4.แนวทางการประเมินคลินิกไร้พุง - ศูนย์อนามัยที่ 3 ชลบุรี

Download Report

Transcript 4.แนวทางการประเมินคลินิกไร้พุง - ศูนย์อนามัยที่ 3 ชลบุรี

แนวทางการประเมิน
คลินิกไร้พงุ (Diet & Physical Activity clinic : DPAC)
เพ็ญศรี กองสัมฤทธิ์. วท.ด.(วิจยั พฤติกรรมศาสตร์ประย ุกต์)
ศูนย์อนามัยที่ 3 กรมอนามัย กระทรวงสาธารณส ุข
[email protected]
089 0227470
การประช ุมเชิงปฏิบตั ิการ เรือ่ ง การพัฒนาศักยภาพผูป้ ระเมินองค์กร/ช ุมชนต้นแบบไร้พงุ และคลินิกไร้พงุ
วันที่ 7 มิถ ุนายน 2556 ณ ห้องประช ุมประกายพฤกษ์ ศูนย์อนามัยที่
การแก้ปัญหาโรคอ้วนคนไทย (คนไทยไร้พงุ )
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม มี 2 ระดับ
1. ระดับช ุมชน (Community approach) ใช้กบ
ั ประชาชนกลมุ่ ปกติ หรือ
กลมุ่ เสี่ยง เรียกว่า ช ุมชนปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ได้แก่
องค์กร/ช ุมชนต้นแบบไร้พงุ (กรมอนามัย)
 ช ุมชนลดเสี่ยงลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (กรมควบค ุมโรค
 หมู่บา้ นจัดการส ุขภาพ (กรมสนับสน ุนบริการส ุขภาพ)
2. ระดับบ ุคคลหรือรายบ ุคคล (Individual approach) ใช้กบ
ั ประชาชน
กลมุ่ เสี่ยงสูง หรือ กลมุ่ ป่วยที่ควบค ุมไม่ได้ เรียกว่า คลินิกไร้พงุ
(Diet & Physical Activity clinic : DPAC)
ผลการเยีย่ ม พัฒนา และประเมินผลการดาเนินงาน
คลินิกไร้พงุ (ปี พ.ศ.2555)
ประเภทของโรงพยาบาล ผลการเยีย่ มพัฒนา ติดตาม และประเมินผลการ
ดาเนินงาน
ผ่านเกณฑ์การประเมิน
เยีย่ มเพื่อพัฒนา
1. รพ.ท, รพ.ศ
-
5 แห่ ง
2. รพ.ช
-
9 แห่ง
3. รพ.สต.
18 แห่ง
26 แห่ง
4. รพ.เอกชน
1 แห่ง
-
19 แห่ง
40 แห่ง
รวม
ปัญหาและอ ุปสรรค
1. ศักยภาพของผูใ้ ห้บริการในคลินิกไร้พงุ (การบูรณา
การความรเ้ ู กี่ยวกับโรค การบริโภคอาหาร การใช้
แรงการที่เหมาะสมในแต่ละอาชีพ เทคนิคการ
ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม)
2. ความชัดเจนในขอบเขตการให้บริการของคลินิกไร้
พุงของโรงพยาบาลแต่ละระดับ
3. ระบบการส่งต่อของผูม้ ารับบริการ
ข้อเสนอแนะ
1. กาหนดเป็นนโยบายให้สถานบริการท ุกแห่งจัดตัง้ และ
ขอให้ดาเนินการอย่างจริงจัง
2. การกาหนดบทบาทหน้าที่ของการให้บริการชัดเจน
ระหว่างคลินิกไร้พงุ ของ รพ.แต่ละระดับ และระบบการ
ส่งต่อด้วย(บอร์ด NCD กาหนดขอบเขตของการ
ให้บริการและใช้ทงั้ เขต กาลังดาเนินการ
3. พัฒนาศักยภาพผูร้ บั ผิดชอบระดับจังหวัด สสอ. ใน
การประเมินคลินิกไร้พงุ ทาวันที่ 7 มิถ ุนายน 2556
4. พัฒนาศักยภาพให้กบั ผูใ้ ห้บริการในคลินิกไร้พงุ
