แนวทางการประเมิน องค์กร/ช ุมชนต้นแบบไร้พงุ เพ็ญศรี กองสัมฤทธิ์, วท.ด.(วิจยั พฤติกรรมศาสตร์ประย ุกต์) ศ ูนย์อนามัยที่ 3 กรมอนามัย กระทรวงสาธารณส ุข [email protected] การประช ุมเชิงปฏิบตั ิการ เรือ่ ง การพัฒนาศักยภาพผูป้ ระเมินองค์กร/ช ุมชนต้นแบบไร้พงุ และคลินิกไร้พ ุง วันที่

Download Report

Transcript แนวทางการประเมิน องค์กร/ช ุมชนต้นแบบไร้พงุ เพ็ญศรี กองสัมฤทธิ์, วท.ด.(วิจยั พฤติกรรมศาสตร์ประย ุกต์) ศ ูนย์อนามัยที่ 3 กรมอนามัย กระทรวงสาธารณส ุข [email protected] การประช ุมเชิงปฏิบตั ิการ เรือ่ ง การพัฒนาศักยภาพผูป้ ระเมินองค์กร/ช ุมชนต้นแบบไร้พงุ และคลินิกไร้พ ุง วันที่

แนวทางการประเมิน
องค์กร/ช ุมชนต้นแบบไร้พงุ
เพ็ญศรี กองสัมฤทธิ์, วท.ด.(วิจยั พฤติกรรมศาสตร์ประย ุกต์)
ศ ูนย์อนามัยที่ 3 กรมอนามัย กระทรวงสาธารณส ุข
[email protected]
การประช ุมเชิงปฏิบตั ิการ เรือ่ ง การพัฒนาศักยภาพผูป้ ระเมินองค์กร/ช ุมชนต้นแบบไร้พงุ และคลินิกไร้พ ุง
วันที่ 7 มิถ ุนายน 2556 ณ ห้องประช ุมประกายพฤกษ์ ศูนย์อนามัยที่ 3 จังหวัดชลบ ุรี
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมมี 2 ระดับ
1. ระดับช ุมชน หรือ ช ุมชนปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
(Community approach)
2. ระดับบ ุคคล หรือ รายบ ุคคล (Individual
approach)
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมระดับช ุมชน
(Community approach)
•
•
•
•
•
•
•
•
องค์กร/ช ุมชนต้นแบบไร้พงุ
ช ุมชนลดเสี่ยงลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
หมูบ่ า้ นจัดการส ุขภาพ
ตาบลจัดการส ุขภาวะ
อาเภอควบค ุมโรคเข้มแข็ง
เมืองส ุขภาพดี 80 ปี ยังแจ๋ว
อาเภอส ุขภาพดี 80 ปี ยังแจ๋ว
เครือข่ายส ุขภาพอาเภอ (Health District System : DHS)
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมรายบ ุคคล
• คลินิกไร้พงุ (Diet & Physical Activity clinic : DPAC)
• DPAC Plush ใน Fit for Life
• ศูนย์ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมส ุขภาพ (Health
Coaching Center)
จากการเยีย่ มพัฒนา ติดตาม และประเมินรับรอง
องค์กร/ช ุมชนต้นแบบไร้พงุ
ช ุมชน/หมูบ่ า้ นลดหวาน มัน เค็ม
•
•
•
•
•
•
•
•
การนิยามคาว่า องค์กร / ช ุมชน ไม่ชดั เจน
ติดคาว่า ต้นแบบ จึงเลือกหมู่เดียว
การกาหนดพื้นที่และประชาชนกลมุ่ เป้าหมาย ไม่ชดั เจน
ไม่ความครอบคล ุมของการวัดรอบเอวและการแปลผล
ไม่มีการวิเคราะห์ปัญหาและวางแผนการแก้ปัญหา
การดาเนินการกับกลมุ่ ปกติและกลมุ่ เสี่ยง ทาเหมือนๆกัน
การจัดการกับสิ่งแวดล้อม ไม่ชดั เจน
การกาหนดนโยบายหรือมาตรการทางสังคม ยังไม่มี
การดาเนินงาน ช ุมชนปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ผา่ นมา
1. ทาเพียงหมู่ หรือ ช ุมชนเดียว
2. เน้นกลมุ่ เสี่ยง หรือ กลมุ่ ป่วย (นามาปรับพฤติกรรม) ไม่มีการ
ติดตามประเมินผลอย่างจริงจัง
3. ทาไม่ต่อเนื่อง คือ ทาเพียง 1 ปี หรือตามตัวชี้วดั
