Research and Methodology - สถาบันการพลศึกษา วิทยาเขตกรุงเทพ

Download Report

Transcript Research and Methodology - สถาบันการพลศึกษา วิทยาเขตกรุงเทพ

Training Workshop on
Physical Education Research
การอบรมเชิงปฏิบัติการทาวิจัยพัฒนาการเรียนการสอน
สถาบันการพลศึกษาวิทยาเขตกรุงเทพ
ณรงค์ศกั ดิ์ บุณยมาลิก
[email protected]
081-9119023
ชื่อ
นายณรงค์ ศักดิ์ บุณยมาลิก
คุณวุฒิ วท.บ. (ภูมิศาสตร์ ) มศว.ประสานมิตร
วท.ม. (การวิจยั พฤติกรรมศาสตร์ ) มศว.
Ph.D. Educational Development จาก JMI., Delhi, India
Cert. Grad. (Knowledge Management) จาก Hitotsubashi Univercity, Japan.
Cert. Dip. (Project Management) จาก MI, Khonkhaen, Thailand.
Provisional Cert. (Educational Planning) จาก UNESCO
วัตถุประสงค์ ของการอบรม
1. เพือ่ พัฒนาหัวข้ อวิจยั ทีม่ ีโจทย์ ปัญหามาจากการปฏิบัติงานและ
การพัฒนาการเรียนการสอนของบุคลากรในสถาบันพลศึกษา
2. เพือ่ ฝึ กปฏิบัติการในด้ านการจัดทาโครงร่ างการวิจยั การ
ออกแบบการวิจยั การสร้ างและพัฒนาเครื่องมือวิจยั การ
วิเคราะห์ ข้อมูล และการจัดทารายงานการวิจยั พัฒนาการเรียน
การสอน
3. เพือ่ กระตุ้นและจูงใจให้ เกิดผลผลิตงานวิจยั ของบุคลากรใน
สถาบันพลศึกษาอย่ างต่ อเนื่องและยัง่ ยืน
เนื้อหาและกิจกรรม
1. แนวทางการทาวิจยั อย่างเป็ นรู ปธรรมจากงานของสถาบันพล
ศึกษา
2. ตัวอย่างหัวข้อวิจยั และตัวอย่างรู ปแบบการวิจยั แบบพื้นฐาน
3. ฝึ กปฏิบตั ิการเขียนหัวข้อวิจยั ของตนเอง
4. ฝึ กปฏิบตั ิการเขียนโครงร่ างการวิจยั
5. ฝึ กปฏิบตั ิการออกแบบและวางแผนการทาวิจยั
6. ฝึ กปฏิบตั ิการจัดทาและพัฒนาเครื่ องมือเก็บรวบรวมข้อมูล
7. ฝึ กปฏิบตั ิในการพัฒนานวัตกรรมในการวิจยั เชิงทดลอง
ความหมายของการวิจัย
การแสวงหาความรู้ ด้วยวิธีการ ที่น่าเชื่อถือ
การศึกษาข้ อความจริง
ด้ วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์
ระเบียบวิธีการหาความรู้ที่น่าเชื่อถือ
หลักการทางวิทยาศาสตร์
1. ทุกสิ่ งมี operational definition เพื่อบ่งบอกว่าสิ่ งไหน
คืออะไร
2. การศึกษาด้วยข้อมูลเชิงประจักษ์ (empirical data) เท่านั้น
3. เป็ นวัตถุวิสยั (objective) มากกว่าอัตวิสยั
(subjective)
4. พิสูจน์ได้ (verification) อย่างสมเหตุสมผล
5. การยืนยันด้วยการทาซ้ า (repetitions) อย่างเที่ยงตรง
(validity) และเพื่อให้มนั่ ใจได้ (reliability)
ขั้นตอนการวิจยั โดยทัว่ ไป
1.
2.
3.
4.
5.
ขั้นกาหนดปั ญหาที่ตอ้ งการคาตอบ จากกรอบความรู้
ข้อมูลที่มีอยู่
ขั้นออกแบบวิธีการศึกษา และสร้างสมมุติฐานที่
เป็ นไปได้
ขั้นเก็บรวบรวมข้อมูล
ขั้นวิเคราะห์ขอ้ มูล
ขั้นสรุ ปผล และขยายผลการศึกษา
การวิจยั เพื่อพัฒนาการเรี ยนการสอนใน
สถาบันการพลศึกษาวิทยาเขตกรุ งเทพ
1. เป็ นการวิจัยการศึกษา (Educational Research)
2. เป็ นการวิจัยปฏิบัตกิ าร (Action Research)
3. เป็ นการวิจยั และพัฒนา (Research and
Development)
4. เป็ นการวิจัยในชัน้ เรี ยน (Classroom Research)
5. เป็ นการสร้ างงานวิชาการ (Academy Creation)
ลักษณะหรือรูปแบบการวิจัย
1. เป็ นงานวิจัยเชิงสารวจความคิดเห็น
2. เป็ นงานวิจัยเชิงทดลองเพือ่ พัฒนาหลักสู ตรการเรียน
การสอน
3. เป็ นงานวิจัยและพัฒนานวัตกรรมทางการศึกษา
4. เป็ นงานวิจัยเชิงคุณภาพหรือกรณีศึกษา (Case
Study)
5. เป็ นงานวิจัยในเชิงประเมิน
งานของเรา
• ช่วยกันผลิตงานวิจยั ในรู ปแบบใดรู ปแบบหนึ่งคนละชิ้น
• ช่วยกันพัฒนาคุณภาพและความสมบูรณ์ของงานวิจยั
วิธีการศึกษาเพื่อให้ได้คาตอบที่ตอ้ งการ
วัตถุประสงค์ ของการวิจัย
กาหนดเป็ นคาถาม
ทีต่ ้ องการคาตอบ
ลงมือศึกษา
แล้วจะลงศึกษาอย่างไร
จึงจะได้ขอ้ คาตอบ
สรุปผลการวิจัย
ปัจจัยในการออกแบบการวิจยั
1. การตั้งคาถามในการวิจยั
2. ขอบเขตของสิ่ งที่จะศึกษา
3. ลักษณะของข้อมูลที่จะได้
4. เครื่ องมือที่จะเก็บรวบรวมข้อมูล
5. การวิเคราะห์ขอ้ มูล
6. การจะนาเสนอผลการศึกษา
ตัวอย่างคาถามในการวิจยั
มีการใช้ ICT ในการเรี ยนการสอนอย่างไร
โรงเรี ยนในเมืองมีคุณภาพดีกว่าโรงเรี ยนในชนบทจริ งหรื อไม่
การกวดวิชา ส่ งผลต่อการสอบเข้ามหาวิทยาลัยได้หรื อไม่
การสอนแบบ interactive และแบบ Lecture แบบไหนจะ
ดีกว่ากัน
5. จะทาอย่างไรเด็กพิการ (หูหนวก) จึงจะเรี ยนร่ วมกับเด็กอื่นในห้อง
เดียวกันได้
1.
