10. การจัดการความรู้

Download Report

Transcript 10. การจัดการความรู้

10. การจัดการความรู้
http://www.nakarugsa.com/CIDMIS/
ความรู้ อยู่ทไี่ หน?







ตารา
ห้ องสมุด
คอมพิวเตอร์
ประชุมวิชาการ
ผู้เชี่ยวชาญ
คนทางาน
ถูกทุกข้ อ
ข้ อมูล สารสนเทศ และความรู้
 ข้ อมูล คือ ข้ อมูลดิบ ข้ อเท็จจริ งต่ างๆ ไม่ มก
ี ารประมวลผล
และยังไม่ มคี วามหมาย
 สารสนเทศ คือ การรวบรวมข้ อมูลมาจัดเก็บ ประมวลผล
และจัดการ ให้ สามารถนาไปใช้ ประโยชน์ ได้
 ความรู้ คือ สารสนเทศทีส
่ ามารถตีความ ทาความเข้ าใจ และ
นาไปใช้ ในการแก้ ปัญหาหรือการตัดสิ นใจในการดาเนิน
ธุรกิจให้ ประสบความสาเร็จ ซึ่งต้ องอาศัยประสบการณ์ ใน
การเรียนรู้ เกีย่ วกับวิธีการเลือกสารสนเทศมาใช้ ในการแก้ ไข
ปัญหาได้ อย่ างเหมาะสม (สารสนเทศเดียวกัน อาจจะ
ตีความหมายเป็ นความรู้ ทแี่ ตกต่ างกัน จากมุมมองและ
พืน้ ฐานของประสบการณ์ ทตี่ ่ างกัน)
ข้ อมูล สารสนเทศ และความรู้
ข้ อมูล
ประมวลผล
สารสนเทศ
นาไปใช้ ประโยชน์
ความรู้
ความรู้ เป็ นสิ นทรัพย์
 เนื่องจากข้ อมูลและสารสนเทศมีมาก แต่ ไม่ สามารถตอบสนอง
ความต้ องการให้ กบั องค์ การได้ จึงได้ มีการเปลีย่ นสารสนเทศให้ มา
อยู่ในรู ปแบบของความรู้
 เมื่อสารสนเทศและความรู้ มีความแตกต่ างกัน การจัดการ
สารสนเทศจึงไม่ สามารถจัดการความรู้ จึงต้ องมีการจัดการความรู้
Knowledge Management เกิดขึน้
 ความรู้ เป็ นสิ นทรั พย์ (Knowledge Assets) แตกต่ างจากทรั พย์ สิน
อืน่ คือยิง่ ใช้ ยงิ่ เพิม่ ขึน้ ไม่ สามารถถูกลักขโมย แบ่ งปันให้ ผู้อนื่ แล้ ว
ก็ไม่ ลดลง แต่ หากมีความรู้ แล้ วไม่ ได้ ใช้ ในทีส่ ุ ดหลงลืมและสู ญหาย
ความรู้ ในองค์ กร
 Explicit Knowledge ความรู้ ที่ชัดแจ้ ง ความรู้ ที่เป็ นเหตุและผลที่
สามารถจะบรรยาย/ถอดความ ออกมาได้ ในรู ปของทฤษฎี การแก้ ไข
ปัญหา คู่มือ และฐานข้ อมูล (ทุกคนสามารถเข้ าถึง/ซื้อได้ )
 Tacit Knowledge ความรู้ โดยนัย คือ ความรู้ ที่ได้ มาจาก
ประสบการณ์ และไม่ สามารถบรรยายเป็ นถ้ อยคา ถ้ อยความ หรือ
สู ตรได้ และขึน้ อยู่กบั ความเชื่อ รวมทั้งทักษะเชิงวิชาการของบุคคล
ที่จะ กลัน่ กรองความรู้ ความรู้ ชนิดนีส้ ามารถพัฒนาและแบ่ งปันกัน
ได้ และเป็ นความรู้ ที่จะทาให้ เกิดความได้ เปรียบในการแข่ งขัน
 Cultural knowledge ความรู้ ที่เกิดจากวัฒนธรรม เป็ นความรู้ ที่เกิด
จากศรัทธา ความเชื่อ ที่ทาให้ กลายเป็ นความจริง ซึ่งจะขึน้ อยู่กบั
ประสบการณ์ การเฝ้ าสั งเกต และการสะท้ อนกลับของผลของตัว
