพียงเสียววิ
นาทีกท
็ าให้มะละกอเป็ นโรคได้
้ ผลดี
2. การขุดรากถอนโคนทาลายต้นเป็ นโรค วิธน
ี ี ได้
้ ปลู
่ กทีห่
่ างไกลจากแหล่งปลู กมะละกอ หรือมีพช
เฉพาะพืนที
ื
่ องก ันไม่ให้เพลียอ่
้ อนจากนอกพืนที
้ เข้
่ ามา
กาบังเพือป้
้
เท่านัน
3. หาพันธุ ์ต้านทานโรคในธรรมชาติ หรือปร ับปรุงพันธุ ์
่ นวิธท
ต้านทานโดยวิธผ
ี สมเกสร ซึงเป็
ี ดี
ี่ แต่ยงั ไม่สามารถ
่ านทานโรคได้
พัฒนาพันธุ ์ทีต้
่ นวิธส
4. การทามะละกอจีเอ็ม ซึงเป็
ี ุดท้าย และเป็ นที่
ยอมร ับของหลายประเทศ และถือเป็ นความหวังหนึ่งของ
่ าลังประสบปั ญหาการระบาด
เกษตรกรทีก
ของไวร ัสใบด่างจุดวงแหวนอยู ่
้ั
สหร ัฐอเมริกาจึงเป็ นเจ้าพ่อจีเอ็มโอมาตงแต่
่
่ ัด
เริมแรก
โดยมีพช
ื จีเอ็มโอชนิ ดแรก คือ “มะเขือเทศ” ทีต
่
ต่อยีนจนทาให้สุกช้า ส่งไปตีตลาดทัวโลกโดยไม่
เน่ าเสีย
้
่ นเข้าไปแล้วจะเกิดผลอะไรกับ
ตอนนันไม่
มใี ครรู ้ว่าเมือกิ
ร่างกายมนุ ษย ์จากมะเขือเทศ ก็มก
ี ารทาพืชจีเอ็มโออีก
่ั
หลายชนิ ด อาทิ ถวเหลื
อง ข้าวโพด ข้าวเจ้า ข้าวสาลี
่ั
่ ามาทาน้ าเต้าหู ใ้ ห้บรรดาคนที่
มะละกอ ฯลฯ ถวเหลื
องทีน
้ ส่วนใหญ่เป็ นถวเหลื
่ั
ดู แลสุขภาพทานก ันนัน
องจีเอ็มโอ
เพราะไทยต้องนาเข้าจากต่างประเทศต่อมาก็มก
ี ารตด
ั ต่อ
่
ยีนในพืชเกษตรหลายชนิ ด เพิมความต้
านทานต่อโรคและ
แมลง โดยมีพช
ื สาค ัญคือ “ฝ้าย” โดยมีบริษท
ั ยักษ ์ใหญ่ท ี่
เคยขายยาปราบศ ัตรู พช
ื ยาฆ่าแมลง ยาฆ่าหญ้าเป็ น
ผู ผ
้ ลิตรายสาค ัญความขัดแย้งระหว่างผู ท
้ เห็
ี่ นด้วยกับ
้ มีประเด็นสาค ัญ
จีเอ็มโอก ับผู ค
้ ัดค้านในประเทศไทยนัน
่
่ นด้วยในการทาพืชจีเอ็มโอ
เหมือนก ันทัวโลกคื
อ ฝ่ายทีเห็
่ นใหญ่
่
มีฐานทีมั
คอ
ื สหร ัฐอเมริกา โดยมีต ัวละครสาค ัญคือ
นักพันธุวศ
ิ วกรรม บริษท
ั ข้ามชาติเจ้าของสิทธิบต
ั รเมล็ด
่ ดค้านในเรืองนี
่
้ มีฐานทีมั
่ นใหญ่
่
ฝ่ายทีคั
คอ
ื
ยุโรป มีตวั ละครสาคัญคือ เกษตรกรรายย่อย
นักวิทยาศาสตร ์และเอ็นจีโอ โดยมีเหตุผล