4. ยังไม่มีการวิเคราะห์ปัญหาของช ุมชน หรือพฤติกรรมที่เป็นสาเหต ุ
ที่ของปัญหา (ใช้ขอ้ มูลจากการคัดกรองไปดาเนินการน้อย)
5. ภาคีเข้ามามีสว่ นร่วมน้อย หรือที่เข้ามายังแสดงบทบาทหน้าที่ยงั
ไม่เต็มที่
6. ยังไม่มีการจัดการด้านสิ่งแวดล้อม
7. ยังไม่มีการกาหนดเป็นข้อตกลง หรือ มาตรการทางสังคม หรือ
นโยบายสาธารณของช ุมชนในการแก้ปัญหาร่วมกัน
แนวทางการดาเนินงาน ช ุมชนปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
1. ทาท ุกหมู่ที่รบั ผิดชอบ (ที่ รพ.สต.รับผิดชอบ)
2. วิเคราะห์สถานการณ์และบริบทของตาบลที่รบั ผิดชอบ
- จากการคัดกรองประชาชน มีกลมุ่ เสี่ยงอะไรมากที่ส ุด
- Top Five Diseases ของโรคในแต่ละปี 3-5 ปี
- พฤติกรรมที่เป็นสาเหต ุของกลมุ่ เสี่ยง หรือโรคที่พบมากในแต่
ละปี มีลกั ษณะเป็นอย่างไร
3. การวางแผนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
- กลมุ่ ปกติ ทาอย่างไร ช่องทางใดบ้าง (ให้ 3 อ. 2 ส.)
- กลมุ่ เสี่ยง ดาเนินการอย่างไร ติดตามอย่างไร
(การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม)
การดาเนินงาน ช ุมชนปรับเปลี่ยนพฤติกรรม (ต่อ)
4.
5.
6.
เสริมสร้างความเข้มแข็งให้แก่ช ุมชน (Strengthen Community Action)
- ภาคีมีใครบ้างที่จะมาช่วยในการแก้ปัญหาของช ุมชน
- ภาคีเหล่านัน้ ได้แสดงบทบาทและหน้าที่อะไร
การสร้างนโยบายสาธารณะเพื่อส่งเสริมส ุขภาพ (Building Healthy Public
Policy)
- ข้อตกลง หรือ มาตรการทางสังคม หรือนโยบาย ที่ช ุมชนร่วมกันคิดแล้ว
จะปฏิบตั ิเพื่อลดปัญหาของช ุมชน
สร้างสรรค์สิ่งแวดล้อมให้เอื้อต่อการมีส ุขภาพดี (Creative Supportive
Environment)
- ทางกายภาพ เช่น พื้นที่ออกกาลังกาย กลมุ่ /ช ุมชนต่างๆ อ ุปกรณ์ในการ
ออกกาลังกาย ร้านค้า ร้านอาหาร รถเร่ เป็นต้น
- ทางสังคม เช่น การสร้างค่านิยมในการบริโภคอาหารใหม่ เป็นต้น
OTTAWA CHARTER
ช ุมชนปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
ตาม แนวทางของกฎบัตรออตตาวา
1 การสร้างนโยบายสาธารณะเพื่อส่งเสริมส ุขภาพ (Building
Healthy Public Policy)
2 สร้างสรรค์สิ่งแวดล้อมให้เอื้อต่อการมีส ุขภาพดี (Creative
Supportive Environment)
3 เสริมสร้างความเข้มแข็งให้แก่ช ุมชน (Strengthen Community
Action)
4 พัฒนาทักษะส่วนบ ุคคล (Developed Personal Skill)
5 การปฏิร ูประบบบริการสาธารณส ุข (Reorient Health Service)
เกณฑ์การประเมิน “องค์กร/ช ุมชนต้นแบบไร้พงุ ”
ลำดั
บ
ประเด็น
กำร
ประเมิน
มี
1
2
3
4
5
มีคณะกรรมกำรรับผิดชอบกำรจัดกำรองคกรสู
่ องคกร
์
์
ไร้พุง
มีนโยบำยดำนกำรส
้
่ งเสริมกำรจัดกำรควบคุมน้ำหนัก
มีแผนงำนสรำงเสริ
มสุขภำพเพือ
่ ลดโรคอ้วนลงพุง
้
ลดโรคไมติ
้ รัง
่ ดตอเรื
่ อ
มีกำรสื่ อสำรประชำสั มพันธเรื
่ งภัยเงียบของโรคอวน
้
์ อ
ลงพุงภำยในองคกร
์
ร้อยละ 80 ของบุคลำกรภำครัฐหรือเอกชนทีท
่ ำงำน
ประจำอยูในที
ต
่ ง้ั องคกร
และประชำชนไดมี
่
้ กำร
์
ประเมินรอบเอวดวยตนเอง
ไมมี
่
ลำดั
บ
ประเด็น
7
มีกระบวนสรำงทั
กษะลดพุงให้กับประชำชนเป้ำหมำย
้
โดยใช้หลักกำร 3 อ.
