การอ่านแบบPISA(สพป กทม)x
Download
Report
Transcript การอ่านแบบPISA(สพป กทม)x
การอ่ านแบบ PISA
สาหรับครูภาษาไทย
สพป.กทม..
วิภา
ตัณฑุลพงษ์
การร้ ู เรื่องการอ่ าน
การรู้ เรื่องการอ่านเป็ นความเข้ าใจ การใช้
การสะท้ อน รวมทั้งความรักและความผูกพัน
กับการอ่าน ในถ้ อยความที่เป็ นข้ อเขียน ที่ได้
อ่าน เพือ่ ให้ บรรลุถงึ เป้ าหมายของแต่ ละคน
ตลอดจนพัฒนาความรู้ และศักยภาพของตน
นอกจากนี้ ยังให้ มีส่วนร่ วมในกระบวนการของ
สั งคมอีกด้ วย
การอ่ านรู้ เรื่อง ตามแนว PISA ๒๐๐๙
การอ่ าน เป็ นเครื่องมือพืน้ ฐาน
สาคัญ ในการศึกษา เป็ นกระบวนการ
เริ่มต้ นเพือ่ ให้ เกิดการเรียนรู้ ตลอดชีวติ
และนาไปสู่ ความสาเร็จ ในทุกๆด้ านของ
ชีวติ
การประเมินของ PISA
การรู้ เรื่องการอ่ าน จึงเน้ น
“การอ่ านเพือ่ การเรียนรู้ ” มากกว่ า
ทักษะการอ่ านที่เกิดจาก
“การเรียนรู้ เพือ่ การอ่ าน”
การอ่ านตามนิยามของ PISA
• “ การรู้ เรื่ องการอ่ าน หมายถึง ความรู้ และทักษะทีจ่ ะ
เข้ าใจเรื่ องราวและสาระของสิ่งทีไ่ ด้ อ่าน ตีความ หรื อ
แปลความหมายของข้ อความทีไ่ ด้ อ่าน และคิดวิเคราะห์
กลับไปถึงจุดมุ่งหมายของการเขียนได้ ว่า ต้ องการส่ ง
สาระอะไรให้ แก่ ผ้ ูอ่าน เพื่อประเมินว่ า นักเรี ยนพัฒนา
ศักยภาพการอ่ าน และสามารถใช้ การอ่ านให้ เป็ น
ประโยชน์ ต่อการเรี ยนรู้ การมีส่วนร่ วมในกิจกรรมและ
ความเป็ นไปของสังคมอย่ างมีประสิทธิภาพหรื อไม่
เพียงใด”
3 กลยุทธการอ
าน
่
์
PISA
๑ การ
เข้าถึงและ
ค้นคืนสาระ
สิ่ งทีอ
่ านได
่
้
๒ การบูรณา
การและ
ตีความสิ่ งที่
อานได
่
้
๓ การ
สะทอนและ
้
การประเมินสิ่ งที่
อานได
่
้
อานอย
างไรให
เข
าถึ
ง
่
่
้ ้
และค้นคืนสาระ
เป็ นการอ่ านเน้ นการทาความเข้ าใจสาระของสิ่ งที่อ่าน
แล้ วมุ่งมองหาสาระทีต่ ้ องการ หรือ การเข้ าถึงสาระ ด้ วยการ
* พิจารณาส่ วนใดส่ วนหนึ่งของถ้ อยความ หรือ
* พิจารณาถ้ อยความโดยรวมทั้งหมด
สาระทีต่ ้ องการจะปรากฏชัดเจนจากถ้ อยความทีอ่ ่ านเท่ านั้น
แล้ วดึงสาระทีค่ ้ นได้ จากเนือ้ ความ นามาตอบคาถามได้ ถูกต้ อง
ตรงประเด็น
อ่ านอย่ างไรให้ บูรณาการและตีความสิ่ งทีอ่ ่ านได้
( Integrate and Interpret )
เป็ นการอ่ านทีต่ ้ องสร้ างความเข้ าใจอย่ างกว้ างๆ
ด้ วยการวิเคราะห์ สิ่ งทีผ่ ้ ูส่งสารต้ องการสื่ อ เช่ น จุดมุ่งหมาย