2.
3.
4.
What?? How?? Why??
Design ในการวิจยั
1. การวิจยั เชิงสารวจ (Survey Research)
- ใช้แบบสอบถามความคิดเห็น โดยมีตวั แปรที่จะศึกษาตั้งแต่ 1 ตัว
ขึ้นไป
- เน้นการสุ่ มกลุ่มตัวอย่างที่ดี และครอบคลุมสิ่ งที่จะศึกษา
- ใช้สถิติพรรณนา และนาเสนอข้อมูลให้เห็นภาพเหตุการณ์
- บางทีเป็ นการสารวจเหตุการณ์ ปรากฏการณ์แบบท่องสารวจ
(explore) เพื่อให้เกิดการค้นพบบางสิ่ งใหม่ ๆ ขึ้นมา (Discover)
- Case Study บางกรณี กอ็ าจจะเป็ นการสารวจ ค้นพบได้เหมือนกัน
Survey Research
การวิจัยเชิงสารวจ
- การศึกษาระดับของทัศนคติ ความคิดเห็น การประเมิน
สมรรถนะ หรื อประเมินสถานการณ์ต่าง ๆ อาจจะมีเพียงตัวแปรตาม
ตัวเดียวหรื อหลายตัว
- การศึกษาทัศนคติ ความคิดเห็นเป็ นตัวแปรตาม โดยมีตวั แปรอิสระ
หลายตัวเพื่อจาแนกกลุ่ม แล้วเปรี ยบเทียบ
- การจัดลาดับค่านิยม ความสาคัญของตัวแปรตามหลาย ๆ ตัว
- การอธิบายสภาพปัญหา หรื อวิเคราะห์สถานการณ์ดว้ ยตัวแปรตาม
หลาย ๆ ตัว
ตัวอย่ างงานวิจัยเชิงสารวจ
การศึกษาทัศนคติของผูบ้ ริ หารสถานศึกษาที่มีต่อการปฏิรูปการศึกษา
ความคาดหวังของครู ที่มีต่อการจัดสวัสดิการในพื้นที่กนั ดาร
ค่านิยมด้านวิชาเอกของนักศึกษาในมหาวิทยาลัยเอกชน
การสารวจการใช้ ICT ในการเรี ยนการสอนในพื้นที่ชนบท
ระดับของสมรรถนะของข้าราชการพลเรื อนในการวางแผนพัฒนา
การศึกษา
6. การศึกษาสภาพการจัดการเรี ยนการสอนโดยการนาหลักปรัชญา
เศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในระดับประถมศึกษา
7. ความคิดเห็นของชาวมุสลิมที่มีต่อการแก้ปัญหาความไม่สงบในพื้นที่
จังหวัดชายแดนภาคใต้ของรัฐบาล
1.
2.
3.
4.
5.