(กำรปรับเปลีย
่ นพฤติกรรม)
มีแผนกำรปรับปรุงสิ่ งแวดลอมที
เ่ อือ
้ ตอกำรบริ
โภค
้
่
อำหำรและกำรใช้แรงกำยเพือ
่ สรำงเสริ
มสุขภำพ
้
โดยครอบคลุม 2 ดำน
คือดำนกำยภำพ(เช
้
้
่น
ร้ำนค้ำ ร้ำนอำหำร พืน
้ ทีใ่ ช้แรงกำย เป็ นตน)
้
และดำนสั
งคม (เช่น กำรลดหวำน มัน เค็มใน
้
วัด โรงเรียน ครัวเรือน เป็ นตน)
้
ภำยหลัง 6 เดือน ทีม
่ ก
ี ระบวนกำรตำงๆลงใน
่
องคกร/หมู
บ
วกลุ
มเป
่ ำนแล
้
้
่ ้ ำหมำย
์
8
9
กำร
ประเมิน
มี ไม่
มี
องค์กร/ช ุมชนและประชากรกลมุ่ เป้าหมาย
องค์กร/ช ุมชน หมายถึง หน่วยงานหรือท้องถิ่น (ตาบลหรือ
ช ุมชน) ที่มีบ ุคลากรทางานหรือประชาชนอาศัยอยู่ และใช้
ชีวิตอยูใ่ นพื้นที่หรือช ุมชนเดียวกัน แบ่งออกเป็น 2 ประเภท
1. องค์กร หมายถึง ถึงหน่วยงานของรัฐและเอกชน เช่น
หน่วยงานราชการ รัฐวิสาหกิจ โรงเรียน สถาน
ประกอบการ บริษทั สมาคม เป็นต้น
2. ช ุมชน หมายถึง ท้องถิ่น จะเป็น อบต. หรือเทศบาลที่มี
หมู่บา้ นต่างๆที่องค์กรปกครองท้องถิ่นรับผิดชอย
ประชากรกลมุ่ เป้าหมาย หมายถึง บ ุคลากรในองค์กรและ
ประชาชนในพื้นที่ที่ องค์กรปกครองท้องถิ่นรับผิดชอบ
ขอบเขต / พื้นที่ดาเนินการ
การกาหนดขอบเขตพื้นที่ในการดาเนินการซึ่งจะ
เกี่ยวข้องกับการจัดการสิ่งแวดล้อมให้เอื้อต่อการมี
ส ุขภาพดีทงั้ ทางกายภาพและทางสังคม
เกณฑ์ขอ้ ที่ 1 มีคณะกรรมการรับผิดชอบการจัดการ
องค์กรสูอ่ งค์กรต้นแบบไร้พงุ
วัตถ ุประสงค์
เพื่อด ูการมีสว่ น
ร่วมในการขับเคลื่อน
หรือดาเนินการให้เป็น
องค์กร/ช ุมชน
ต้นแบบไร้พงุ
แนวทางการประเมิน
หลักฐานการประเมิน
1. คาสัง่ แต่งตัง้ ว่า เป็นคาสัง่
สาเนาคาสัง่ แต่งตัง้
ที่...........มีวนั ที่ออกคาสัง่ หรือไม่ คณะกรรมการ
จ
านวน
1
ชุ
ด
2. คณะกรรมการ
ประกอบด้วยใครบ้าง ครอบคล ุม
ท ุกภาคีที่เกี่ยวข้องหรือไม่
3. มีการกาหนดบทบาทหน้า
ที่ของคณะกรรมการที่อย่าง
ชัดเจน
เกณฑ์ขอ้ ที่ 2 มีนโยบายด้ านการส่ งเสริมการจัดการควบคุม
นา้ หนัก
วัตถ ุประสงค์
แนวทางการประเมิน
- เพื่อให้เห็นทิศทาง -นโยบายของการส่งเสริมการ
ของการขับเคลื่อนที่ จัดการควบค ุมน้าหนักหรือไร้
