DPAC - กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ

Download Report

Transcript DPAC - กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ

แนวทางการดาเนินงานคลินิกไร้ พุง
(Diet & Physical Activity Clinic : DPAC)
ประเด็น
• ทาไมต้ องเป็ น “คลินิกไร้ พุง”
• มีการจัดตัง้ และดาเนินการ “คลินิกไร้ พุง” อย่ างไร
• การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมใน “คลินิกไร้ พุง” และ “องค์ กร/
ชุมชนต้ นแบบไร้ พุง” เหมือนหรือแตกต่ างกันอย่ างไร
คลินิกไร้ พุง
(Diet & Physical Activity Clinic : DPAC)
• คลินิกที่ดำเนินกำรเพือ่ ให้ เกิดกระบวนกำรปรับเปลีย่ นพฤติกรรมกำร
บริโภคอำหำรและมีกำรจัดกิจกรรมกำรเคลือ่ นไหวออกแรง/ออกกำลัง
พร้ อมทั้งสนับสนุนให้ เกิดผลกำรปฏิบัตติ ำมแนวทำงมำตรฐำนที่
กำหนดไว้ แต่ ละกลุ่มวัยอย่ ำงถูกต้ อง สนับสนุนให้ เกิดควำมยัง่ ยืนใน
กำรปฏิบัติ
การจัดตัง้ และดาเนินการ “คลินิกไร้ พุง”
เพื่อแก้ ปัญหารายบุคคลหรือกลุ่ม (8-12 คน) ในกรณีท่ ี
องค์ กร/ชุมชนไม่ สามารถแก้ ปัญหาได้
การดาเนินงานที่ชัดเจน
•
•
•
•
มีการจัดตัง้ เป็ นรูปแบบคลินิกในโรงพยาบาล
มีทมี ทางาน
มีรูปแบบการดาเนินงานกิจกรรมที่เป็ นรูปธรรม
มีระบบการพัฒนา ติดตาม และประเมิน
ผู้รับบริการ
• ประชาชนทั่วไป ที่สนใจดูแลสุขภาพ
• ประชาชนกลุ่มเสี่ยงด้ านพฤติกรรม
• ประชาชนที่มโี รคประจาตัว โรคเรือ้ รัง 5โรค
(เบาหวาน ความดันโลหิตสูง หัวใจ มะเร็ง
หลอดเลือดสมอง)
กลุ่มเสี่ ยงสู งทีต่ ้ องเข้ ำคลินิค DPAC
•
•
•
•
•
•
1. BMI 30 ขึน้ ไป
2. รอบเอวในผู้หญิงมากกว่ า 88 ซม.
3. รอบเอวในผู้ชายมากกว่ า 102 ซม.
4. มีภาวะ Pre DM ( 100 – 125 mg%)
5. มีภาวะ Pre HT (BPมากกว่ า 120/80 – 139/99)
6 ผู้ป่วย NCD ที่ควบคุมโรคไม่ ได้
แนวทางการจัดตัง้ คลินิกไร้ พุง
รพ.สต.
รพช.
รพท. / รพศ.
ทีมทางาน
-พยาบาลวิชาชีพ / นวก.
-จพง. สาธารณสุข
ทีมทางาน
- แพทย์
-พยาบาลวิชาชีพ / นวก.
-นักโภชนากร (ถ้ ามี)
ทีมทางาน
- แพทย์
-พยาบาลวิชาชีพ / นวก.