Design ในการวิจยั
2. การวิจยั เชิงเปรี ยบเทียบ (Comparative Study)
- มีการแบ่งกลุ่มตัวอย่างมากกว่า 1 กลุ่ม มาเปรี ยบเทียบกัน
- ใช้แบบสอบวัดตัวแปร
- เน้นการสุ่ มกลุ่มตัวอย่างที่ดี
- ใช้สถิติเปรี ยบเทียบระหว่างกลุ่ม เช่น X-test, T-test, F-test หรื อ
อาจจะมีการวิเคราะห์หลาย ๆ ตัวแปรแบบ ANOVA, ANCOVA,
MANOVA
- งานวิจยั ในเชิงคุณภาพบางทีเปรี ยบเทียบแบบข้ามวัฒนธรรม
Comparative Study
การวิจยั เชิงเปรี ยบเทียบ
- การเปรี ยบเทียบข้อมูลระหว่างกลุ่มแบบไม่มีทิศทาง เช่น ครู ที่มีวฒ
ุ ิแตกต่างกัน
จะมีสมรรถนะในการทางานแตกต่างกัน
- เปรี ยบเทียบข้อมูลระหว่างกลุ่มแบบมีทิศทาง เช่น ครู ที่มีคุณวุฒิสูงย่อมมี
สมรรถนะในการทางานสู งกว่า
- เปรี ยบเทียบผลของสองสิ่ ง เช่น ผลการสอนคุณธรรมเด็กแบบใช้การ์ ตูน เทียบกับ
ผลการสอนแบบใช้การเล่านิ ทาน
- เปรี ยบเทียบระหว่างการวัดก่อนและวัดหลัง
- เปรี ยบเทียบระหว่างสังคม หรื อระหว่างวัฒนธรรม
- การเปรี ยบเทียบแบบใช้ตวั แปรหลายทาง (Two way or Three way ANOVA)
ตัวอย่ างการวิจัยเชิงเปรียบเทียบ
1. การเปรี ยบเทียบผลสัมฤทธิ์ การการเรี ยนระหว่ างนักเรี ยนใน
ชนบทและในเมือง
2. การศึกษาความแตกต่ างของการสอนวิชาศีลธรรมของ
นักศึกษาฝึ กสอนที่มีสาขาวิชาเอกที่ต่างกัน
3. การเปรี ยบเทียบผลของการสอนแบบ Interactive และการ
สอนแบบ Lecture
4. การศึกษาพฤติกรรมการออมของนักศึกษาในมหาวิทยาลัยที่ มี
แรงจูงใจใฝ่ สั มฤทธิ์ ที่แตกต่ างกัน
5. วิธีการประเมินคุณภาพสถานศึกษาในประเทศไทยและ
ประเทศเกาหลีใต้
Design ในการวิจยั
3. การวิจยั เชิงทดลอง (Experimental Research)
- จะต้องมีการจัดกระทา (Treatment)
- เน้นการควบคุมตัวแปรแทรกซ้อน
- ใช้การเปรี ยบเทียบระหว่างกลุ่มก็ได้ หรื อภายในกลุ่ม (Pre-test, Posttest) ก็ได้ หรื อมีกลุ่มควบคุมด้วยก็ได้ (with control group)
- ใช้สถิติได้หลายอย่างขึ้นอยูก่ บั การออกแบบการทดลอง และลักษณะ
ของข้อมูลว่ามีอะไรเป็ นตัวควบคุมปัจจัยแทรกซ้อน เช่น Dependence
T-test, ANOVA, ANCOVA, MANOVA
Experimental Research
การวิจยั เชิงทดลอง
- การทดลองในสนาม (Field experimental) เช่นการ
จัดสถานการณ์ระดมคนในค่ายเยาวชน
- การทดลองในห้องปฏิบตั ิการ (Laboratory
experimental) เช่น การทดลองสอนเด็กในห้องทดลองที่จดั
ขึ้น
- ทดลองผลของ 1 treatments
- ทดลองเปรี ยบเทียบ 2 treatments หรื อมากกว่า
- ทดลองดูวา่ จะเกิดผลอะไรโดยไม่คาดคิดมาก่อน
(Exploratory experimental)
ตัวอย่างงานวิจยั เชิงทดลอง
1. ประสิ ทธิ ผลของการฝึ กจิตลักษณะและทักษะการปลูกฝังจริ ยธรรมที่มีต่อพฤติกรรม
การทางานของครู
2. การทดลองนาร่ องใช้นวัตกรรมการสอนธรรมศึกษาแบบช่วงชั้นในสถานศึกษา
3. การทดลองเปรี ยบเทียบผลการเรี ยนรู ้ดา้ นคุณธรรมระหว่างการสอนด้วยสื่ อหนังสื อ
กับการสอนด้วยสื่ อภาพยนตร์
4. ผลการพัฒนากิจกรรมนันทนาการในชั้นเรี ยนสาหรับเด็กที่เรี ยนรู ้ชา้ (Slow
learners)
5. การทดลองสอนด้วยภาษากระเหรี่ ยงในนักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 1 โรงเรี ยน
บ้านน้ าหอม จ.ตาก
6. การใช้กิจกรรมฝึ กให้ควบคุมตนเองในกลุ่มผูป้ ่ วยโรคเบาหวานที่ไม่สามารถรักษา
ด้วยยา
วิธีการทางานของเรา
1. กาหนดหัวข้ อหรือประเด็นทีส่ นใจศึกษามา 1อย่ างเพือ่ กาหนดปัญหา
การวิจัย
2. เลือกรูปแบบงานวิจัยมา 1 เรื่อง เพือ่ พัฒนาให้ เป็ นโครงการวิจัย
3. ช่ วยกันวางแผนหรือออกแบบการวิจัย
4. พัฒนาคุณภาพของเครื่องมือวิจัย
5. ให้ เวลาไปหาข้ อมูลและเตรียมข้ อมูล