ชัดเจน
พุงลดโรคมีอะไรบ้าง
ครอบคล ุมทัง้ เรื่องอาหารและ
การใช้แรงกายหรือไม่
- ตัวนโยบายมีความเป็นไป
ได้ในทางปฏิบตั ิ
- ถ้าทาตามนโยบายแล้วจะ
สามารถบรรล ุเป้าหมายหรือไม่
หลักฐานการประเมิน
-สาเนานโยบายซึ่ง
อาจจะปรากฏอยูใ่ น
คาสัง่ คณะกรรมการ
หรือเป็นการประกาศ
นโยบายก็ได้ จานวน 1
ช ุด
เกณฑ์ขอ้ ที่ 3 มีแผนงานสร้ างเสริมสุ ขภาพเพือ่ ลดโรคอ้ วนลงพุง
ลดโรคไม่ ติดต่ อเรื้อรัง
วัตถ ุประสงค์
แนวทางการประเมิน
หลักฐานการประเมิน
- เพื่อด ูรายละเอียด -พิจารณาจากแผนงานการ
-สาเนาแผนการ
ของกิจกรรม มี
ดาเนินงาน เช่น โครงการ 1 ดาเนินงาน จานวน 1
กิจกรรมอะไรบ้าง
ปี นัน้ มีกิจกรรมอะไรบ้าง
ช ุด
ช่วงเวลาใด
ครอบคล ุมหรือไม่ ส่วนมาก
จะเขียนเป็นตาราง
เกณฑ์ขอ้ ที่ 4 มีการสื่ อสารประชาสั มพันธ์ เรื่องภัยเงียบของโรค
อ้ วนลงพุงภายในองค์ กร/ชุมชน
วัตถ ุประสงค์
- เพื่อด ูว่า มีการ
ประชาสัมพันธ์
โครงการ และการ
สื่อสารความเสี่ยง
เรื่องภัยเงียบของ
โรคอ้วนลงพุง
หรือไม่ อย่างไร
แนวทางการประเมิน
หลักฐานการประเมิน
- พิจารณาจากเนื้อหา ปริมาณ
ความถี่ และช่วงเวลาในการ
สื่อสารประชาสัมพันธ์ภายใน
องค์กร/ช ุมชน และด ูว่า
เป็นไปตามแผนงานหรือไม่
ขึ้นอยูก่ บั ชนิด
ลักษณะ และประเภท
ของการสื่อสาร
ประชาสัมพันธ์
เกณฑ์ขอ้ ที่ 5 ร้อยละ 80 ของบ ุคลากรภาครัฐหรือเอกชน
ประจาอยูใ่ นที่ตงั้ ขององค์กร และประชาชนได้รบั การ
ประเมินรอบเอวด้วยตนเอง
วัตถ ุประสงค์
แนวทางการประเมิน
- เพื่อด ูความ
- ประชนอาย ุ 15 ปีขึ้นไปใน
ครอบคล ุมและ
องค์กร/ช ุมชนที่เข้าร่วม
สถานการณ์อว้ นลง
โครงการมีจานวนเท่าไร วัด
พุงของบ ุคลากรใน
รอบเอวถึงร้อยละ 80 หริไม่
องค์กรหรือ
- สร ุปผลสถานการณ์อว้ นลงพุง
ประชาชนในช ุมชน
เป็นอย่างไร
เป็นอย่างไร
หลักฐานการประเมิน
สร ุปผลการวัดรอบเอว
ที่ได้จากการคัดกรอง
ประชาชนอาย ุ 15 ปี
ขึ้นไป
เกณฑ์ขอ้ ที่ 6 ร้อยละ 60 ของบ ุคลากรและประชาชนที่ได้ดาเนินการ
วัดรอบเอวมีรอบเอวปกติ หากเป็นผูห้ ญิงรอบเอวน้อยกว่า
80 ซม. หากเป็นผูช้ ายรอบเอวน้อยกว่า 90 ซม.