ควบคุมและของสภาพแวดล้ อม
Characteristics of Knowledge
Explicit
 กฎ ระเบียบ
 คู่มอื
 แผนปฏิบัติการ •Documented
•Codified
 Good Practice •Archived
 งานวิจัย
 บัญชีผู้เชี่ยวชาญ
ความรู้ ทชี่ ัดแจ้ ง
Tacit
 ทักษะ
 ประสบการณ์
 พรสวรรค์
 สัญชาตญาณ
 ความคิดริเริ่ม
•Not Documented
•Difficult to identify
ความรู้ ทฝี่ ังอยู่ในคน
แนวคิด “การจัดการ” ความรู้
Create/Leverage
Access/Validate
สร้ างความรู้
ยกระดับ
เข้ าถึง
ตีความ
รวบรวม/จัดเก็บ
store
ความรู้เด่ นชัด
ความรู้ซ่อนเร้ น
Explicit
Tacit
Knowledge
นาไปปรับใช้
apply/utilize
Knowledge
เรียนรู
้ ร่วมกัน
Capture
เรียนรู้
ยกระดับ
มีใจ/แบ่ งปัน
เน้ น “2T”
Tool & Technology
เน้ น “2P”
Process & People
Care & Share
& Learn
โมเดลการสร้ างความรู้ (SECI Model)
Nonaka & Takeuchi SECI model
(โนนากะ กับ ทาเคอุชิ)
หลักสาคัญการสร้ างความรู้ ในหน่ วยงานหรือองค์ กร คือการ
สั งเคราะห์ หรือหลอมรวมความรู้ ทชี่ ัดแจ้ ง กับความรู้ ทฝี่ ังลึก
ยกระดับขึน้ ไปเป็ นความรู้ ทสี่ ู งขึน้ ลึกซึ้งขึน้ เป็ นองค์ รวม
ยิง่ ขึน้ โดยผ่ านกระบวนการ 4 ส่ วน ทีเ่ รียกว่ า เซกิ (SECI)
โมเดลการสร้ างความรู้ (SECI Model)
Tacit (นัย) Knowledge
Socialization
Tacit
Knowledge
กระบวนการของการแลกเปลีย่ นความรู้
ฝังลึก ผ่านการแลกเปลีย่ นประสบการณ์
เป็ นตัวขับเคลือ่ นที่สาคัญ
(การเป็ นพีเ่ ลีย้ ง)
Internalization
กระบวนการนาแจ้ งฝังเข้ าเป็ นลึก เป็ น
การเรียนรู้ที่แจ้ งได้ นาไปสู่ การปฏิบัติ
(role play, การอ่าน, การฝึ กงาน)
Externalization
กระบวนการเปลีย่ นลึกเป็ นแจ้ ง ถูก
codefied และเหตุผลสาหรับ actions
หรือตัดสินใจ ทาให้ คนเข้ าถึงความรู้ได้
(expert system, การเขียน case study)
Combination
เปลีย่ นแจ้ งให้ เข้ าระบบความรู้ แจ้ ง และ
มีการเพิม่ เข้ าในระบบฐานข้ อมูลของ
องค์การ (web forum, best practice
database)
Explicit (ชัดแจ้ ง) Knowledge
Explicit
Knowledge
เทคโนโลยีทใี่ ช้ ในการพัฒนาการจัดการความรู้

เทคโนโลยี
- Business Intelligence การวิเคราะห์ ข้อมูล Data Mining
- Collaboration
การผสมผสานการใช้ Tool หลายๆ ตัวในการจัดเก็บ
- Knowledge Transfer
การถ่ ายทอดความรู้ ในรู ปแบบ e-Learning
- Knowledge Discovery
การหาวิธีทจี่ ะเข้ าถึงส่ วนต่ างๆ การสกัดข้ อมูล
- Expertise Location
การหาว่ าใครในองค์ กรทีมีความเชี่ยวชาญในเรื่องใด
THE END