สิ่งที่ผป้ ู ระเมินต้องร ้ ู ในการประเมินคลินิกไร้พงุ
1. เกณฑ์การแบ่งกลมุ่ เสี่ยงต่างๆ และผูป้ ่ วยโรคเบาหวาน
และความดันโลหิตสูงที่ควบค ุมได้และที่ควบค ุมไม่ได้
2. กลมุ่ เป้าหมายและเป้าหมายของการปรับเปลี่ยน
พฤติกรรม
3. แนวคิด ทฤษฎีอะไร ที่ใช้ในคลินิกไร้พงุ
4. เทคนิคการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
5. คลินิกไร้พงุ
6. เกณฑ์การประเมิน “คลินิกไร้พงุ ”
1.เกณฑ์การแบ่งกลมุ่ เสี่ยงต่างๆ
และผูป้ ่ วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
ที่ควบค ุมได้และที่ควบค ุมไม่ได้
Approach
กลมุ่ ประชาชนทัว่ ไป
1. คัดกรองเบื้องต้นโดย อสม. (6 ข้อ)
2. คัดกรองโดย จนท.สาธารณส ุข
กลมุ่ ปกติ
กลมุ่ เสี่ยงสูง
-FCG < 100
-BP < 120/80
-FCG 100 - 125
-BP 120/80 – 139/89
3อ. 2ส.
- ลงทะเบียน
- 3อ. 2ส. เข้มข้น
- DPAC
กลมุ่ ป่วย
-FCG > 126
-BP >140/90
- ลงทะเบียน
- 3อ. 2ส.
- DPAC
- รักษาด ู HbA1C
- ค้นหาภาวะแทรกซ้อน
- ถ่ายภาพจอประสาทตา
- microalbuminuria
- ตรวจเท้า
กลมุ่ ป่วยมีภาวะแทรกซ้อน
- ตา ไต ตีน
- ลงทะเบียน
- 3อ. 2ส.
- DPAC
- รักษาโรคและ
ภาวะแทรกซ้อน
การคัดกรองส ุขภาพ
ของ สานักงานสาธารณส ุขจังหวัดปราจีนบ ุรี
การคัดกรอง
ประชาชน
ขาว
รอบ ชาย 90 ซม.
เอว หญิง80 ซม.
BMI
BP
FBS
18.5–22.9 กก./ม2
120/80 mmHg
100 mg/dl
เทา
ดา
90 – 102 ซม.
80 – 88 ซม.
มากกว่า 102 ซม.
มากกว่า 88 ซม.
23.0-24.9 กก./ม2  25 กก./ม2
120/80-139/89
100-125 mg/dl
 140/90 mmHg
 126 mg/dl
การแบ่งประเภทผูป้ ่ วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
ประเภท
ขาว
เทา
ดา
โรคเบาหวาน
โรคความดันโลหิตสูง
-FBS 70-130 mg/dl (DTX 65-118 -BP  130/80 mmHg
mg/dl) 3 ครัง้ ติดต่อกัน
3 ครัง้ ติดต่อกัน
- HbA1C  7%
-BP Systolic 130-179mmHg
-FBS 130 - 200 mg/dl (DTX
118-180 mg/dl) 3 ครัง้ ติดต่อกัน
Diastolic 81-109 mmHg
- HbA1C 7-8%
3 ครัง้ ติดต่อกัน
-FBS 200 mg/dl (DTX 180
mg/dl) 3 ครัง้ ติดต่อกัน
- HbA1C  8%
-BP  180/110 mmHg
3 ครัง้ ติดต่อกัน
VICHAI MODEL (ส.ค.2555)
ผูป้ ่ วยเบาหวาน
ผูป้ ่ วยความดันโลหิตสูง (mmHg)
ขาว 100 mg/dl
ขาว 120/80
เขียวเข้ม 100 mg/dl (กินยาควบค ุม) เขียวเข้ม 120/80(กินยาควบค ุม)
เขียวอ่อน 100-125 mg/dl
เขียวอ่อน 120-139/80-89
เหลือง HbA1C 7, FBS 126-154
เหลือง
140-159/90-99
ส้ม HbA1C 7-7.9, FBS 155-182
ส้ม 160-179/100-109
แดง HbA1C 8, FBS  183 mg/dl
แดง 180/110
สร ุป การคัดกรองประชาชนและการจัดการ
ประเภท
รอบเอว
(ซม.)