คัดค้านสาคัญคือ ความปลอดภัยของอาหาร ไม่
มีใครรู ้ว่าพืชจีเอ็มโอจะส่งผลต่อร่างกายมนุ ษย ์
และจะปนเปื ้ อนในระบบนิ เวศอย่างไร หากมีการ
่ าคัญคือ ผู ไ้ ด้ร ับ
ปล่อยให้ปลู กได้ และทีส
ประโยชน์สูงสุดคือ บรรดาบริษท
ั ยักษ ์ใหญ่ท ี่
ผลิตเมล็ดพันธุ ์พืชจีเอ็มโอ เพราะเกษตรกรต้อง
้
้ กปี และมีราคาสู งขึน
้
ซือเมล็
ดพันธุ ์เหล่านี ทุ
่
เรือยๆองค
์การอาหารและเกษตรกรรมของ
สหประชาชาติได้ประเมินว่า ร ้อยละ 80 ของ
่ ในการเพาะปลู กในประเทศกาลัง
เมล็ดพันธุ ์ทีใช้
้ หากบริษท
้
ด ังนัน
ั ยักษ ์ใหญ่เหล่านี สามารถ
ควบคุมเมล็ดพันธุ ์พืชหลักๆ ของโลก อาทิ ข้าวโพด
่ั
ข้าว ข้าวสาลี ถวเหลื
อง โดยการจดสิทธิบต
ั รเมล็ด
่
พันธุ ์ GMO และส่งเสริมให้เกษตรกรทัวโลกใช้
พช
ื GMO
้
บริษท
ั เหล่านี จะสามารถควบคุ
มการผลิตอาหารของ
โลกมู ลค่าปี ละหลายล้านล้านดอลลาร ์สหร ัฐไว้ได้ไม่
่
่ ้ ามันส่วนใหญ่ของโลกตกอยู ่ในมือ
ต่างจากทีโรงกลั
นน
ของยักษ ์ใหญ่ไม่กบริ
ี ่ ษท
ั จนสามารถควบคุมราคา
่
น้ ามันทัวโลกได้
ตลอดเวลาทุกวันนี ้ ประเทศในสหภาพ
่ GMO เกิน 1%
ยุโรปมีขอ
้ กาหนดให้ตด
ิ ฉลากสินค้าทีมี
้ นมาดู ท ี่
และอนุ ญาตให้นาเข้าเพียงไม่กชนิ
ี่ ดเท่านันหั
บ้านเรามัง่ นายอาชว ์ เตาลานนท ์ รองประธาน
กรรมการเครือเจริญโภคภัณฑ ์ (ซีพ)ี กล่าวว่า ขณะนี ้
จีน อินเดีย มาเลเซีย และสิงคโปร ์ ได้พฒ
ั นาพืช GMO
้ ความรู ้ มีเทคนิ คเป็ นของต ัวเองแล้ว แต่ไทย
ถึงขันมี
ยังคงอยู ่ทเดิ
ี่ มไม่ได้พฒ
ั นาไปไหน หากไม่ปล่อยให้วจ
ิ ัย
่
ขณะทีนายสุ
นทร ศรีทวี อุปนายกสมาคมการค้า
เกษตรอินทรีย ์ไทย เล่าให้ฟังว่า อ ังกฤษได้ปฏิเสธการ
นาเข้ามะละกอจีเอ็มโอจากสหร ัฐ และหันมานาเข้า
่ ข่าวว่าไทยประสบปั ญหา
มะละกอจากไทยแทน แต่เมือมี
มะละกอจีเอ็มโอหลุดรอดออกนอกแปลงทดสอบ ปรากฏ
่ อมะละกอจาก
้
ว่าห้าง TESCO ในอ ังกฤษปฏิเสธการสังซื
ไทย และหากร ัฐบาลเปิ ดทางให้ทดสอบพืชจีเอ็มโอ เกรง
่ นใน
่
ว่าจะทาให้ผูซ
้ อในตลาดโลกขาดความเชื
ื้
อมั