6. วิเคราะห์ ข้อมูลและสรุปผล
7. ช่ วยกันจัดทารายงานผลการวิจัย
การพัฒนาหัวข้อในงานวิจยั เชิงสารวจ
1. ให้เลือกประเด็นปัญหาที่สนใจ เช่น ทัศนคติ ความคิดเห็น
สภาพปัญหา ความต้องการ สมรรถภาพของผูป้ ฏิบตั ิงาน การ
ใช้อินเตอร์เน็ทของนักเรี ยน ฯลฯ (กาหนดตัวแปรตาม)
2. ให้วเิ คราะห์วา่ ประเด็นนั้นเกี่ยวข้อง หรื อเกิดได้อย่างไร
(กาหนดตัวแปรต้น)
3. วางแผนว่าเราจะศึกษาในกลุ่มใด (กาหนดขอบเขตที่จะศึกษา)
4. เลือกวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล (ทาแบบสารวจ)
การพัฒนาหัวข้อในงานวิจยั เชิงทดลอง
1. ให้เลือกสิ่ งที่สนใจจะทดลอง เช่น หลักสูตร สื่ อ วิธีการฝึ กอบรม
กิจกรรมสาหรับผูเ้ รี ยน เทคนิควิธีการเล่นกีฬาบางอย่าง ฯลฯ (กาหนด
ตัวแปรต้นในการทดลอง)
2. ให้วิเคราะห์วา่ สิ่ งนั้น หรื อทาสิ่ งนั้นแล้ว จะทาให้เกิดผลอย่างไร
(กาหนดตัวแปรตาม)
3. วางแผนว่าเราจะทดลองในกลุ่มใดบ้างจึงจะทราบผล (กาหนดกลุ่ม
ตัวอย่างที่จะทดลอง)
4. พัฒนาสิ่ งที่จะทดลองนั้นให้เป็ น treatment
5. เลือกวิธีวดั ผล (ทาแบบเก็บข้อมูล)
การพัฒนาหัวข้อในงานวิจยั เชิงประเมิน
1. ให้เลือกนโยบาย โครงการ กิจกรรมที่สนใจ หรื อสิ่ งที่ได้
ดาเนินงานไปแล้ว และเราต้องการทราบผล (กาหนดสิ่ งที่เรา
จะประเมิน)
2. ให้วเิ คราะห์วา่ จะประเมินอะไร แง่มุมไหน (กาหนด
Model ในการประเมิน)
3. กาหนดตัวบ่งชี้ผลการประเมิน (กาหนดตัวแปรตามและข้อมูล
ที่ตอ้ งการ)
4. เลือกวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล (ทาแบบสารวจ)
กิจกรรมที่ 1
ให้ ทุกท่ านกาหนดหัวข้ อวิจัย คนละ 1 เรื่อง
ประกอบด้ วย
1. ชื่อเรื่อง
2. วัตถุประสงค์
3. วิธีการศึกษา
การเขียนโครงการวิจยั
1. เขียนสั้น ๆ เป็ น concept paper ว่าคิดจะทาอะไร มี
วัตถุประสงค์อะไร หรื อเขียน Research Topic
2. เขียนเป็ นโครงการวิจยั หรื อข้อเสนอโครงการวิจยั ซึ่ งกาหนด
เป็ นขั้นตอน วิธีการ แผนการทางานที่ระบุงบประมาณ
3. เขียนเป็ นโครงร่ างการวิจยั หรื อ Proposal ซึ่งประกอบด้วย
แนวคิดทฤษฎี และแสดงเครื่ องมือที่จะใช้ในการวิจยั บางครั้ง
เขียนเป็ นรายงานวิจยั 3 บทแรก
การ Review เอกสารในงานวิจัยโดยทั่วไป
1. พูดถึงสิ่ งที่จะศึกษา หรื อตัวแปรตามว่าคืออะไร เป็ นมาอย่างไร วัด
อย่างไร อาจจะอ้างถึงบุคคลอื่นที่มีการศึกษามาแล้วบ้าง
2. อธิบายว่าเกี่ยวข้องกับตัวแปรอิสระใดบ้าง แล้วพูดถึงตัวแปรอิสระที
ละตัวว่ามีแนวคิดทฤษฎีเป็ นมาอย่างไร
3. อ้างถึงผลการศึกษาที่ผา่ นมาเกี่ยวกับตัวแปรตามและตัวแปรอิสระ เพื่อ
สรุ ปให้เป็ นสมมุติฐาน
4. เมื่อ review ครบทุกตัวแปรแล้วก็สรุ ปเป็ นสมมุติฐานของงานวิจยั
นี้วา่ น่าจะเป็ นอย่างไร
การ Review เอกสารในงานวิจัยเชิงทดลอง (แบบที1
่ )
1. พูดถึง Treatment หรื อสิ่ งที่อยากจะรู ้ผล ซึ่งเป็ นตัวแปรอิสระ
ในการทดลองว่าคืออะไร เป็ นมาอย่างไร จะมีผลอย่างไร อาจจะอ้าง
ถึงบุคคลอื่นที่มีการศึกษามาแล้วบ้าง
2. อธิบายว่าจะส่ งผลต่อตัวแปรตามใดบ้าง แล้วพูดถึงตัวแปรตามนั้นที
ละตัวว่ามีแนวคิดทฤษฎีเป็ นมาอย่างไร
3. อ้างถึงผลการศึกษาที่ผา่ นมาเกี่ยวกับตัวแปรตามและตัวแปรอิสระ เพื่อ
สรุ ปให้เป็ นสมมุติฐาน
4. เมื่อ review ครบทุกตัวแปรแล้วก็สรุ ปเป็ นสมมุติฐานของงานวิจยั
นี้วา่ น่าจะเป็ นอย่างไร
การ Review เอกสารในงานวิจัยเชิงทดลอง (แบบที่ 2)
1. พูดถึงสิ่ งที่จะศึกษา หรื อตัวแปรตามว่าคืออะไร เป็ นมาอย่างไร วัด
อย่างไร
2. อธิบายว่าเกิดขึ้นมาได้จากตัวแปรจัดกระทาใดได้บา้ ง แล้วสรุ ปว่าจะ
พัฒนาตัวแปรตามด้วยวิธีน้ นั