ปกติ / ขาว หญิง 80
ชาย  90
เสี่ยง / เทา หญิง 80-88
ชาย 90-102
เสี่ยงสูง / หญิง 88
ดา
ชาย 102
BMI
(กก./ม2)
FBS
(mg/dl)
18.5-22.9  100
BP
(mmHg)
 120/80
การด ูแล/
การ
จัดบริการ
-ช ุมชน
ปรับเปลี่ยน
พฤติกรรม
23.0-24.9 100-125 SBP120-ช ุมชน
ปรับเปลี่ยน
(100-118, 139
119-125) DBP 80-89 พฤติกรรม
-DPAC
 25
 126
140/90 -DPAC
2. กลมุ่ เป้าหมาย
และเป้าหมายของการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
กลมุ่ เป้าหมาย
1. ประชาชนกลมุ่ เสี่ยงสูงเบาหวานและเสี่ยงสูงความดัน
โลหิตสูง
2. ผูป้ ่ วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงรายใหม่
3. ผูป้ ่ วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงที่ควบค ุมไม่ได้
4. อ้วน (BMI  25 กก./ม2)
5. อ้วนลงพุงที่เป็นกลมุ่ เสี่ยงสูง (รอบเอว ชาย102 ซม.
และหญิง 88 ซม.)
กลมุ่ เป้าหมาย ได้จากการคัดกรองประชาชน และทะเบียนการรักษาในรพ.สต.
หรือ รพ.ต่างๆ
เป้าหมาย การให้คาปรึกษาในคลินิกไร้พงุ
• ผูป้ ่ วยเบาหวานที่ควบค ุมไม่ได้
ควบค ุมได้
(HbA1C น้อยกว่าร้อยละ 7 หรือระดับ
FBS 70 -  130 mg/dl. 3 ครัง้ ส ุดท้ายติดต่อกัน)
• ผูป้ ่ วยความดันโลหิตสูงที่ควบค ุมไม่ได้ ควบค ุมได้
(ผูป้ ่ วยความดันโลหิตสูงมีระดับ BP 140/90 mmHg
อย่างน้อย 3 ครัง้ ติดต่อกัน)
เป้าหมาย การให้คาปรึกษาในคลินิกไร้พงุ (ต่อ)
• กลมุ่ เสี่ยงสูงเบาหวาน (FPG or FCG =100-125 mg/dl.
กลายเป็น
– ไม่ให้กลายเป็นโรค หรือ อยูเ่ หมือนเดิม หรือ
– กลมุ่ ปกติ (FPG or FCG 100 mg/dl. )
• กลมุ่ เสี่ยงสูงความดันโลหิตสูง (SBP 120-139 mmHg
และ/หรือ DBP 80-89 mmHg) กลายเป็น
– ไม่ให้กลายเป็นโรค หรือ อยูเ่ หมือนเดิม หรือ
– กลมุ่ ปกติ (BP  120/80 mmHg)
(Fasting Plasma Glucose : FPG, Fasting Capillary blood Glucose : FCG)
เป้าหมาย การให้คาปรึกษาในคลินิกไร้พงุ (ต่อ)
อ้วนอันตราย (BMI 30 กก./ม2)
อ้วน (BMI 25.0-29.9 กก./ม2)
ท้วม (BMI 23.0-24.9 กก./ม2)
ปกติ (BMI 18.5-22.9 กก./ม2)
(หลักเกณฑ์ของ International Obesity Task Force : IOTF)
เป้าหมาย การให้คาปรึกษาในคลินิกไร้พงุ (ต่อ)
ผูช้ าย
ผูห้ ญิง
เสี่ยงสูง (รอบเอว 102 ซม.)