วัตถ ุประสงค์
แนวทางการประเมิน
หลักฐานการประเมิน
- เพื่อด ูสถานการณ์ - ทาต่อจาเกณฑ์ขอ้ ที่ 5 คือ นา ผลการวิเคราะห์และ
อ้วนลงพุงของ
ข้อมูลในกลมุ่ ที่มีการวัดรอบ แปลผลจากการวัด
บ ุคลากรในองค์กร
เอวทัง้ หมดมาวิเคราะห์และ รอบเอว จานวน 1 ช ุด
หรือประชาชนใน
แปลผล ว่าเป็นกลมุ่ ที่มีรอบ
ช ุมชนเป็นอย่างไร
เอวปกติเท่าไร
เกณฑ์ขอ้ ที่ 7 มีกระบวนการสร้างทักษะลดพุงให้กบั ประชาชน
เป้าหมายโดยใช้หลักการ 3 อ. (การปรับเปลี่ยน
พฤติกรรม)
วัตถ ุประสงค์
- เพื่อด ูมีการพัฒนา
ความรูแ้ ละทักษะในการ
ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
ด้วย 3 อ. ให้กบั
ประชาชนกลมุ่ เสี่ยง
อย่างไร
แนวทางการประเมิน
หลักฐานการประเมิน
-แผนการดาเนินงานและ
- รายงานการพัฒนา
ผลงานที่ผา่ นมาว่าเป็น ทักษะต่างๆ จานวน
เรื่องอะไรบ้าง
1 ช ุด
- พิจารณาจากผูเ้ ข้าร่วม
ประช ุม อบรม หรือพัฒนา
ว่าเป็นตัวแทนจากแต่ละหมู่
หรือดาเนินการเพียงหมู่
เดือน ด ูกิจกรรมที่ทามี
อะไรบ้าง
เกณฑ์ขอ้ ที่ 8 มีแผนการปรับปร ุงสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการ
บริโภคอาหารและการใช้แรงกายเพื่อสร้างเสริมส ุขภาพ
วัตถ ุประสงค์
แนวทางการประเมิน
หลักฐานการประเมิน
- เพื่อด ูว่าองค์กร/ช ุมชน -สิ่งแวดล้อมทางกายภาพ
มีการจัดการสิ่งแวดล้อม
ภายในองค์กร/ช ุมชน
ที่กอ่ ให้เกิดปัญหาภายใน
นัน้ ทาอะไรบ้าง
องค์กร/ช ุมชนอย่างไร
- สิ่งแวดล้อมทางสังคม
- เพื่อด ูว่าการจัดการสิ่ง
ภายในองค์กร/ช ุมชน
แวดล้ออมนัน้ ประชาชนมี
ทาอะไรบ้าง
การปฏิบตั ิกนั อย่างไร
- รายงานการ
ดาเนินงานว่ามีหรือทา
อะไรบ้างทัง้
สิ่งแวดล้อมทาง
กายภาพและทาง
สังคม
เกณฑ์ขอ้ ที่ 9 ผลลัพธ์ภายหลัง 6 เดือน ที่มีกระบวนการ
ต่างๆลงในองค์กร/ช ุมชน
วัตถ ุประสงค์
แนวทางการประเมิน
หลักฐานการประเมิน
- เพื่อด ูผล (Output) ของ -ด ูว่าหลังจากทากิจกรรม - ผลการวัดรอบเอว
การทากิจกรรมต่างๆไป
ต่างๆทัง้ การสื่อสาร
เปรียบเทียบก่อน-หลัง
แล้วนัน้ ก่อให้เกิดการ
ประชาสัมพันธ์ การ
การดาเนินงาน
เปลี่ยนแปลงอะไรบ้าง
พัฒนาความรูแ้ ละทักษะ
การจัดการสิ่งแวดล้อม
ให้เอื้อต่อการมีส ุขภาพ