-นักโภชนากรหรือนักโภชนาการ
บทบาทหน้ าที่
-ส่ งเสริมและป้องกัน
-ฟื ้ นฟูสภาพ
บทบาทหน้ าที่
-ส่ งเสริมและป้องกัน
-การรักษา
บทบาทหน้ าที่
- การรักษา
-ส่ งเสริมและป้องกัน
เครื่องมือ/อุปกรณ์
-เครื่องชั่งนา้ หนัก,วัด
ส่ วนสูง
-สายวัดรอบเอว
-แบบจาลองธงโภชนาการ
หรือภาพธงโภชนาการ
เครื่องมือ/อุปกรณ์ (เพิ่ม)
-อุปกรณ์ ทดสอบสมรรถภาพทาง
กาย
-ชุดนิทรรศการเรื่องอาหารและ
การออกกาลังกาย
-Food Model (ถ้ ามี)
เครื่องมือ/อุปกรณ์ (เพิ่ม)
-เครื่องตรวจวัดวิเคราะห์
องค์ ประกอบของร่ างกาย (In
body) (ถ้ ามี)
โครงสร้ างการจัดตัง้ คลินิกไร้ พุง
ผู้นำองค์ กร
ผู้ปฏิบัติ
นโยบำยด้ ำนกำรส่ งเสริมสุ ขภำพ, NCD
กิจกรรม กำรจัดตั้ง
 สถำนที่
 อุปกรณ์ สื่ อ เอกสำร
บุคลำกร/ทีมงำน  ควำมรู้ พัฒนำ ปรับปรุ ง
 รู ปแบบ
 องค์ ควำมรู้ / ทฤษฎีอ้ำงอิง
M&E
การนาองค์ กรและการบริหาร
•
•
•
•
•
การกาหนดนโยบายในการดาเนินงาน
มีโครงสร้ างและผู้รับผิดชอบ
มีการจัดทาแผนงาน / แผนปฏิบัตกิ าร
มีรูปแบบกิจกรรมการดาเนินงานที่ชัดเจน
มีกลไก การดูแล กากับ ติดตาม และ
ประเมินผล
การจัดสรรทรัพยากรและพัฒนาทรัพยากรบุคคล
• การจัดสรรงบประมาณเพื่อการดาเนินงาน
• การจัดสรรวัสดุ อุปกรณ์ และสถานที่
• การจัดสรรบุคลากรเพื่อทางานในคลินิกอย่ างน้ อย
2 คน
ขัน้ ตอนการให้ บริการในคลินิก
เจ้ ำหน้ ำที่แนะนำบริกำร
•ควำมจำเป็ นที่ต้องลดนำ้ หนัก
•ควำมสำคัญของกำรกิน/ออกกำลังกำย
•ภำวะอ้วนกับสุ ขภำพที่เป็ นปัญหำ
ผู้รับบริกำร/ผู้ทสี่ นใจ
เข้ ำมำทีค่ ลินิก
พูดคุย ซักถำม
•ใช้ แบบประเมินสุ ขภำพพฤติกรรมกำรกิน
และกำรใช้ แรงกำย
•ดัชนีชี้วดั สุ ขภำพ ดัชนีมวลกำย เส้ นรอบเอว
สนใจเข้ ำรับบริกำร
พร้ อม
เข้ ำเป็ นสมำชิกคลินิก
•ทำทะเบียนบันทึกประวัติ
•พูดคุยตั้งเป้ ำหมำยระยะสั้นและระยะยำว
•จัดโปรแกรมกำรกิน/ออกกำลังกำย
•รับปฏิทนิ /เอกสำรกำรบันทึก
•นัดติดตำมกำรดูแลต่ อเนื่อง
ประเมินควำมพร้ อมที่
จะเปลีย่ นแปลงพฤติกรรม
ยังไม่ พร้ อม
•ให้ เอกสำรควำมรู้เรื่องสุ ขภำพ
•โทรติดตำมพูดคุยเพือ่ ให้ มำตำมนัด
กำรติดตำม
•นัดหมำย 1-2 สั ปดำห์ (แล้ วแต่ บริบทของผู้รับบริกำร) เพือ่ เข้ ำมำรับควำมรู้ เพิม่ เติม