เสี่ยงสูง (รอบเอว 88 ซม.)
เสี่ยง (รอบเอว 90-102 ซม.)
เสี่ยง (รอบเอว 80-88 ซม.)
ปกติ (น้อยกว่า 90 ซม.)
ปกติ (น้อยกว่า 80 ซม.)
กัลยา กิจบ ุญชู. ข้อแนะนาการออกกาลังกายสาหรับคนอ้วน.
สร ุป กลมุ่ เป้าหมายที่มารับบริการในคลินิกไร้พงุ
รพ.สต.
1. อ้วนลงพุงมาก
หญิง 88 ซม.
ชาย 102 ซม.
2. อ้วนอันตราย
BMI  30 กก./ม2
3. Pre DM
100-125 mg/dl
4. Pre HT
SBP120-139 mmHg
DBP 80-89 mmHg
รพ.ช
ปราจีนบ ุรี โมเดล
DM -FBS 130 - 200 mg/dl
(DTX 118-180 mg/dl) 3 ครัง้
ติดต่อกัน
- HbA1C 7-8%
HT -SBP 130-179mmHg
DBP 81-109 mmHg 3 ครัง้
ติดต่อกัน
VICHAI MODEL DM - HbA1C
7-7.9 ,FBS 155-182 mg/dl
HT -BP160-179/100-109
mmHg
รพ.ท /รพ.ศ
ปราจีนบ ุรี โมเดล
DM -FBS 200 mg/dl (DTX
180 mg/dl) 3 ครัง้
ติดต่อกัน
-HbA1C  8%
HT - BP  180/110 mmHg
3 ครัง้ ติดต่อกัน
VICHAI MODEL
DM - HbA1C 8,
FBS  183 mg/dl
HT -BP 180/110 mmHg
3.แนวคิด ทฤษฎีอะไร ที่ใช้ในคลินิกไร้พงุ
ทฤษฎี ขัน้ ตอนการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม
(Stages of change theory)
• Prochaska and DiClimente. 1983
• Transtheoretical Model : TTM
1.
2.
3.
4.
5.
ขัน้ ไม่สนใจปัญหา (Pre-contemplation)
ขัน้ ลังเลใจ (Contemplation)
ขัน้ ตัดสินใจและเตรียมตัว (Preparation)
ขัน้ ลงมือปฏิบตั ิ (Action)
ขัน้ กระทาต่อเนื่อง (Maintenance)
ขัน้ ตอนของการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม
การประย ุกต์ทฤษฎีขนั้ ตอนการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม
ใน คลินิกไร้พงุ
ขัน้ ตอนพฤติกรรม
เป้าหมาย
การให้คาแนะนา
ระยะเวลา
ขัน้ ที่ 1 ไม่สนใจปัญหา สนใจและตระหนักปัญหา
ของตนเอง
-ให้ความรู้ ความเข้าใจ
-ไม่ช้ ีนา หรือขูใ่ ห้กลัว
-
ขัน้ ที่ 2 ลังเลใจ
วางแผนและลงมือปฏิบตั ิ
ภายในระยะเวลาใกล้
-ข้อดี-ข้อเสียของพฤติกรรมเก่าใหม่
- ให้ขอ้ มูลที่ถ ูกต้อง
-
ขัน้ ที่ 3 ตัดสินใจและ
เตรียมตัว
ส่งเสริมในลงมือทา
พฤติกรรมที่พึงประสงค์
-ทางเลือก
-ส่งเสริมศักยภาพ
0 - 3 เดือน
ขัน้ ที่ 4 ลงมือปฏิบตั ิ
ลงมือทาพฤติกรรมที่พึง
ประสงค์อย่างยัง่ ยืน
- ส่งเสริมให้ลงมือทาอย่างต่อเนื่อง
- ช่วยขจัดปัญหาและให้กาลังใจ
3 - 6 เดือน
- ให้กาลังใจ
- การจัดการชีวิตประจาวันที่ดี
มากกว่า 6
เดือน
ขัน้ ที่ 5 กระทาต่อเนื่อง ไม่กลับไปมีพฤติกรรมที่เป็น