3. อธิบายตัวแปรจัดกระทาว่าจะสร้าง หรื อพัฒนาขึ้นมาได้อย่างไร
4. อธิบายการทดลองในกลุ่มตัวอย่างที่ตอ้ งการ
5. อ้างถึงผลการศึกษาที่ผา่ นมาเกี่ยวกับตัวแปรตามและตัวแปรอิสระที่จดั
กระทา เพื่อสรุ ปให้เป็ นสมมุติฐาน
การ Review เอกสารในงานวิจัยเชิงประเมิน
1. พูดถึงสิ่ งที่จะศึกษา หรื อนโยบาย โครงการ แผนงานต่าง ๆ ว่าคืออะไร
เพื่ออะไร เป็ นมาอย่างไร
2. อธิบายว่าอยากจะรู ้ผลอะไร แล้วสรุ ปว่าจะประเมินด้วย model
แบบใด
3. อธิบายตัวแปรตาม หรื อตัวบ่งชี้ที่จะประเมิน
4. อธิบายหลักเกณฑ์ในการประเมิน
5. อ้างถึงผลการศึกษาที่ผา่ นมาเกี่ยวกับ นโยบาย โครงการ หรื อแผนงาน
นั้น ๆ
กิจกรรมที่ 2
ให้พฒั นาโครงการวิจยั คนละ 1 โครงการ ประกอบด้วย
• ชื่อเรื่ อง
• ที่มาของปัญหาในการวิจยั
• วัตถุประสงค์ที่จะศึกษา
• แนวคิดทฤษฎีในการศึกษา
• สมมุติฐาน
• กรอบแนวคิดในการวิจยั Design และตัวแปร
• ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
• เครื่ องมือและการพัฒนาคุณภาพ
• แผนการวิเคราะห์ขอ้ มูล
การสร้ างและพัฒนานวัตกรรม
Innovation ในที่น้ ี หมายถึง นวัตกรรมทางการศึกษา หรื อนวัตกรรม
ทางสังคม ซึ่งจะเป็ นตัวแปรจัดกระทาในการทดลอง ได้แก่
1. หลักสูตร เนื้อหา แผนการสอน วิธีการสอนที่มีอยูแ่ ล้ว แต่ยงั ไม่ได้ใช้
หรื อยังไม่รู้ผล
2. จัดทาขึ้นมาให้เป็ นนวัตกรรม
3. ชุดฝึ กอบรม หรื อชุดกิจกรรม
4. เครื่ องมือ อุปกรณ์ที่นามาใช้ทดแทนของเดิม
คิดค้นและแสวงหานวัตกรรมอย่างไร
ขัน้ วิเคราะห์
จุดที่จะพัฒนา
ศึกษาปัญหา หา
จุดพัฒนา
ขัน้ แสวงหา
นวัตกรรม
 ศึกษาหลักการที่เกี่ยวข้อง
 คิดนวัตกรรม/วางแผนสร้าง
 สร้างนวัตกรรม
 ทดลองใช้หาประสิทธิภาพ
 ปรับปรุงนวัตกรรม
ขัน้ ทดลองใช้
นวัตกรรม
ทดลองใช้จริง
ศึกษาหลักการที่เกี่ยวข้อง
คิด/วางแผนสร้างนวัตกรรม
ศึกษาหลักการสอน ผลงานวิจยั
แนวคิด ทฤษฎีต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง กับ
จุดที่จะพัฒนา
วัตถุประสงค์ของนวัตกรรม
หลักการ แนวคิด ที่เป็ น
พื้นฐาน ายและโครงสร้างของ
ขอบข่
ลั
นวัตกรรมกษณะทางเทคนิ ค
ลักษณะการนาไปใช้และ
เงืคุ
อ่ นไข ณภาพ/ประสิทธิภาพของ
นวัตกรรม
การคิด/วางแผนสร้างนวัตกรรม
วัตถุประสงค์
ของนวัตกรรม
การหาประสิทธิภาพ
ของนวัตกรรม
หลักการ/แนวคิด
ที่เป็ นพื้นฐาน
ลักษณะการนาไปใช้
และเงือ่ นไข
ขอบข่ายและโครงสร้าง
ของนวัตกรรม
ลักษณะทางเทคนิ ค
ของนวัตกรรม
สร้างนวัตกรรม
ศึกษารายละเอียดของนวัตกรรม
วางแผนสร้างนวัตกรรม
ดาเนิ นการสร้างนวัตกรรมตามแผน
ทดลองหาประสิทธิภาพ
ทดลองใช้ก่อนนาไปใช้จริง
ปรับปรุงนวัตกรรม
ปรับปรุงแก้ไขจุดบกพร่องก่อนนาไปใช้จริง
แบบฝึ กการควบคุมน้ าหนักสาหรับนักกีฬาอ้วน 
ขัน้ ที่ 1
ศึกษาหลักการที่เกี่ยวข้อง
 สมรรถนะทางกีฬาของคนอ้วน
 ความสัมพันธ์ของน้ าหนักกับสมรรถนะ
 วิธกี ารควบคุมน้ าหนักในแต่ละระดับ
 งานวิจยั ที่เกี่ยวข้อง
 ตัวอย่างแบบฝึ ก
 หลักจิตวิทยาการที่เกี่ยวข้อง
ขัน้ ที่ 2
คิดค้นและวางแผน
สร้างนวัตกรรม
วัตถุประสงค์
1. ให้เข้าใจความสัมพันธ์ของ
น้ าหนักกับสมรรถภาพ
2. ควบคุมพฤติกรรมของตนเองได้
3. รักษาสมรรถนะไว้ได้
 หลักการ/แนวคิดพื้นฐานของนวัตกรรม
 การสร้างแบบฝึ ก
 จิตวิทยาที่เกี่ยวข้อง
 กิจกรรมและขัน้ ตอนการฝึ ก
 งานวิจยั /ผลงานที่เกี่ยวข้องกับการ
สร้างแบบฝึ ก
การหาคุณภาพ/ประสิทธิภาพของแบบฝึ กการควบคุมนา้ หนัก
สาหรับนักกีฬาอ้วน
หาคุณภาพ โดยให้ผูเ้ ชี่ยวชาญจานวน 5 คน
ประเมินคุณภาพของเอกสารแบบฝึ ก
หาประสิทธิภาพ โดยให้นาแบบฝึ กไปทดลองใช้