พูดคุยเกีย่ วกับอุปสรรค กำรตั้งเป้ำหมำยเพือ่ ปรับเปลีย่ นพฤติกรรมและชั่ งนำ้ หนัก
•ติดตำมทำงโทรศัพท์ (กรณีไม่ มำตำมนัด โทรนัดติดตำมใหม่ 2 ครั้ง)
•ประเมินสุ ขภำพและพฤติกรรม นัดพบเป็ นระยะทุก 1-2 เดือน บันทึกดัชนีชี้วดั ทำงสุ ขภำพ
ดัชนีมวลกำยและเส้ นรอบเอว
กระบวนงานและขัน้ ตอนการให้ บริการ
ในโรงพยาบาลชุมชน / โรงพยาบาลทั่วไป / โรงพยาบาลศูนย์
ผู้รับบริการรายใหม่
ลงทะเบียน/ซักประวัติ
ตรวจร่ ำงกำย
โปรแกรม
ปกติ(ไม่ พบโรค) ประเมินภำวะเสี่ ยงและ ผิดปกติ(พบโรค) ส่ งพบแพทย์
ส่ งเสริมสุ ขภำพ
ภำวะสุ ขภำพ
ให้ คำปรึกษำ
•ด้ ำนโภชนำกำร
•ด้ ำนกำรออกกำลังกำย
•ด้ ำนอำรมณ์
นัดติดตำมและประเมินผล
ครั้งต่ อไป
ให้ คำปรึกษำควำมผิดปกติ
ของโรคที่พบ
ให้ คำปรึกษำ
•ด้ ำนโภชนำกำร
•ด้ ำนกำรออกกำลังกำย
•ด้ ำนอำรมณ์
นัดติดตำมและประเมินผล
ครั้งต่ อไป
กระบวนงานและขัน้ ตอนการให้ บริการ
ในโรงพยาบาลส่ งเสริมสุขภาพตาบล / ศูนย์ สุขภาพชุมชน
ลงทะเบียน
ชั่งนำ้ หนัก / วัดส่ วนสู ง
วัดควำมดันโลหิต/วัดชีพจร วัดรอบเอว
คิดค่ำดัชนีมวลกำย
ผิดปกติ
ปกติ
ให้ คำแนะนำกำรปฏิบัตติ วั
หลักกำร 3 อ. อำหำร ออกกำลังกำย
อำรมณ์ และกำรประเมินตนเอง
เบือ้ งต้ นได้ ถูกต้ อง
ไม่ มีภำวะแทรกซ้ อน
ให้ คำแนะนำกำรปฏิบัตติ น หลักกำร 3 อ.
•อำหำร
•ออกกำลังกำย
•อำรมณ์
นัดประเมินผลซ้ำ
มีภำวะแทรกซ้ อน
ที่ต้องพบแพทย์
ส่ งต่ อ รพ.ชุมชน /
รพ.ทั่วไป / รพ.ศูนย์
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมใช้ 3 อ.2 ส.
•
•
•
•
•
อาหาร
ออกกาลังกาย
อารมณ์
สุรา
สูบบุหรี่
การปรั บเปลี่ยนพฤติกรรมและกาหนดเป้าหมายการลดนา้ หนัก
1. เป้ ำหมำยของกำรลดนำ้ หนักทีค่ วรจะเป็ น : ร้ อยละ 5-10 ของนำ้ หนักตัวปัจจุบัน หรือ ลด 0.5-1 กก./สั ปดำห์ ช่วงระยะเวลำ 6 เดือน
2. เป้ ำหมำยกำรปรับเปลีย่ นพฤติกรรม (ขึน้ อยู่กบั กำรตกลงระหว่ ำงเจ้ ำหน้ ำทีแ่ ละผู้รับบริกำร)
2.1 อำหำร : ลดพลังงำนโดยรวมลง 500-1,000 กิโลแคลอรี/วัน
2.2 กิจกรรมประจำวันและกำรออกกำลังกำย : เริ่มจำก ออกกำลังกำยขนำดหนักปำนกลำง 3-5 ครั้ง/สั ปดำห์
ครั้งละ 30 นำที หรือสะสมอย่ ำงน้ อยครั้งละ 10 นำที และพัฒนำเป็ นมำกกว่ ำหรือเท่ ำกับ 60 นำที ทุกวัน