ปัญหา
4. เทคนิคการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
วิธีการปรับพฤติกรรม
1. เน้นที่พฤติกรรมเฉพาะเจาะจง เฉพาะกลมุ่ เสี่ยง
2. เปลีย่ นแปลงพฤติกรรมของบ ุคคลโดยผ่านกระบวนการ
เรียนร ้ ู
3. ต้องมีการกาหนดพฤติกรรมเป้าหมายที่ชดั เจน
4. ต้องคานึงถึงความแตกต่างระหว่างบ ุคคล
5. จะเน้นที่เหต ุการณ์ที่เกิดขึ้นในปัจจุบันเท่านัน้
6. การปรับพฤติกรรมสามารถใช้ได้อย่างเหมาะสมตาม
ลักษณะปัญหาของแต่ละบ ุคคล
หลักการบริโภคอาหาร เพื่อควบค ุมพลังงาน
1. กินอาหารครบ 3 มื้อ ต้องไม่งดอาหารมื้อใดมื้อหนึ่ง
2. ลดปริมาณอาหารท ุกมื้อที่กิน เน้นกินอาหารจานเดียว
(ไม่ตกั เพิ่ม)
3. เลือกกินอาหารพลังงานต่า
4. กินผัก ผลไม้ในมื้ออาหารให้มากขึ้น
5. เคี้ยวอาหารช้าๆ
6. มีความอดทนถ้ารส้ ู ึกหิว ทัง้ ๆที่เพิ่งกินไป
เปรียบเทียบการปรับพฤติกรรมในระดับช ุมชนและระดับบ ุคคล
ระดับช ุมชน
(ช ุมชนปรับเปลี่ยนพฤติกรรม)
1. เน้น 3 อ.
2. กลมุ่ ขนาดใหญ่ (30 หรือมากกว่า)
3. เน้นการมีสว่ นร่วมของภาคี
เครือข่าย
4. ใช้แนวคิด CBI, A-I-C, SRM
5. การจัดการสิ่งแวดล้อมทาง
กายภาพและสังคม
6. มีนโยบายหรือมาตาการทางสังคม
ระดับบ ุคคล
(คลินิกไร้พงุ )
1.
2.
3.
4.
เน้น 3 อ.
ผูใ้ ห้บริการ กับ ผูร้ บั บริการ
เน้นกลมุ่ เสี่ยงสูง กลมุ่ โรควิถีชีวิต
ใช้แนวคิดขัน้ ตอนการเปลี่ยนแปลง
พฤติกรรม
5. การเปลี่ยนแปลงตนเองไปสู่
ขัน้ ตอนที่สงู กว่าจนได้พฤติกรรมที่
พึงประสงค์
6. มีเป้าหมายของการปรับ
พฤติกรรมที่ชดั เจน
5. คลินิกไร้พงุ
(Diet & Physical Activity clinic : DPAC)
การจัดตัง้ และดาเนินการ “คลินิกไร้พงุ ”
เพื่อแก้ปัญหารายบ ุคคลในกรณีที่องค์กร/ช ุมชน
ดาเนินการปรับพฤติกรรมแล้วไม่สามารถ
แก้ปัญหาในกลมุ่ เสี่ยงสูง และกลมุ่ ป่วยที่
ไม่สามารถควบค ุมได้
คลินิกไร้พงุ
(Diet & Physical Activity Clinic : DPAC)
• คลินิกที่ดาเนินการเพื่อให้เกิดกระบวนการ
ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารและมีการ
จัดกิจกรรมการเคลื่อนไหวออกแรง/ออกกาลัง
พร้อมทัง้ สนับสน ุนให้เกิดผลการปฏิบตั ิตามแนวทาง
มาตรฐานที่กาหนดไว้แต่ละกลมุ่ วัยอย่างถ ูกต้อง
สนับสน ุนให้เกิดความยัง่ ยืนในการปฏิบตั ิ
ที่มา : คูม
่ ือการดาเนินงานในคลินิก DPAC สาหรับเจ้าหน้าที่สาธารณส ุข
แนวทางการจัดตัง้ คลินิกไร้พงุ
รพ.สต.