่ ตในไทย และอาจจัด
คุณภาพสินค้าเกษตรอินทรีย ์ทีผลิ
่ ยงปนเปื
่
้ อนจีเอ็มโอ ซึงจะ
่
ให้ไทยอยู ่ในกลุ่มประเทศทีเสี
ส่งผลกระทบต่อการส่งออกสินค้าเกษตรอินทรีย ์ของ
ไทยสอดคล้องกับความเห็นของนายสุรพงษ ์ ปราณ
่
ศิลป์ อธิบดีกรมการข้าว ทีบอกว่
า หากมีข่าวว่าประเทศ
ไทยทดลองปลู กพืชจีเอ็มโอจะทาให้ลูกค้ากว่า 150
ประเทศ โดยเฉพาะในกลุ่มประเทศยุโรป หมดความ
่ นใน
่
เชือมั
่ ้
่
หาทุกวิถท
ี างทีจะพั
ฒนา
พันธุ ์ข้าวเค้าให้ดข
ี น
ึ ้ โดย
ร่วมมือกับ IRRI และชาติอนๆ
ื่
ในการใช้ทุกเทคโนโลยีในการ
พัฒนาพันธุ ์และวิธก
ี าร
้ ผลผลิตสู งขึน
้
เพาะปลู ก ทังให้
้
ต้านทานโรคและแมลงมากขึน
ทนต่อสภาพภู มอ
ิ ากาศที่
แปรปรวน และมีคณ
ุ ภาพของ
เมล็ดข้าวดีขน
ึ ้ รวมถึงมีคณ
ุ ค่า
้ วย
ทางอาหารมากขึนด้
เทคนิ คจีเอ็มโอ ต ัดแต่ง
พันธุกรรม เป็ นเทคนิ คหลัก
่ ลิปปิ นส ์และ
ทางไบโอเทคทีฟิ
หน่ วยงานวิจ ัยทาง
่
เกษตรกรรมทัวโลก
พยายาม
่
ความก้าวหน้าของข้าว GMO ทีเขาพั
ฒนาก ันอยู ่
่ ทงที
้ั เป็
่ นแบบพืนๆ
้ เช่น ทาให้มย
ซึงมี
ี น
ี บีท ี ให้ตา้ นทาน
หนอนแมลงเจาะลาต้น และ ทาให้มย
ี น
ี ต้านยาปราบ
่ ตอ
่
่
วัชพืชไกลโฟเซต (ทีดี
่ สิงแวดล้
อม)และข้าวทีมี
่
โปรตีนไลซีนสู ง ตลอดจนโปรเจ็คอลังการ คือ เปลียนให้
่ นพืช C3 ให้กลายเป็ นพืช C4 ซึงจะมี
่
ข้าวทีเป็
ศ ักยภาพใน
่ นมหาศาล
้
การสังเคราะห ์ด้วยแสงเพิมขึ
สารอาหารใน
่ ัดเจนว่าข้าวเป็ นแหล่งของแคลอรีกจ
ข้าว ซึงช
็ ริง แต่ม ี
่ าเป็ นตามาก
่
สารอาหารต่างๆ ทีจ
ทาให้คนในประเทศเค้า
่
่ เป็ นโรค
ทียากจนและกิ
นแต่ขา้ วโดยมีก ับข้าวคุณภาพตา
ขาดสารอาหารก ันเยอะ (คนไทยเอง ก็ยงั มีปัญหาทุกข
โภชนาการก ันเช่นก ัน ต ัวอย่างเช่น โรคเอ๋อ จากการ
ขาดสารไอโอดีน)ทางฟิ ลิปปิ นส ์จึงได้แนะนาให้ดูขา้ ว
่ นไฮไลต ์ ของทีนั
่ น
้ คือ ข้าวสีทอง ซึงต
่ ัดต่อยีนที่
GMO ทีเป็
ทาให้เกิดเบต้าแคโรทีนจากข้าวโพดมาใส่เอาไว้ ทาให้ได้
่ สารตงต้
้ั นของวิตามินเออยู ่ดว้ ย ช่วยแก้โรคตา