แนวคิด ข้ อคิด ตลอดจนการทาความเข้ าใจ กับความหมาย
ของสิ่ งทีอ่ ่ าน ด้ วยการพิจารณาความสั มพันธ์ แล้ วเชื่อมโยง
สิ่ งทีไ่ ด้ อ่านกับชีวติ ทีเ่ ป็ นอยู่ในโลกปัจจุบัน และแสดงความ
คิดเห็นได้ อย่ างสมเหตุผลจากสิ่ งทีไ่ ด้ อ่าน
กลยุทธ์ การอ่านบูรณาการและตีความ
๑. กลยุทธ์ การอ่ านบูรณาการ
คือ การทาความเข้ าใจ
ข้ อความที่ได้ อ่านอย่ างกว้ างๆ แล้ วคิดวิเคราะห์
เนือ้ หาและรูปแบบของข้ อความทีเ่ กีย่ วข้ องกับสิ่ ง
ต่ างๆ ในชีวติ หรือในโลก เป็ นการอ่ านตีความ หรือ
แปลความสิ่ งที่ได้ อ่าน ด้ วยการพิจารณความสั มพันธ์
ระหว่ างส่ วนต่ างๆของข้ อความ แล้ วคิดวิเคราะห์
เนือ้ หา และรูปแบบของข้ อความที่เกีย่ วข้ องกับสิ่ ง
ต่ างๆ ในชีวติ หรือในโลก
๒. ผู้อ่านต้ องมีความรู้ พน
ื้ ฐาน
(๑) รู้ เจตนาของการสื่ อสาร ได้ แก่ การแจ้ งให้ ทราบ
การถามให้ ตอบ การบอกให้ ทา
(๒) รู้ ความสั มพันธ์ ของประโยค หรือทีเ่ รียกว่ า สั มพันธสาร
- ลักษณะความสั มพันธฺ เช่ น การคล้ อยตาม
การต่ อเนื่อง การขัดแย้ ง การให้ เลือกการใช้ เหตุผล
และการแสดงเงือ่ นไข
- คาทีแ่ สดงความสั มพันธ์ หรือ คาเชื่อม เช่ น คาสั นธาน
(และ แต่ เพราะ...) คาเชื่อมอนุประโยค (ที่ ซึ่ง อัน )
คาเชื่อมสั มพันธสาร เป็ นต้ น
๓. รู้ จักการเชื่อมโยง เช่ น
(๑) เชื่อมโยงสาระจากจุดหนึ่งเข้ ากับอีกจุดหนึ่งที่
อยู่ตดิ กันในเรื่อง
(๒) เชื่อมโยงสาระในเรื่องเข้ ากับความรู้ ทวั่ ไปในชีวติ จริง
ทั้งสาระทีเ่ ด่ นชัด และไม่ เด่ นชัด
(๓) เชื่อมโยงสาระเพือ่ เปรียบเทียบความเหมือนหรือความ
แตกต่ าง
(๔) เชื่อมโยงสาระเพือ่ จัดกลุ่มตามเกณฑ์ ต่างๆ หรือ
จัดกลุ่มเป็ นองค์ ประกอบ
อ่ านอย่ างไรให้ สะท้ อนและประเมินสิ่ งที่อ่านได้
(Reflect and Evaluate)
กลยุทธ์ การอ่ าน ให้ สะท้ อนและประเมินคุณค่ าสิ่ งที่อ่าน
เป็ นการอ่ านเน้ นการนาความรู้ ความคิด และความเข้ าใจเดิม มา
ตีความแปลความ แล้ วแสดงความคิดเห็นได้ จากมุมมองของตน
ด้ วยการเชื่อมโยงสาระความรู้ จากภายนอกสิ่ งที่อ่าน หรือความรู้
ในโลกของความเป็ นจริงที่ตนเองดารงชีวติ โดยไม่ ยดึ ติดกับ
สาระทีอ่ ่ าน หรือไม่ เอาความคิดและเจตคติของตนมาเกีย่ วข้ อง
• แล้ วจึงจะพิจารณาอย่ างตรงไปตรงมา
• ถึงคุณภาพ และความเหมาะสมของการเขียน
กลยุทธ์ การอ่ านสะท้ อน ตามแนว PISA คือ
การนาความรู้ ทนี่ อกเหนือจาก สิ่ งทีไ่ ด้ อ่าน หรือนา