ที่ดี เป็นต้น ผลการทา
กิจกรรมเหล่านัน้
ภายหลัง 6 เดือนเป็น
อย่างไร
เกณฑ์ขอ้ ที่ 10 มีนโยบายหรือมาตรการสังคมที่เอื้อต่อการ
สร้างเสริมพฤติกรรมส ุขภาพที่ดี
วัตถ ุประสงค์
แนวทางการประเมิน
- เพื่อด ูว่าองค์กร/ช ุมชน -มีมาตรการทางสังคมหรือ
มีมาตรการทางสังคม
ข้อตกลงร่วมกันของ
หรือข้อตกลงร่วมกันเรื่อง
ช ุมชนหรือไม่
อะไร ได้มาอย่างไร การ -มาตรการทางสังคมหรือ
นาไปสูก่ ารปฏิบตั ิทา
ข้อตกลงร่วมกันได้มา
อย่างไร และบ ุคลากร/
อย่างไร
ประชาชนมีการปฏิบตั ิ
-บ ุคลากรในองค์กรหรือ
ตามอย่างไร
ประชาชนในช ุมชนรับรู้
และมีการปฏิบตั ิตาม
มากน้อย เพียงใด
หลักฐานการประเมิน
- สาเนามาตรการทาง
สังคมหรือข้อตกลง
ร่วมกันของช ุมช ุน 1
ช ุด
เกณฑ์ศ ูนย์การเรียนร ้ ู องค์กร/ช ุมชนต้นแบบไร้พงุ
• ผ่านเกณฑ์เป็นองค์กร/โรงเรียน/ช ุมชนต้นแบบไร้พงุ
• ศักยภาพขององค์กรสามารถเป็นศ ูนย์การเรียนร ้ ู ประกอบด้วย
– แกนนามีความรค้ ู วามสามารถถ่ายทอดประสบการณ์
– มีกรอบแนวทางการดาเนินงานจากองค์กร/โรงเรียน/ช ุมชนเป็น
ต้นแบบไร้พงุ
– มีระบบเฝ้าระวังภาวะอ้วนลงพุง
– มีมาตรการทางสังคมหรือนโยบายสาธารณะด้านส่งเสริมส ุขภาพ
– มีโครงการดาเนินการแก้ไขปัญหาโรคอ้วนลงพุง
การประเมินและผูป้ ระเมินรับรอง
องค์กร/ช ุมชนต้นแบบไร้พงุ
1. องค์กร/ช ุมชน ประเมินตนเอง ถ้าพบว่ายังไม่
เป็นไปตามเกณฑ์ก็วางแผนและพัฒนา
2. สานักงานสาธารณส ุขจังหวัดหรือสานักงาน
สาธารณส ุขอาเภอ ร่วมกับเจ้าหน้าที่ รพ.สต. 2 คน
ร่วมกันประเมินองค์กร/ช ุมชนต้นแบบไร้พงุ โดย
ต้องผ่านเกณฑ์การประเมินท ุกข้อ
สร ุป การดาเนินงานที่บอกว่าเป็นช ุมชนเข้มแข็ง/ยัง่ ยืน
นัน้ จะประเมินจาก
1. ประชาชนกลมุ่ ปกติ/ขาว กว้างขึ้น (รอบเอว BMI น้าตาล
ในเลือด และความดันโลหิตปกติ)
1. กลมุ่ เสี่ยง กลายเป็นกลมุ่ ปกติมากขึ้น, กลมุ่ เสี่ยงกลายโรคน้อย
(น้อยกว่าร้อยละ 5)
2. กลมุ่ สงสัยเป็นโรค แล้วส่งยืนยัน
-
-
ส่งยืนยันแล้วไปพบแพทย์ กี่คน
1. เป็นโรคกี่คน
2. กลมุ่ เสี่ยงกี่คน
3. กลมุ่ ปกติกี่คน
ส่งยืนยันแล้วไม่ไปพบแพทย์ กี่คน
3. การคัดกรองแต่ละปีพบผูป้ ่ วยรายใหม่กี่คน กี่เปอร์เซ็นต์