ข้าวทีมี
้ าลังได้ร ับการผสมข้ามกลับมายัง
ข้าวสีทองนี ก
่ ยมบริโภคในแต่ละประเทศทีเข้
่ าร่วมโครงการ
ข้าวทีนิ
่ ได้มไี ทยอยู ่ดว้ ยนะ จากนันก็
้ จะแจกจ่าย
ของ IRRI ซึงไม่
่
โดยทัวไปฟรี
ไม่มก
ี ารเก็บค่าสิทธิบต
ั รใดๆ ผลการ
ทดสอบในภาคสนามก็ได้ผลดี และคาดว่าอย่างเร็วก็
้ จะออกสู
่
้ มาดู
น่ าจะประมาณห้าปี จากนี ที
ท
้ นี
ี่ ก็
่
สถานการณ์ของการเพาะปลู กพืชจีเอ็มโอจากทัวโลก
่ ถงึ กว่า 29 ประเทศทัวโลกที
่
่ กเพือ
่
ในขณะนี ้ ซึงมี
ปลู
่ ทงประเทศในอี
้ั
การค้า ซึงมี
ยู ออสเตรเลีย รวมถึง
สมาชิกน้องใหม่สุด คือ พม่า (นาหน้าเราไปไกลแล้ว
่ จย
เพราะเป็ นพันธุ ์ทีวิ
ั เองด้วย ไม่ใช่แค่นาพันธุ ์เข้ามา
่
้
อย่างเดียว) ขณะทีประเทศก
าลังพัฒนานันเป็
นกลุม
่
่
้
หลักทียอมร
ับเอาเทคโนโลยีนีไปใช้
และทาให้หลาย
่
ประเทศเปลียนจากประเทศผู
น
้ าเข้าทางการเกษตร
กลายเป็ นผู ส
้ ่งออกไปเรียบร ้อยแล้ว (แน่ นอนว่าไม่ใช่
1. ศู นย ์ข้อมู ลเทคโนโลยีชวี ภาพและความปลอดภัยทางชีวภาพ, คุณรู ้จัก “พืชด ัด
แปรพันธุกรรม” ดี แค่ไหน, เอกสารแผ่นพับเผยแพร่ความรู ้ หมายเลข 2
2. นเรศ ดารงช ัย, ผลกระทบของ GMOs ข้อมู ลทางวิทยาศาสตร ์และข้อเสนอแนะ
่ ประชาชนควรทราบ,
่
เชิงนโยบาย, สิงที
โครงการศึกษานโยบายด้าน
เทคโนโลยีชวี ภาพ ศู นย ์พันธุวศ
ิ วกรรมและเทคโนโลยีชวี ภาพแห่งชาติ (BIOTEC),
้
่
พิมพ ์ครงที
ั 2 มีนาคม 2543, 14 หน้า
3. http://www.pharm.chula.ac.th/news/clinic/GMOs.htm
4. http://dnatec.kps.ku.ac.th/newdnatec/service/gmos.cgi?subject=gmos%20bar
5. http://www.nfi.or.th/current-trade-issues/gmo3.html
่
6. กลุ่มวิเคราะห ์สินค้า 13, กองการค้าสินค้าทัวไป
กรมการค้าต่างประเทศ
( 12 พฤศจิกายน 2545 )
7. http://www.doae.go.th/library/html/detail/gmos/ gmos.htm
สอน
น.ส.รสสุคนธ ์
น.ส.ดลยา
่
เอียมคานะ
น.ส.ปิ ยะนุ ช
คลา้
น.ส.อลิสา
เวสาร ัชญาณ
น.ส.ธ ัญญาร ัตน์
นาคสอาด
น.ส.ชลพินท ์
ทองย่น
ชู
ศรี