ความรู้ ในโลกของความเป็ นจริงทีต่ นเองดารงชีวติ อยู่ มา
เชื่อมโยงกับ ความรู้ เดิม หรือความเข้ าใจเดิม ด้ วยการ
ตีความ แปลความให้ กระจ่ างชัด แล้ วเขียนแสดงความ
คิดเห็น ต่ อสิ่ งทีไ่ ด้ อ่าน ทั้งความคิดคล้ อยตาม หรือ
ความคิดโต้ แย้ ง จากมุมมองของตนเอง
ผู้อ่านต้ องมีความรู้ พนื้ ฐานอะไรบ้ าง
๑. ต้ องรู้ เรื่องกลยุทธ์ การอ่ านเข้ าถึงและค้ นคืนสาระ
๒. ต้ องรู้ เรื่องกลยุทธ์ การอ่ านบูรณาการและตีความ
๓. ต้ องรู้ จกั นาความรู้ ทวั่ ไปนอกเหนือจากสิ่ งทีไ่ ด้ อ่าน มาเชื่อมโยง
กับสิ่ งที่อ่านในเรื่อง ได้ แก่
(๑) เปรียบเทียบจากสิ่ งทีค่ ุ้นเคยหรือพบเห็นประจาวัน
(๒) ประยุกต์ ความรู้ ในสถานการณ์ ทไี่ ม่ ค้ ุนเคย ด้ วยการสร้ าง
สมมุตฐิ าน
(๓) ใช้ วจิ ารณญาณ สร้ างสมมุตฐิ าน หรือบอกคุณค่ า สิ่ งที่อ่านที่
ซับซ้ อนและไม่ ค้ ุนเคย
(๔ )ใช้ เกณฑ์ หรือมุมมองต่ างๆ กับเรื่องทีเ่ ข้ าใจยาก
นอกเหนือจากสิ่ งที่อ่าน
(๕) ใช้ ความรู้ พเิ ศษเฉพาะเรื่องอย่ างวินิจวิเคราะห์ ด้ วยการ
ตั้งข้ อสงสั ย
๔. รู้ จักการเรียงลาดับความสาคัญ เช่ น เรียงจากยาก
น้ อยสุ ดไปถึงมากสุ ด
๕. รู้ จักวิธีการเขียน ได้ แก่
(๑) เขียนอธิบายสิ่ งทีเ่ ข้ าใจด้ วยการยกตัวอย่ าง หรือ
อ้ างอิง ทั้งจากสิ่ งทีอ่ ่ าน และนอกเหนือจากสิ่ งทีอ่ ่ าน
(๒) เขียนแสดงความคิดเห็น สนับสนุน หรือโต้ แย้ ง อย่ าง
สมเหตุผล ด้ วยความคิดของตนเอง
ผู้อ่านต้ องทาอย่ างไรบ้ าง
๑. นาความรู้นอกเหนือจากสิ่ งทีอ่ ่ านหรือความรู้ ในโลกของ
ความเป็ นจริง มาเชื่อมโยงกับความรู้ เดิม หรือความเข้ าใจ
เดิม แล้ วตีความแปลความให้ กระจ่ างชัด
๒. แสดงความคิดเห็นต่ อสิ่ งทีอ่ ่ าน ทั้งคล้ อยตาม หรือคิด
โต้ แย้ ง ก็ได้
๓. แสดงความคิดเห็นจากมุมมองของตนเอง
ผู้อ่านต้ องปฏิบัตอิ ย่ างไร
๑. นาความรู้นอกเหนือจากสิ่ งทีอ่ ่าน หรือความรู้ในโลกของความเป็ นจริง
มาเชื่อมโยงกับความรู้เดิม หรือความเข้ าใจเดิม แล้วตีความ แปลความ
ให้ กระจ่ างชัด
• ๒. แสดงความคิดเห็นต่ อสิ่ งทีอ่ ่าน ด้ วยการบอกคุณค่ าทั้งด้ าน
คุณภาพ ของเนือ้ หาสาระและความเหมาะสมของโครงสร้ างหรือ
รูปแบบ
• ๓. แสดงความคิดเห็นต่ อสิ่ งทีอ่ ่าน ด้ วยการประเมินค่ าอย่ าง
ตรงไปตรงมา โดยไม่ นาสาระที่อ่าน หรือไม่ เอาความคิดและเจตคติ
ของตนมาเกีย่ วข้ อง
สวัสดี