3. ควบคุมพฤติกรรม โดยมีทมี งำนคลินิกดูแล
เป็ นไปตำมเป้ ำหมำย
•ทบทวนและประเมินผลอย่ ำงต่ อเนื่อง
•นำ้ หนักให้ คงที่
•กระตุ้นเรื่องกำรกินอำหำรและออกกำลังกำย
•ชั่งนำ้ หนัก BMI เส้ นรอบเอว ทุก 1-2 ปี
เป็ นไปตำมเป้ ำหมำย
ประเมินผล
ไม่ เป็ นไปตำมเป้ ำหมำย
•ตั้งเป้ ำหมำยใหม่ วิเครำะห์ หำปัญหำ อุปสรรค
และแนวทำงแก้ไข
•ปฏิบัติซ้ำและประเมินผลเป็ นระยะๆ
ไม่ เป็ นไปตำมเป้ำหมำย
ประชุมทีมงำนคลินิกเพือ่ วำงแผนและ
แก้ไขปัญหำในกำรดำเนินงำน
แผนผังแสดงขัน้ ตอนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
5 R’s approach
-แนะนำให้ ตรงปัญหำ (Relevance)
-เสี่ยง (Risks)
-ผลดี (Rewards)
-อุปสรรค (Roadblocks)
-ทำซ้ำ (Repetition)
ช่ วยเหลือ (Assist)
•.ใช้ หลัก 5 R และเคำรพสิ ทธิ
กำรตัดสิ นใจของผู้รับบริกำร
กำรติดตำม (Arrange)
“หำกคุณ/ท่ ำนพร้ อมเมือ่ ไหร่
ขอเชิญทีน่ ี่ เรำสำมำรถช่ วยคุณได้
ซักถำม (Ask)
•พฤติกรรมกำรกินอำหำรเพือ่ สุ ขภำพ
•พฤติกรรมกำรออกแรง/ออกกำลัง
แนะนำ (Advise)
•ควำมจำเป็ นทีจ่ ะต้ องลดนำ้ หนัก
•ควำมสำคัญของกำรกิน/ออกกำลังกำย
•ภำวะอ้วนกับสุ ขภำพทีเ่ ป็ นปัญหำ
ใช้ แบบประเมินสุ ขภำพ
และพฤติกรรม
ประเมิน (Access)
•ดัชนีมวลกำย / เส้ นรอบเอว
•พฤติกรรมกำรกิน/ออกกำลังกำย
•ควำมพร้ อมทีจ่ ะเปลีย่ นแปลง
ไม่ พร้ อม
พร้ อม
ควำมพร้ อมทีจ่ ะ
เปลีย่ นแปลง?
พร้ อม ช่ วยเหลือ(Assist)
•ตั้งเป้ ำหมำยระยะสั้น/ระยะยำว
•จัดโปรแกรมกำรกิน/ออกกำลังกำย
ในกรณีพร้ อมทีจ่ ะเปลีย่ นแปลง
พฤติกรรม ครั้งต่ อไปทีม่ ำพบ
ตำมนัดหมำย ไม่ ต้องประเมิน
ควำมพร้ อมทีจ่ ะเปลีย่ นแปลง
พฤติกรรมอีกครั้ง
กำรติดตำม (Arrange)
•จัดตำรำงนัดหมำย
•ติดตำมทำงโทรศัพท์ /จดหมำย
•ชมเชย/เสนอแนะ
เกณฑ์ การประเมินหน่ วยงานที่ดาเนินงานคลินิกไร้ พุง (DPAC)
ขัน้ ตอน
ประเด็นการประเมิน
1.
ด้ านการบริหารจัดการ (4 คะแนน)
1. มีการกาหนดนโยบาย และแผนการดาเนินงาน
2. มีคณะกรรมการดาเนินงาน
3. มีสถานที่ดาเนินงาน
- สถานที่ , ป้าย “คลินิกไร้ พุง”, ขัน้ ตอนการดาเนินงาน
4. มีการเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์
2
ด้ านการให้ บริการ (2 คะแนน)
1. มีกจิ กรรม 3 อ.