กับนักกีฬาจานวนหนึ่ ง
การสร้ างนวัตกรรม สาหรับผู้เรียน
Innovation learning
ปัญหา
วิธีการแก้ปัญหา
ปัญหาคลี่คลายไป
จะต้องคิดและสร้าง Innovation นี้ข้ ึน
Model การวิจัยชั้นเรียนโดยใช้ นวัตกรรม
ลักษณะเดิมของเด็ก
ให้ treatment แก่เด็ก
เด็กพัฒนาการดีข้ ึน
treatment ที่จดั ให้แก่เด็ก คือ นวัตกรรมที่ตอ้ งคิดและสร้างขึ้นมา
รูปแบบของนวัตกรรม
- สื่ อการเรี ยนการสอน
- เกม, เทคนิคการสอน
- แผนการสอน, เนื้อหาความรู ้เพิ่มเติม
- ชุดฝึ กอบรม
- รู ปแบบการแนะนาให้คาปรึ กษา
- รู ปแบบการอบรมเลี้ยงดู, การสัง่ สอน
- อื่นๆ
การให้ treatment ให้ ตรงกับอาการของเด็ก
หรือ
การใช้ นวัตกรรมให้ ตรงกับลักษณะที่ต้องการพัฒนา
ปัญหา
1. ผลการเรี ยนตกต่า
2. ปัญหาพฤติกรรมเด็ก
3. ปัญหาสุ ขภาพเด็ก
Treatment
ใช้นวัตกรรมการสอน,
เกมเทคนิคการสอน
ชุดฝึ กอบรม, รู ปแบบการ
แนะนาให้คาปรึ กษา บันทึกการ
ปรับพฤติกรรมเด็ก
รู ปแบบการแนะนาให้
คาปรึ กษา การควบคุมพฤติกรรม,
การช่วยเหลือทางสุ ขอนามัย
ปัญหา
Treatment
4. ปัญหาทาง
ครอบครัว
รู ปแบบการอบรมเลี้ยงดู,
การสัง่ สอนการให้คาปรึ กษา,
การช่วยเหลือด้านอื่น
5. ปัญหาทางจิตใจ
และทัศนคติ
การฝึ กพัฒนาทางจิตวิทยา,
การปรับทัศนคติ การฝึ กสมาธิ หรื อ
การใช้ชุดการฝึ กอบรม
หลักสูตรสาหรับการแก้ ปัญหา
Special curriculum for problem solving
หลักสูตร คือ ประสบการณ์
การเรี ยนรู้ที่จดั ให้กบั ผูเ้ รี ยน
ครู จึงต้องมีหน้าที่จดั ทาหลักสูตร
แนวคิดของหลักสูตร
จุดมุ่งหมายการเรี ยนรู้
จัดหลักสูตรให้กบั เด็ก
เด็กบรรลุวตั ถุประสงค์
แนวคิดของหลักสู ตรสาหรับการแก้ ปัญหาเฉพาะ
ปัญหาใน
ชั้นเรี ยน
กาหนดเป้ าหมาย
ของการแก้ปัญหา
กาหนดหลักสู ตร
เฉพาะเพื่อ
การแก้ปัญหานั้น
แก้ไขปั ญหา
ในชั้นเรี ยนได้
แก้ไขปั ญหา
ในชั้นเรี ยนได้
ปรับแก้หลักสู ตรหรื อ
ทาหลักสู ตรใหม่
แก้ไขปั ญหา
ไม่หมด
ติดตาม
ประเมินผล
การแก้ปัญหา
หลักสู ตร คือ กิจกรรมทางการศึกษาที่จดั ให้กบั ผูเ้ รี ยน
มี 3 มิติ คือ
1. การวางแผน จัดทาหรื อยกร่ างหลักสูตร
(Curriculum Planning)
2. การใช้หลักสูตร (Curriculum Implementation)
3. การประเมินหลักสูตร (Curriculum Evaluation)
แนวคิดของหลักสู ตร
เริ่ มจากจุดมุ่งหมายทางการศึกษาต้องการอย่างไร
ทาอย่างไรจึงจะบรรลุจุดมุ่งหมายนั้น
สิ่ งที่ทานั้นใช้วิธีการใดจึงจะมีประสิ ทธิภาพ
จะทราบได้อย่างไรว่าบรรลุจุดมุ่งหมายแล้ว
แนวคิดในการสร้ างและพัฒนาหลักสู ตร
วิเคราะห์หลักสูตรเดิม
วิเคราะห์สภาพแวดล้อม
วิเคราะห์ทรัพยากร
จัดทาหลักสู ตร
วิเคราะห์กระบวนการเรี ยน
การสอน
วิเคราะห์เด็ก
จุดมุ่งหมายทางการศึกษา เป็ นจุดเริ่มต้ นของหลักสู ตร
- จุด (ความ) มุ่งหมายของการศึกษาในระดับชาติ (Goal)
- จุด (สิ่ ง) มุ่งหมายของการศึกษาในระดับหรื อประเภท
การศึกษา (Purposes)
- จุดมุ่งหมายของการศึกษาในระดับหลักสูตร (Aims)
- จุดหมาย (เป้ าหมาย) ของการศึกษาในระดับวิชา (Objectives)
- จุดหมาย (วัตถุประสงค์) ของการศึกษาในระดับการเรี ยนการ
สอน (Behavioral Objectives)
ลักษณะของหลักสู ตร
1. หลักสูตรของระดับการศึกษา เช่น หลักสูตรประถมศึกษา
หลักสูตรมัธยมศึกษา เป็ นต้น มี core curriculum และ
local curriculum
2. หลักสูตรรายวิชา เป็ นหลักสูตรย่อยของหลักสูตรระดับการศึกษา
เช่น หลักสูตรคณิ ตศาสตร์ หลักสูตรภาษาอังกฤษ เป็ นต้น
3. หลักสูตรการผลิตบุคลากร เป็ นหลักสูตรที่มุ่งสร้างผลผลิตด้าน
บุคลากร เช่น หลักสูตรผลิตแพทย์ หลักสูตรเนติบณ
ั ฑิต ฯลฯ
4. หลักสูตรการฝึ กอบรม เป็ นหลักสูตรเฉพาะกิจ ระยะสั้น ๆ
