การอ่านตามแนว PISA : วิไลวรรณ ชูรัตน์

Download Report

Transcript การอ่านตามแนว PISA : วิไลวรรณ ชูรัตน์

การอ่ านตามแนว PISA
โดย
วิ ไ ลวรรณ
ชู รั ต น์
PISA คืออะไร
PISA มาจากคาว่า
Programme for
International Student Assessment
คือ โครงการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ ของประเทศสมาชิกองค์กร
เพือ่ ความร่ วมมือและพัฒนาเศรษฐกิจ
ดาเนินการโดย
OECD ( Organization for Economic
Co-operation and Development )
ความเป็ นมา ของ PISA
• เริ่มดาเนินการมาตั้งแต่ ปี 1999 ( พ.ศ. 2541 )
• มีประเทศเข้ าร่ วมโครงการ 65 ประเทศ
• ประเทศไทยเข้ าร่ วมโครงการเมื่อ ปี 2543
• ประเทศเขตเศรษฐกิจเอเชียทีเ่ ข้ าร่ วม มี
เกาหลี จีน-ฮ่ องกง จีน-ไทเป ญีป่ ุ่ น สิ งคโปร์ อินโดนีเซีย
ไทย ปี 2555 เพิม่ มาเลเซีย เวียดนาม
* ในปี 2555 จะเป็ นการประเมินครั้งที่ 5 โดยจะทาการประเมินใน
เดือนสิ งหาคม นี้
จุดประสงค์ ของการประเมิน
 เพือ่
-
หาตัวชี้วดั คุณภาพการศึกษาให้ แก่ประเทศสมาชิกและประเทศทีเ่ ข้ า
ร่ วมโครงการ
 - ประเมินศักยภาพของนักเรียนทีม
่ ีอายุ 15 ปี ในการใช้ ความรู้ ทักษะ
จาเป็ น เพือ่ เผชิญกับโลกในชีวติ จริง
โดย
ทาการประเมินต่ อเนื่องทุกๆ 3 ปี
ผู้รับการประเมิน / ผู้เกี่ยวข้ อง
 ผูร้ ับการประเมินคือ นักเรี ยนในระดับชั้น ม. 3, ม.4 ที่มีอายุ 15 ปี
จาก
 โรงเรี ยนในสังกัด สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
 โรงเรี ยนในสังกัดสานักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน
 โรงเรี ยนในสังกัดสานักการศึกษากรุ งเทพมหานคร
 โรงเรี ยนในสังกัดสานักประสานและพัฒนาการจัดการศึกษาท้องถิ่น
 โรงเรี ยนสาธิตของมหาวิทยาลัย
 วิทยาลัยในสังกัดสานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
ประเมินอะไรบ้ าง
 ทาการประเมินสมรรถนะ 3 ด้าน คือ
( Reading Literacy )
 2. ด้ านคณิตศาสตร์ ( Mathematic Literacy )
 3. ด้ านวิทยาศาสตร์ ( Scientific Literacy)
การประเมินแต่ ละระยะเน้ นหนักดังนี้
ระยะที่ 1 ( pisa 2000 /2009 ) เน้ นการอ่ าน 60% วิทยาศาสตร์ 20 %
คณิตศาสตร์ 20%
ระยะที่ 2 ( pisa 2003 / 2012 )เน้ นคณิตศาสตร์ 60%วิทยาศาสตร์ 20% การอ่ าน 20%
ระยะที่ 3 ( pisa 2006 / 2015) เน้ น วิทยาศาสตร์ 60% คณิตศาสตร์ 20% การอ่ าน 20%
 1. ด้ านการอ่ าน
ลักษณะการประเมินของ PISA
 ไม่ ถามเนือ้ หาสาระโดยตรงตามหลักสู ตร
 เน้ นวัดสมรรถนะ 3 ด้ าน คือ ด้ านการอ่ าน ด้ านคณิตศาสตร์ และ
ด้ านวิทยาศาสตร์
 เน้ นการคิดวิเคราะห์ และหาคาอธิบาย
 มีท้งั รู ปแบบเลือกตอบและแบบเขียนตอบ คาถามเป็ นปลายเปิ ด ซึ่ง
นักเรียนต้ องสะท้ อนความคิดของตนออกมาเป็ นคาตอบ
 การให้ คะแนนขึน
้ กับเหตุผลของการตอบ คาตอบต่ างกัน อาจได้ คะแนน
เต็มเหมือนกันอยู่ทเี่ หตุผลทีส่ อดคล้อง คาอธิบายสมเหตุสมผล
การอ่ านตามแนว
PISA
(Reading Literacy )