2. มีผ้ ูปฏิบตั งิ านอย่ างอย่ างชัดเจนอย่ างน้ อย 1 คน
ด้ านการติดตาม ประเมินผล (2 คะแนน)
1. มีการรายงานผลการดาเนินงาน (รายบุคคล. สรุ ป)
2. มีการวิเคราะห์ ปัญหา อุปสรรค และแนวทางการ
พัฒนางาน(การติดตาม ประเมินผล และพัฒนาการ
3
มี
ไม่ มี
สรุ ป แนวทางการดาเนินงานคลินิกไร้ พุง
•
•
•
•
มีการจัดตัง้ เป็ นรูปแบบคลินิกในสถานบริการ
มีทมี ทางาน
มีรูปแบบการดาเนินงานกิจกรรมที่เป็ นรูปธรรม
มีระบบการพัฒนา ติดตาม และประเมินผลลัพท์
( เปลี่ยนแปลง-ไม่ เปลี่ยนแปลง-อยู่ระหว่ างการ
เปลี่ยนแปลง) และต้ องมีทะเบียนรายชื่อเพื่อติดตาม
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในคลินิกไร้ พงุ
และองค์ กร/ชุมชนต้ นแบบไร้ พุง
เหมือนหรือต่ างกันอย่ างไร
การดาเนินงาน แบ่ งเป็ น 2 ระดับ
• ระดับชุมชน คือ องค์ กร/ชุมชนต้ นแบบไร้ พุง
• ระดับบุคคล คือ คลินิกไร้ พุง
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมใน คลินิกไร้ พงุ
• รายบุคคล เพื่อพัฒนาให้ มีพฤติกรรมในขัน้ ตอนที่สูงกว่ า
• กลุ่ม ประมาณ 8-12 คน
– กลุ่มที่มีขัน้ ตอนการเปลี่ยนพฤติกรรมเดียวกัน เพื่อพัฒนาให้
มีพฤติกรรมในขัน้ ที่สูงกว่ า
– กลุ่มที่มีขัน้ ตอนการเปลี่ยนพฤติกรรมแตกต่ างกัน เพื่อสร้ าง
กระบวนการเรียนรู้การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมและพัฒนาให้
มีพฤติกรรมในขัน้ ที่สูงกว่ า
เป้าหมายปี 2556
• ประชำชนชำยอำยุ 15 ปี ขึน้ ไป มีรอบเอวไม่ เกิน 90 ซม. ร้ อยละ 80.0
• ประชำชนหญิงอำยุ 15 ปี ขึน้ ไป มีรอบเอวไม่ เกิน 80 ซม.ร้ อยละ 70.0
(ตัวชี้วดั * รพสต.มีกำรขยำยกำรดำเนินงำนหมู่บ้ำน/ชุ นชนผ่ ำนเกณฑ์ ลดหวำน มัน เค็ม ลด
อ้วนลดโรค อย่ำงน้ อย 1 หมู่บ้ำน/ชุ มชน)
* รพสต./PCU ผ่ ำนเกณฑ์ คลินิคไร้ พุง อำเภอละ 2 แห่ ง
* รพสต./PCU มีครอบครัวต้ นแบบไร้ พุงอย่ ำงน้ อยแห่ งละ 1 ครอบครัว
* มีสถำนประกอบกำรเป็ นองค์ กรไร้ พุง อำเภอละ 2 แห่ ง
* ร้ อยละ 10 ของผู้ทเี่ ข้ ำคลินิคทีม่ รี อบเอวเกิน สำมำรถลดรอบเอวได้ ไม่ น้อยกว่ ำ
ร้ อยละ 5
การปรั บเปลี่ยนพฤติกรรม ในองค์ กร/ชุมชนต้ นแบบไร้ พุง
• การมีส่วนร่ วมของภาคีเครือข่ าย
• ต้ องมีการจัดการด้ านสิ่งแวดล้ อมที่เอือ้ ต่ อการมี
สุขภาพที่ดี ทัง้ ด้ านกายภาพและสังคม
• นโยบายสาธารณะหรือมาตรการทางสังคม
หลักในการควบคุมอารมณ์ และความรู้ สึกขณะลดนา้ หนัก
พยำยำมหลีกเลีย่ งกำรไปศูนย์ อำหำร หรือจุดทีม่ อี ำหำร
เพือ่ จะได้ ไม่ กระตุ้นให้ เรำหิว หรืออยำกชิมอำหำรหำก
หลีกเลีย่ งไม่ ได้ อย่ ำพยำยำมนึกถึงควำมอร่ อยหรือ
รสชำติของอำหำรเหล่ ำนั้น
เมือ่ พบเห็นอำหำรต้ องพยำยำมสะกดอำรมณ์ ของตัวเอง
ไม่ ให้ อยำกลองหรือบริโภคมำกเกิน โดยต้ องมีสติพร้ อม
ทั้งต้ องระลึกไว้ เสมอว่ ำหำกบริโภคอำหำรจะทำให้ เรำ
อ้ วนขึน้
ต้ องทำควำมเข้ ำใจกับครอบครัวและคนรอบข้ ำงถึงควำม
จำเป็ นในกำรลดนำ้ หนัก เพือ่ คอยช่ วยเหลือและเป็ น
กำลังใจขณะลดนำ้ หนัก รวมทั้งไม่ ซ้ำเติมหรื อยัว่ ให้ เรำ
บริโภคอำหำรเกิน
ทีม่ ำ : สำนักโภชนำกำร กรมอนำมัย กระทรวงสำธำรณสุ ข
คุณสมบัติของการปรับพฤติกรรมใน คลินิกไร้ พงุ
1.