เพื่อให้ความรู ้ในเฉพาะเรื่ อง
5. แผนการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้ จัดเป็ นหลักสูตรอีกชนิ ดหนึ่งก็ได้
เช่นแผนการเรี ยนการสอน แผนการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้เฉพาะ
ด้าน ได้แก่ค่ายลูกเสื อ ค่ายธรรมะ ฯลฯ
รายละเอียดของหลักสู ตร
1. สิ่ งพึงประสงค์ (อาจจะแยกเป็ นเป้ าหมาย และวัตถุประสงค์)
2. โครงสร้างของหลักสูตร (โดยแยกเป็ นเนื้อหา หรื อกลุ่มสาระ
การเรี ยนรู ้)
3. วิธีการสอน (รวมทั้งการจัดตารางสอน และการจัดกิจกรรมการ
สอน)
4. สื่ อและอุปกรณ์การสอน (รวมทั้งใบงาน แบบฝึ กหัด เกม หรื อ
ข้อสอบที่ครู สร้างขึ้น)
5. การวัดและประเมินผล (รวมทั้งเกณฑ์ และระบบการบันทึกผล)
Aptitude
Attitude
Contents
สถานที่
เวลา
Skill
สิ่ งที่พงึ ประสงค์
Environment
กลุ่มเพื่อน
หนังสื อ
ผูส้ อน
เกม
สื่ อ
Learning
Activities
กิจกรรม
testing
เทคนิคการสอนและการจัดการชั้นเรี ยน
Teaching Techniques
1. Child Center
2. Inclusive Learning
3. Interactive Learning
4. การสอนแบบคละชั้น
5. การสอนแบบควบชั้น
6. การสอนแบบต่างกลุ่มอายุ
7. การออกแบบการสอนด้วยเกม
8. การออกแบบการเรี ยนด้วยสื่ อ
9.
10.
11.
12.
13.
14.
15.
16.
Gender Education
Special Education
Human Right Education
การสอนด้วย Role play
การสอนด้วยเกม
การสอนด้วยโครงงาน
การสอนให้เรี ยนด้วยตนเอง
การเรี ยนปนเล่น
การออกแบบการสอน
Teaching Design
1. ตรวจสอบสิ่ งที่พึงประสงค์
2. วิเคราะห์วา่ มีวิธีใดบ้างที่จะเกิดสิ่ งที่พึงประสงค์น้ นั หรื อมีเงื่อนไข
การเรี ยนรู ้อย่างไร
3. เลือกวิธีที่ดีที่สุดสาหรับเด็กมาจัดทาแผนการเรี ยนการสอน
4. ลาดับสิ่ งที่จะเรี ยนรู ้ให้มี consequence
5. ตรวจสอบหรื อประเมินผลว่าการจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอนนี้จะ
ได้ผลตามวัตถุประสงค์หรื อไม่
6. วางแผนขจัดปัจจัยแทรกซ้อนที่จะทาให้การเรี ยนการสอนไม่
บรรลุผล
การออกแบบการใช้ สื่อ
ตรวจสอบสิ่ งที่พึงประสงค์
ตรวจสอบเนื้อหาการเรี ยนรู ้
วิเคราะห์วา่ มีสื่อใดบ้างที่มีเนื้อหาการเรี ยนรู ้น้ นั
ศึกษาวิธีการใช้สื่อที่จะนาเนื้อหาการเรี ยนรู ้น้ นั สู่ผเู ้ รี ยนได้
เลือกสื่ อที่เหมาะสมที่สุดมาจัดทาแผนการเรี ยนการสอน
ตรวจสอบหรื อประเมินผลว่าการจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอนนี้
จะได้ผลตามวัตถุประสงค์หรื อไม่
7. วางแผนขจัดปัจจัยแทรกซ้อนที่จะทาให้การเรี ยนการสอนไม่
บรรลุผล
1.
2.
3.
4.
5.
6.
Classroom Management
หลักการจัดการชั้นเรียน
1. ให้ผสู ้ อนจัดการกับผูเ้ รี ยนให้สามารถบรรลุวตั ถุประสงค์ของการ
เรี ยนการสอนให้ได้
2. ให้ผสู ้ อนจัดสภาพแวดล้อมหรื อสิ่ งแวดล้อมสาหรับการเรี ยนรู ้ให้
ผูเ้ รี ยนเกิดการเรี ยนรู ้
3. ให้ผสู ้ อนขจัดปัจจัยที่จะทาให้ผเู ้ รี ยนเกิดการเรี ยนรู ้ที่ผดิ หรื อไม่
สามารถเรี ยนรู ้ได้ตามที่ตอ้ งการ
4. ให้ผสู ้ อนแสดงถึงผลสัมฤทธิ์ (Achievements) ของการ
เรี ยนนั้น
วิธีจดั การกับชั้นเรี ยน
1. ศึกษาและวิเคราะห์หลักสูตร
2. จัดทาแผนการการเรี ยนการสอน
3. จัดสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมกับการเรี ยน
4. วิเคราะห์ลกั ษณะของผูเ้ รี ยน
5. จัดกิจกรรมการเรี ยนการสอน
6. วิเคราะห์และประเมินผลการเรี ยน
การพัฒนานวัตกรรมทีม่ ีอยู่
สิ่ งที่มีอยูแ่ ล้ว ให้วิเคราะห์ดูวา่ สามารถใช้แก้ปัญหาของเราได้หรื อไม่ หาก
ได้ ควรนาสิ่ งที่มีอยูแ่ ล้วมาพัฒนาคุณภาพดังนี้
1.