ทีมทางาน
-พยาบาลวิชาชีพ / นวสธ.
-จพง. สาธารณสุข
รพ.ช.
ทีมทางาน
- แพทย์
-พยาบาลวิชาชีพ / นวสธ.
-นักโภชนากร (ถ้ามี)
บทบาทหน้าที่
บทบาทหน้าที่
-ส่งเสริมและป้องกัน
-ส่งเสริมและป้องกัน
-ฟื้ นฟูสภาพ
-การรักษา
เครือ่ งมือ/อ ุปกรณ์
เครือ่ งมือ/อ ุปกรณ์(เพิ่ม)
-เครื่องชัง่ นา้ หนัก,วัดส่วนสูง -อุปกรณ์ทดสอบสมรรถภาพทาง
กาย
-สายวัดรอบเอว
-แบบจาลองธงโภชนาการ -ชุดนิทรรศการเรื่องอาหารและการ
ออกกาลังกาย
หรือภาพธงโภชนาการ
-Food Model (ถ้ามี)
รพ.ท. / รพ.ศ.
ทีมทางาน
- แพทย์
-พยาบาลวิชาชีพ / นวสธ.
-นักโภชนากรหรือนักโภชนาการ
บทบาทหน้าที่
- การรักษา
-ส่งเสริมและป้องกัน
เครือ่ งมือ/อ ุปกรณ์(เพิ่ม)
-เครื่องตรวจวัดวิเคราะห์
องค์ประกอบของร่างกาย
(In body) (ถ้ามี)
แนวทางในการให้คาปรึกษา ใน คลินิกไร้พงุ
1.
2.
3.
4.
5.
วินิจฉัยสาเหต ุของปัญหาที่แท้จริงของผูร้ บั บริการให้ได้
พฤติกรรมที่เป็นสาเหต ุที่ทาให้เกิดปัญหา (มีอะไรบ้าง)
เป้าหมายของการเปลี่ยนแปลง (แต่ละปัญหา)
กิจกรรมที่ผร้ ู บั บริการเลือกที่จะปฏิบตั ิ (ในแต่ละครัง้ )
การนัดเพื่อติดตามและประเมินผล (ในแต่ละครัง้ )
สิ่งสาคัญ คือ ต้องประเมินพฤติกรรมของผูม้ ารับบริการนัน้
ว่าอยูใ่ นขัน้ ตอนใด หรือทาอะไรได้บา้ ง
การสร ุปผลการดาเนินงาน ใน คลินิกไร้พงุ
1. กลมุ่ ที่ไม่สนใจปัญหา/โรคที่ตนเองเป็น มีกี่คน เป็นกลมุ่ เสี่ยง
หรือเป็นโรคอะไร
2. กลมุ่ ที่ลงั เลใจ มีกี่คน เป็นกลมุ่ เสี่ยง หรือโรคอะไร
3. กลมุ่ ที่อยูใ่ นขัน้ ตัดสินใจและเตรียมตัว มีกี่คน เป็นกลมุ่ เสี่ยง
หรือโรคอะไร
4. กลมุ่ ที่อยูใ่ นขัน้ ลงมือปฏิบตั ิ มีกี่คน เป็นกลมุ่ เสี่ยง หรือโรค
อะไร
5. กลมุ่ ที่กระทาที่ดีอย่างต่อเนื่อง มีกี่คน เป็นกลมุ่ เสี่ยง หรือโรค
อะไร (น้าหนักลด รอบเอวลด กลมุ่ เสี่ยงไม่เป็นโรค กลมุ่ ป่วย
ควบค ุมได้)
6. เกณฑ์การประเมินคลินิกไร้พงุ
เกณฑ์การประเมินหน่วยงานที่ดาเนินงานคลินิกไร้พงุ (DPAC)
ขัน้ ตอน
ประเด็นการประเมิน
1.