2.
3.
4.
5.
ไม่ เน้ นอดีต (Ahistorical)
หลีกเลีย่ งกำรใช้ กำรตีตรำ กำรจัดประเภทบุคคล และกำรใช้ คำบำงคำ
เช่ น คนอ้วน
กำรปรับพฤติกรรมเป็ นเรื่องเข้ ำใจได้ (Sensible)
กำรปรับพฤติกรรมสำมำรถฝึ กผู้อนื่ ทำได้
สำมำรถฝึ กให้ บุคคลปรับพฤติกรรมของตนเองได้
วิธีการปรับพฤติกรรม
1. เน้ นที่พฤติกรรมเฉพาะเจาะจง เฉพาะกลุ่มเสี่ยง
2. เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของบุคคลโดยผ่ านกระบวนการ
เรียนรู้
3. ต้ องมีการกาหนดพฤติกรรมเป้าหมายที่ชัดเจน
4. ต้ องคานึงถึงความแตกต่ างระหว่ างบุคคล
5. จะเน้ นที่เหตุการณ์ ท่ เี กิดขึน้ ในปั จจุบันเท่ านัน้
วิธีการปรับพฤติกรรม (ต่ อ)
6. เน้ นที่ความเป็ นมนุษย์ ของบุคคล โดยไม่ มีการบังคับใดๆทัง้ สิน้
7. การนาเทคนิคต่ างๆไปใช้ ให้ คานึงถึงข้ อดีและข้ อจากัด
ตลอดจนหลักเกณฑ์ การใช้ เทคนิคเหล่ านัน้ ให้ รอบคอบ
8. การปรับพฤติกรรมจะเน้ นการใช้ วธิ ีการทางบวกมากกว่ าการ
ลงโทษ
9. การปรับพฤติกรรมสามารถใช้ ได้ อย่ างเหมาะสมตามลักษณะ
ปั ญหาของแต่ ละบุคคล
ทฤษฎีขนตอนการเปลี
ั้
่ยนแปลงพฤติกรรม
(Stages of change theory)
• Prochaska and DiClimente. 1970
• Transtheoretical Model : TTM
1.
2.
3.
4.
5.