2.
3.
4.
5.
เลือกเอาเฉพาะส่ วนที่เหมาะสมกับงานของเรา
ปรับแก้ไขภาษา หรื อวิธีการให้เหมาะกับงานของเรา
ให้ผเู้ ชี่ยวชาญตรวจสอบความเหมาะสม
ทดลองใช้กบั กลุ่มตัวอย่างจานวนหนึ่ง
ประเมินประสิ ทธิภาพของนวัตกรรม
กิจกรรมที่ 3
จงคิดวิธีการสร้างหรื อพัฒนานวัตกรรมสาหรับการวิจยั
เชิงทดลอง โดยมีรายละเอียดดังนี้
•
•
•
•
จะพัฒนาหรื อแก้ปัญหาอะไร
ด้วยวิธีใด
วิธีแก้ปัญหามีลกั ษณะอย่างไร
หากสร้างขึ้นเองให้อธิบายการสร้าง หากนาที่มี
อยูแ่ ล้วมาพัฒนาให้อธิบายการพัฒนาคุณภาพ
การพัฒนาเครื่องมือเก็บรวบรวมข้ อมูล
• แบบทดสอบ
• แบบสอบถาม
• แบบสัมภาษณ์
• แบบสังเกต
• แบบประเมิน
วิธีการและขั้นตอนการสร้างแบบสอบถาม
•
•
•
•
•
•
•
สร้างนิยามปฏิบตั ิการจากการ review เอกสาร
กาหนดโครงสร้าง หรื อประเด็นเนื้อหาของแบบสอบถาม
สร้างข้อคาถาม ตามโครงสร้าง หรื อประเด็นเนื้อหา
ตรวจสอบความถูกต้องโดย face validity หรื อ IOC
ทดลองใช้กบั กลุ่มตัวอย่างกลุ่มอื่น
หาคุณภาพของแบบสอบถาม
คัดเลือกเฉพาะข้อตาถามที่มีคุณภาพ
กิจกรรมที่ 4
จงสร้างแบบเก็บรวบรวมข้อมูลมา 1 ชุด แบบใดก็ได้ หรื อนาเอาแบบ
เก็บข้อมูลที่มีอยูแ่ ล้วมาพัฒนาก็ได้โดยมีรายละเอียดดังนี้
• มีนิยามปฏิบตั ิการ
• มีโครงสร้าง หรื อประเด็นเนื้อหาของแบบสอบถาม
• มีขอ้ คาถาม ตามโครงสร้าง หรื อประเด็นเนื้อหา
• มีการทา face validity หรื อ IOC
• วางแผนทดลองใช้กบั กลุ่มตัวอย่างกลุ่มอื่น
• หาคุณภาพของแบบสอบถาม
ชนิดของตัวแปรจัดกระทา
1. หลักสูตรรายวิชา เป็ นหลักสูตรย่อยของหลักสูตรระดับการศึกษา
เช่น หลักสูตรคณิ ตศาสตร์ หลักสูตรภาษาอังกฤษ เป็ นต้น
2. สื่ อการสอน หรื อชุดอุปกรณ์การเรี ยนการสอน แผนการสอน
รวมทั้งเทคนิคการสอน
3. ชุดการฝึ กอบรม เป็ นหลักสูตรเฉพาะกิจ ระยะสั้น ๆ เพื่อให้
ความรู ้ในเฉพาะเรื่ อง หรื อพัฒนาทักษะบางประการ
4. แผนการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้ จัดเป็ นหลักสูตรอีกชนิ ดหนึ่งก็ได้
เช่นแผนการเรี ยนการสอน แผนการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้เฉพาะ
ด้าน ได้แก่ค่ายลูกเสื อ ค่ายธรรมะ ฯลฯ
5. การบันทึกผลการดูแลนักเรี ยนรายคน กรณี ศึกษาเป็ นรายกรณี
แบบ case study
รายละเอียดของหลักสู ตร
1. สิ่ งพึงประสงค์ (อาจจะแยกเป็ นเป้ าหมาย และวัตถุประสงค์)
2. โครงสร้างของหลักสูตร (โดยแยกเป็ นเนื้อหา หรื อกลุ่มสาระ
การเรี ยนรู ้)
3. วิธีการสอน (รวมทั้งการจัดตารางสอน และการจัดกิจกรรมการ
สอน)
4. สื่ อและอุปกรณ์การสอน (รวมทั้งใบงาน แบบฝึ กหัด เกม หรื อ
ข้อสอบที่ครู สร้างขึ้น)
5. การวัดและประเมินผล (รวมทั้งเกณฑ์ และระบบการบันทึกผล)
กิจกรรมที่ 5
จงสร้างนวัตกรรม หรื อแผนการจัดกระทาในการ
ทดลอง โดยมีรายละเอียดดังนี้
1. ให้ระบุวา่ จะทาอะไร กับใคร
2. มีวตั ถุประสงค์เพื่ออะไร
3. มีข้นั ตอนการจัดกระทาอย่างไร