ด้านการบริหารจัดการ (4 คะแนน)
1. มีการกาหนดนโยบาย และแผนการดาเนินงาน
2. มีคณะกรรมการดาเนินงาน
3. มีสถานที่ดาเนินงาน
- สถานที่ , ป้าย “คลินิกไร้พงุ ”, มุมให้ความรู้
4. มีการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์
ด้านการให้บริการ (2 คะแนน)
1. มีกิจกรรม 3 อ.
2. มีผป้ ู ฏิบตั ิงานอย่างอย่างชัดเจนอย่างน้อย 1 คน
ด้านการติดตาม ประเมินผล (2 คะแนน)
1. มีการรายงานผลการดาเนินงาน (รายบ ุคคล. สร ุป)
2. มีการวิเคราะห์ปัญหา อ ุปสรรค และแนวทางการพัฒนา
งาน(การติดตาม ประเมินผล และพัฒนาการบริการ)
2
3
มี
ไม่มี
เกณฑ์การประเมินหน่วยงานที่ดาเนินงานคลินิกไร้พงุ (DPAC) ใหม่
ขัน้ ตอน
ประเด็นการประเมิน
1.
ด้านการบริหารจัดการ (20 คะแนน)
1.1 มีสถานที่ดาเนินงาน ได้แก่ สถานที่/มุมให้บริการ มุมให้
ความร/้ ู เอกสารความรูด้ า้ นอาหารและการใช้แรงกาย มี
ป้าย “คลินิกไร้พงุ ”
1.2 มีผป้ ู ฏิบตั ิงานอย่างชัดเจนอย่างน้อย 1 คน
1.3 มีการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ (การให้บริการในคลินิก)
2
ด้านการให้บริการ (50 คะแนน)
มีกิจกรรมการให้บริการที่ชดั เจน (โดยเฉพาะเรือ่ งการบริโภค
อาหารและการใช้แรงกาย)
ด้านการติดตาม ประเมินผล (30 คะแนน)
3.1 มีการรายงานผลการดาเนินงาน (สร ุปรายบ ุคคล 5-10 คน
3.2 มีการสร ุปผลการดาเนินงาน
3.3 มีการวิเคราะห์ปัญหา อ ุปสรรค และแนวทางการพัฒนางาน
3
มี
ไม่มี
1. การบริหารจัดการ (20 คะแนน)
รายละเอียด
1.1 มีสถานที่ดาเนินงาน
- สถานที่/มุมให้บริการ
- มุมให้ความรู/้ เอกสาร
- มีป้าย “คลินกิ ไร้พงุ ”
เกณฑ์การประเมิน
หลักฐาน
ภาพถ่าย /
รูปภาพ
1.2 มีผปู้ ฏิบตั งิ านอย่าง
ชัดเจนอย่างน้อย 1 คน
- มีมมุ หรือห้องที่ให้บริการ
- มีการเปิ ดให้บริการอย่างน้อย
สัปดาห์ละ 1 วัน- มุมให้ความรู/้ เอกสารความรูด้ า้ น
อาหารและการใช้แรงกาย
- มีผรู้ บั ผิดชอบที่สามารถจะอธิบาย
กระบวนการทางานทัง้ หมดได้
1.3 มีการเผยแพร่
ประชาสัมพันธ์ (การ
ให้บริการในคลินกิ )
- มีการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์
- คาว่า “คลินกิ ไร้พงุ ” จะต้องปรากฏ
ในตารางปฏิบตั งิ าน
รายงานการ
เผยแพร่
ประชาสัมพันธ์
ชือ่ -นามสกุล
ผูร้ บั ผิดชอบ
2. ด้านการให้บริการ (50 คะแนน)
รายละเอียด
เกณฑ์การประเมิน
หลักฐาน
กิจกรรมการให้บริการ
ที่ชดั เจน (โดยเฉพาะ
เรื่องการบริโภค
อาหารและการใช้
แรงกาย)
- มีเกณฑ์ในการคัดเลือกผูม้ ารับบริการ
- สรุปปั ญหาที่แท้จริงของแต่ละคนได้