ขัน้ ไม่ สนใจปั ญหา (Pre-contemplation)
ขัน้ ลังเลใจ(Contemplation)
ขัน้ ตัดสินใจและเตรียมตัว (Preparation)
ขัน้ ลงมือปฏิบัต(ิ Action)
ขัน้ กระทาต่ อเนื่อง (Maintenance)
ขัน้ ตอนของการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม
ขัน้ ที่ 1 ไม่ สนใจปั ญหา (Pre-contemplation)
ลักษณะของบุคคลในขัน้ นี ้
• ไม่ ตงั ้ ใจที่จะเปลี่ยนแปลง
• ไม่ รับรู้ ไม่ ใส่ ใจต่ อพฤติกรรมที่เป็ นปั ญหาของตนเอง
• เบื่อที่จะเปลี่ยนแปลงตนเอง หรือคิดว่ าไม่ สามารถทาได้
• จะไม่ อ่าน ไม่ พดู หรื อคิดเรื่ องพฤติกรรมเสี่ยง
• ไม่ ตระหนักในปั ญหา หรือรู้ ปัญหาแต่ ไม่ คดิ ที่จะเปลี่ยนแปลง
การให้ คาแนะนา
• ให้ ข้อมูลสะท้ อนกลับเกี่ยวกับความสัมพันธ์ ของการควบคุม
อาหาร การออกกาลังกาย และสุขภาพ
• ให้ ความรู้ ความเข้ าใจ โดยเน้ นข้ อเท็จจริง เป็ นเหตุเป็ นผล
และเป็ นกลาง
• ไม่ ชีน้ า หรื อขู่ให้ กลัว
ขัน้ ที่ 2 ลังเลใจ (Contemplation)
ลักษณะของบุคคลในขัน้ นี ้
• ความตัง้ ใจที่จะเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมในระยะเวลาอันใกล้ นี ้ (6 เดือน
ข้ างหน้ า)
• มีความตระหนักถึงข้ อดีของการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม แต่ ก็ยังคงกังวลกับ
ข้ อเสียในการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมด้ วย
• การชั่งนา้ หนักระหว่ างข้ อดี-ข้ อเสียของการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม อาจทา
ให้ เกิดความลังเลใจอย่ างมากจนทาให้ บุคคลต้ องติดอยู่ในขัน้ นีเ้ ป็ นเวลานาน
• มีการผัดวันประกันพรุ่ ง (behavioral procrastination) จึงยังไม่ พร้ อมที่จะ
เปลี่ยนแปลงในทันที
การให้ คาแนะนา
• ควรมีการพูดคุยถึงข้ อดี-ข้ อเสียของพฤติกรรมเก่ าและใหม่
• เปิ ดโอกาสให้ ได้ ช่ งั นา้ หนักระหว่ างข้ อดี-ข้ อเสียของการเปลี่ยนแปลง
พฤติกรรม
• มีการให้ ข้อมูลที่ถูกต้ องได้ ด้วย
ขัน้ ที่ 3 ตัดสินใจและเตรียมตัว (Preparation)
ลักษณะของบุคคลในขัน้ นี ้
• ตัง้ ใจว่ าจะลงมือปฏิบตั ใิ นการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมเร็ว ๆ นี ้
(ภายใน 1 เดือน) เมื่อตัดสินใจแล้ วว่ าจะเปลี่ยนพฤติกรรมใด
ของตน อย่ างเช่ น เลิกบุหรี่ ลดนา้ หนัก หรือออกกาลังกาย
• วางแผนว่ าจะต้ องทาอะไรบ้ าง เช่ น เข้ าร่ วมฟั งการบรรยายเรื่อง
สุขภาพ ขอคาปรึกษาพูดคุยกับแพทย์ ค้ นคว้ าข้ อมูลหรือซือ้
หนังสือเกี่ยวกับการปรับพฤติกรรมตนเองมาอ่ าน กาหนดวันที่
จะเริ่มเปลี่ยนพฤติกรรม
การให้ คาแนะนา
• บุคคลที่อยู่ในขัน้ นีค้ วรได้ มีทางเลือกในการปรั บเปลี่ยน
พฤติกรรม โดยให้ เขาตัดสินใจเลือกเอง
• การส่ งเสริมศักยภาพในการกระทาของเขา
ขัน้ ที่ 4 ลงมือปฏิบัติ (Action)
ลักษณะของบุคคลในขัน้ นี ้