การอ่ านเพือ่ การเรียนรู้ ตามแนว PISA มีความหมายมากกว่ าการอ่านเพือ่ เข้ าใจ
ความหมายของคา ของข้ อความ แต่ เป็ นการอ่ านที่ .......
1. การค้ นสาระ ( Retrieving Information) เป็ นความสามารถ
ติดตามความหมายที่สกัดเอาสาระ ของสิ่ งที่อ่านออกมาได้
2. การตีความ (Interpretation ) เป็ นความเข้ าใจข้ อความที่ได้อ่าน สามารถ
ตีความ แปลความสิ่ งที่อ่านได้ คิดวิเคราะห์ เนือ้ หาและรู ปแบบของข้ อความที่
เกีย่ วข้ องกับสิ่ งต่ างๆในชีวติ จริงและในโลก
3. การวิเคราะห์ (Reflection and Evaluation ) เป็ นความเข้ าใจ
ข้ อความที่อ่าน สามารถตีความแปลความ วิเคราะห์ เนือ้ หาสิ่ งที่อ่านแล้ วประเมิน
ข้ อความที่อ่าน แสดงความคิดเห็น โต้ แย้ งได้ ด้วยความคิดตนเอง
รู ปแบบข้ อสอบการอ่ าน
 เป็ นการอ่ านข้ อความแบบต่ อเนื่อง
 จาแนกข้ อความแบบต่ างๆกัน เช่ น การบอกเล่ า การพรรณนา การโต้ แย้ ง
 อ่ านรายการ กราฟ แผนภูมิ แบบฟอร์ ม ตาราง
 เนือ้ หายึดสิ่ งทีพ
่ บเห็นในโรงเรียน ในสั งคม ในโลก ซึ่งต้ องใช้ ในชีวติ จริง
เมื่อโตเป็ นผู้ใหญ่
 แบบทดสอบ แบ่ งเป็ นชุ ดเล็กๆ ทุกชุ ดมีความยากง่ ายเท่ ากัน
 นักเรียนแต่ ละคนจะได้ ทาข้ อสอบประมาณ 37-38 ข้ อ กาหนดเวลา 2
ชั่วโมง
 ( ข้ อสอบมี 141 ข้ อความ ใช้ เวลารวม 7 ชั่วโมง )
ผลการประเมิน
ปี 2552
 ผลการประเมินการอ่าน
จีน ได้คะแนนเฉลี่ย 556 คะแนน เกาหลี ฟิ นแลนด์ รองลงมา
ฮ่องกง ญี่ปุ่น สิ งคโปร์ ติดอันดับ 1 ใน 10
ไทย เฉลี่ย 421 ลาดับในกลุ่ม 47-51 จาก 65 ประเทศ
 ผลการประเมินคณิ ตศาสตร์
จีน คะแนนเฉลี่ย 600 รองลงมา สิ งคโปร์ ฮ่องกง เกาหลี
ญี่ปุ่น 1 ใน 10
ไทย เฉลี่ย 496 คะแนน อยูใ่ นกลุ่ม 48-52 จาก 65 ประเทศ
 ผลการประเมินวิทยาศาสตร์
ไทย คะแนนเฉลี่ย 425 คะแนน อยูใ่ นกลุ่ม 47- 49 จาก 65 ประเทศ
ผลการวิจัยของ สสวท.
• ผลการวิจัยของ สสวท. พบว่ า ปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่ อ
การเรียนรู้ ของนักเรียนไทย
การขาดแคลนครู ทุกวิชา
การกวดวิชานอกโรงเรียนไม่ ส่งผลต่ อการคิดวิเคราะห์ ของนักเรียน
การใช้ ICT ทีไ่ ม่ ส่งเสริมการเรียนรู้ มีใช้ มากแต่ ไม่ เป็ นประโยชน์ ต่อการเรียน
การมีทรัพยากรทีม่ ีคุณภาพ มีผลต่ อคะแนนทีส่ ู งขึน้ เช่ น
ห้ องเรียนวิทยาศาสตร์ ห้ องเรียนคณิตศาสตร์ ห้ องเรียนภาษา ห้ องสมุด
- ครู มีความพร้ อม ส่ งผลให้ นักเรียนมีคะแนนสู ง
- ขาดการสนับสนุนกลุ่มโรงเรียนทีอ่ ่ อนแอ ซึ่งเป็ นกลุ่มใหญ่ ของประเทศ
-
นี่คอื นาฬิ กาปลุกให้ ครูไทยจงตื่นเถิด
การกาหนดเกณฑ์ การประเมินการอ่ าน PISA
PISA
2006
1. สมรรถนะค้ นสาระ
( Retrieving information )
PISA 2009
1. กลยุทธ์ การเข้ าถึงและ
ค้ นคืนสาระ
( Access and retrieve )
- ค้ นหาหรือสรุป
สามารถดึ
ง
สาระสิ
่
ง
ที
ไ
่
ด้
สาระสาคัญจากเรื่องที่อ่าน
อ่ านออกมา
- สามารถตอบคาถามด้ วย
การเลือกตอบ หรือ
เขียนข้ อความ เลือกตอบ
ได้ อย่ างถูกต้ อง หรือ