- การวิเคราะห์สาเหตุที่แท้จริงของแต่ละ
ปั ญหา
- มีการกาหนดเป้าในการปรับเปลี่ยน
พฤติกรรม
- เลือกกิจกรรมที่สามารถบรรลุเป้าหมายได้
(ทัง้ การบริโภคอาหารและการใช้แรงกาย)
- ระยะเวลาในการติดตามและประเมินผล
เหมาะสมกับแต่ละปั ญ
-พูดคุยกับ
ผูร้ บั ผิดชอบ
-Hos XP, OPD
Card
3. การติดตาม ประเมินผล (-0 คะแนน)
รายละเอียด
3.1 มีการ
รายงานผลการ
ดาเนินงาน
(สร ุปรายบ ุคคล
5-10 คน)
เกณฑ์การประเมิน
หลักฐาน
- กระบวนการและความก้าวหน้าในการ
วิเคราะห์ปัญหา สาเหต ุที่แท้จริงของปัญหา
เป้าหมาย กิจกรรมในการบรรล ุเป้าหมาย
และระยะเวลาในการติดตามและประเมินผล
แต่ละปัญหา (ของแต่ละคนที่เป็นตัวอย่าง
5-10 คน)
-พูดค ุยกับ
ผูร้ บั ผิดชอบ
-Hos XP,
OPD Card
3. การติดตาม ประเมินผล (30 คะแนน)
รายละเอียด
3.2 การสรุปผล
การดาเนินงาน
เกณฑ์การประเมิน
การสรุปผลการดาเนินงาน (1 ปี ที่ผา่ นมา) ได้
1. กลุม่ ที่ไม่สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
2. กลุม่ ที่กาลังปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
3. กลุม่ ที่สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมได้และ
สามารถลดปั ญหาได้(เป็ นกลุม่ เสี่ยงสูง กลุม่
ป่ วยอะไรบ้าง)
3.3 มีการวิเคราะห์ การสรุปผลการดาเนินงาน (1 ปี ที่ผา่ นมา)
ปั ญหา อุปสรรค 1. ปั ญหา อุปสรรค และแนวทางที่ใช้ในการ
และแนวทางการ แก้ปัญหา
พัฒนางาน
2. ข้อเสนอแนะสาหรับการปฏิบตั งิ าน
หลักฐาน
-สรุปผลการ
ดาเนินงาน
-สรุปผลการ
ดาเนินงาน
ผูป้ ระเมินรับรองคลินิกไร้พงุ (ปี 2556)
1. โรงพยาบาลศ ูนย์ โรงพยาบาลทัว่ ไป และโรงพยาบาลช ุมชน ผู้
ประเมินรับรองจานวน 3 คน ประกอบด้วย เจ้าหน้าที่ของศนู ย์
อนามัยที่ 3 ผูร้ บั ผิดชอบระดับจังหวัด และสานักงาน
สาธารณส ุขอาเภอ
2. โรงพยาบาลส่งเสริมส ุขภาพตาบล ผูป้ ระเมินรับรองจานวน 3 คน
ประกอบด้วย ผูร้ บั ผิดชอบระดับจังหวัด สานักงานสาธารณส ุข
อาเภอ และผูอ้ านวยการของ รพ.สต.ที่ไม่ได้ถ ูกประเมิน
การเยีย่ ม พัฒนา และประเมินผลการดาเนินงาน
1. ฟังอย่างตัง้ ใจ ไม่ถามในสิ่งที่ผถ้ ู ูกเยีย่ มเล่าให้ฟัง ยกเว้น
จะถามเพื่อต้องการยืนยันอีกครัง้
2. เวลาถามให้เรียงลาดับเรื่องก่อน – หลัง
3. ถ้ามีผเ้ ู ยี่ยมหลายๆคน ถ้าจะถามให้ถามต่อจากเรื่องที่คน
เดิมถามอยู่
4. ส ุดท้ายต้องสร ุปร่วมกันท ุกครัง้ ว่า อะไรดีแล้ว อะไรที่ควร
จะพัฒนาเพิ่มขึ้น และผลการเยีย่ มครัง้ นี้เป็นอย่างไร
จงเชือ่ มัน่ และทำให้เป็ นจริง
นพ.โสภณ เมฆธน ผูต้ รวจราชการกระทรวงสาธารณสุข
43