• ลงมือปฏิบัตหิ รือกระทาพฤติกรรมที่พงึ ประสงค์ เป็ นเวลา
ไม่ น้อยกว่ า 3-6 เดือน
• พฤติกรรมที่พงึ ประสงค์ นัน้ จะต้ องบรรลุตามข้ อกาหนดที่
ผู้เชี่ยวชาญหรือเจ้ าหน้ าที่วิชาชีพเห็นว่ าเพียงพอที่จะลด
พฤติกรรมเสี่ยงได้
การให้ คาแนะนา
• การส่ งเสริมให้ ลงมือกระทาตามวิธีท่ เี ขาเลือกอย่ าง
ต่ อเนื่อง
• การช่ วยหาทางขจัดอุปสรรคและให้ กาลังใจ
ขันที
้ ่ 5 กระทาต่อเนื่อง (Maintenance)
ลักษณะของบุคคลในขัน้ นี ้
• มีการกระทาพฤติกรรมใหม่ หรือพฤติกรรมที่พงึ ประสงค์
มากกว่ า 6 เดือน จนกลายเป็ นนิสัยใหม่ หรือเป็ น
ชีวิตประจาวัน
• การกระตุ้นหรือสิ่งเร้ าต่ างๆจะมีอิทธิพลน้ อย และมี
ความเชื่อมั่นว่ าตนสามารถเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมได้
การให้ คาแนะนา
• ควรมีการป้องกันการกลับไปเสพซา้ โดยการดาเนิน
ชีวิตที่สมดุลอย่ างมีคุณค่ า
• มีการจัดการกับชีวิตประจาวันได้ ดี บริหารเวลาอย่ าง
เหมาะสมในการดูแลสุขภาพตนเอง และอื่นๆ
การกลับไปมีปัญหาซา้ (Relapse)
ลักษณะของบุคคลในขัน้ นี ้
• มีการถอยกลับไปมีพฤติกรรมแบบเดิมๆก่ อนที่จะมีการเปลี่ยนแปลง
พฤติกรรมที่พงึ ประสงค์
• บุคคลจะกลับไปสู่สถานการณ์ เสี่ยง (การบริโภคอาหาร และการใช้
แรงกาย)
• ปล่ อยให้ อารมณ์ อยู่เหนือเหตุผลไม่ สามารถจัดการกับความอยากได้
การให้ คาแนะนา
• พยายามดึงเขากลับเข้ าสู่เส้ นทางการเปลี่ยนพฤติกรรมให้ เร็วที่สุด
• มีการให้ กาลังใจ
• มีการสรุ ปบทเรียนเพื่อไม่ ให้ เกิดซา้ อีก และมุ่งมั่นในการเปลี่ยน
พฤติกรรมต่ อไป
พฤติกรรมการบริโภคอาหารที่เหมาะสม
1. การรับประทานอาหารครบ 3 มือ้ ในปริมาณพอเหมาะหรือพอ
อิ่มในแต่ ละมือ้ ไม่ รับประทานอาหารมากเกินไป
2. โดยเลือกรับประทานอาหารที่มีแคลอรีต่า
3. งดอาหารมันจัด หวานจัด และเค็มจัด
4. รับประทานผักและผลไม้ รสไม่ หวานมากขึน้
5. ไม่ กินจุบกินจิบ
6. รับประทานอาหารมือ้ เย็นห่ างจากเวลานอนไม่ น้อยกว่ า 4
ชั่วโมง
การเคลื่อนไหวออกแรงและออกกาลังกาย
1. การเคลื่อนไหวออกแรงและออกกาลังกายวันละ 30 นาที
สัปดาห์ ละ 5 วัน
2. ขณะออกกาลังกายจะต้ องมีการหายใจเร็วขึน้ กว่ าปกติและมี
เหงื่อออก
3. ใช้ การเคลื่อนไหวออกแรงให้ เป็ นวิถีชีวิตประจาวัน เช่ น เดิน
มากขึน้ ปั่ นจักรยาน เดินเร็ว เป็ นต้ น
สรุป การปรับพฤติกรรมและเทคนิคพัฒนาสุขภาพ
1.
2.
3.
4.
5.
เน้ นที่พฤติกรรมเฉพาะเจาะจง เฉพาะกลุ่มเสี่ยง
เน้ นที่ความเป็ นมนุษย์ ของบุคคล โดยไม่ มีการบังคับใดๆทัง้ สิน้
รู้ว่า มีพฤติกรรมอยู่ในขัน้ ตอนใด เพื่อพัฒนาไปสู่ขัน้ ที่สูงกว่ า จน
กลายเป็ นนิสัยใหม่
ต้ องคานึงถึงความแตกต่ างระหว่ างบุคคล มีเป้าหมายที่ชัดเจน
ใช้ วิธีการทางบวกมากกว่ าการลงโทษ
การปรับพฤติกรรมใช้ ได้ อย่ างเหมาะสมตามลักษณะปั ญหาของแต่
ละบุคคล
สวัสดี