Attach Files..
Download
Report
Transcript Attach Files..
Knowledge Management (KM)
การบริหารจัดการความรู้
Knowledge Management
เกิดจากข้อมูลข่าวสารต่างๆ ที่เกิดขึ้นอย่างมากมาย ทาให้
องค์กรต่างๆมีขอ้ มูลจัดเก็บอยูจ่ านวนมาก และเกิดความ
ต้องการที่จะจัดให้อยูอ่ ย่างเป็ นระเบียบ เข้าถึงง่าย ทันต่อการ
นาไปใช้งาน
ความหมายของความรู้
ดาเวนพอร์ท (2542)
ความรู้ คื อ กรอบของการประสบประสานระหว่างประสบการณ์
ค่านิยม ความรอบรู ้ในบริ บท และความรู ้แจ้งอย่างช่าชอง เป็ นการประสม
ประสานที่ให้กรอบสาหรับ การประเมินค่า และการนาเอาประสบการณ์
กับ สารสนเทศใหม่ ๆ มาผสมรวมเข้าด้วยกัน มัน เกิ ดขึ้ นและถูกนาไป
ประยุกต์ในใจของคนที่ รู้ สาหรั บในแง่ขององค์กรนั้น ความรู ้ มกั จะสั่ง
สมอยูใ่ นรู ปของเอกสาร หรื อแฟ้ มเก็บเอกสารต่างๆ รวมถึง สั่งสมอยูใ่ น
การทางาน อยูใ่ นกระบวนการ อยูใ่ นการปฏิบตั ิงานและอยูใ่ นบรรทัดฐาน
ขององค์กรนัน่ เอง
ความหมายของความรู้
สิ่ งที่ใช้อธิบายสิ่ งต่างๆที่พบเห็นได้อย่างมีเหตุผล โดยอาศัยข้อมูล
ทักษะ และประสบการณ์ที่มีอยู่ เป็ นส่ วนสนับสนุนการตัดสิ นใจ
ประเภทของความรู้
ความรู ้ก่อนประสบการณ์ (Priori knowledge)
ความรู้หลังประสบการณ์ (Posteriori knowledge)
ความรู้โดยประจักษ์ (Knowledge by Acquaintance)
ความรู ้โดยบอกกล่าว (knowledge by Description)
ความรู้เชิงประสบการณ์ (Expirical knowledge)
ความรู้โดยตรง (Immediate knowledge)
ความรู้เชิงวัตถุวิสัย (Objective knowledge)
ความรู้เชิงจิตวิสัย (Subjective knowledge)
ความหมายของการบริหารจัดการความรู้ (KM)
Stair (2001)
การบริ หารจัดการความรู้ เป็ นกระบวนการ รวบรวม จัดการ ความรู้
ความชานาญ ไม่วา่ ความรู ้น้ นั จะอยูใ่ น คอมพิวเตอร์ ในกระดาษ หรื อตัว
บุ ค คล โดยมี จุ ด มุ่ ง หมายเพื่ อ จัด การให้ บุ ค ลากร ได้รั บ ความรู ้ และ
แลกเปลี่ยนความรู ้ ทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมจากเดิม โดยให้
เกิดประสบการณ์และความชานาญเพิ่มขึ้น
ความหมายของการบริหารจัดการความรู้ (KM)
คือ ระบบบริ หารจัดการ
ความรู ้ให้เป็ นระเบียบ ครบถ้วน ง่ายต่อการเรี ยกใช้
จัดเก็บตามความต้องการ เก็บรักษาความรู ้ให้ควบคู่
กับองค์กรตลอดไป โดยนาเทคโนโลยีเข้ามาใช้ใน
การจัดการ
การบริหารจัดการความรู้
เหตุผลของการนา KM มาใช้
การเปลีย่ นแปลงเทคนิคในการบริหารงาน
ความเปลีย่ นแปลงด้ านการตลาด
ลดความผิดพลาดในการแข่ งขันด้ านการตลาด
สร้ างวิธีปฏิบัตท
ิ ดี่ ที สี่ ุ ด
การสร้ างนวัตกรรมใหม่ ๆ
ความรู้ในองค์ กร(Knowledge in Organizations)
ความรู้อย่ างไม่ เป็ นทางการ (Tacit knowledge)
เป็ นทักษะหรื อความรู้เฉพาะตัวของแต่ละบุคคลที่มาจากประสบการณ์ ความเชื่อ หรื อ
ความคิดสร้างสรรค์ในการปฏิบตั ิงาน เช่น การถ่ายทอดความรู ้ ความคิดผ่านการสังเกต การ
สนทนา การฝึ กอบรม
ความรู้อย่ างเป็ นทางการ (Explicit knowledge)
Object base ความรู ้ที่เกิดจากการสร้างขึ้นมา เช่นคู่มือ สิ ทธิบตั ร
Rule base ความรู้ที่ถูกนามาประมวลเป็ นกฎเกณฑ์ ระเบียบปฏิบตั ิ
ความรู้ทเี่ กิดจากวัฒนธรรม (Cultural knowledge)
เป็ นความรู้ที่เกิดจากศรัทธา ความเชื่อ ที่ทาให้กลายเป็ นความจริ ง ซึ่ งจะขึ้นอยูก่ บั
ประสบการณ์ การเฝ้ าสังเกต และการสะท้อนกลับของผลของตัวควบคุมและของ
สภาพแวดล้อม
องค์ ประกอบของ KM
คน (People)
ผูท้ ี่มีผลกระทบกับองค์กร KM จะรวบรวมว่าใครเชี่ยวชาญในด้านใดบ้าง ถ้ามีงาน
ใหม่เข้ามาจะมอบหมายให้ใครเป็ นผูร้ ับผิดชอบ
สถานที่ (Place)
ที่ที่ทุกคนในองค์กรสามารถระดมความคิดร่ วมกันได้ อาจอยูใ่ นรู ปของเวปบอร์ด การ
ประชุมทางไกล หรื อโปรแกรมออนไลน์อื่นๆ
ข้ อมูล (Thing)
ทุกสิ่ งที่นาเก็บและให้ผใู้ ช้เข้าถึงข้อมูลเหล่านั้นได้โดยง่าย การวิเคราะห์แยกแยะ
หมวดหมู่ของข้อมูลเป็ นเรื่ องสาคัญ
องค์ ประกอบหลักในการพัฒนา KM
ผู้นา (Leadership)
วัฒนธรรม (Culture)
การเข้ าถึงแหล่ งความรู้ (Access)
เทคโนโลยี (Technology)
วัฒนธรรมการเรียนรู้ (Learning
บรรยากาศอิสระ แต่ จริงจัง
Culture)
แนวทางการพัฒนา KM
กาหนดให้มีหวั หน้าคณะทางาน (Chief Knowledge
Officer) หรื อการสร้างทีมงานในแต่ละสาขามาร่ วมกันพัฒนา
กระบวนการทางาน
ระบุขอ้ มูลหรื อความรู ้ที่ตอ้ งการใช้เพื่อการตัดสิ นใจให้ชดั เจน
จัดทา Workflow พัฒนากระบวนการทางาน โดยการสร้าง
ความรู ้ การรวบรวมและการจัดเก็บ เพื่อเชื่อมโยงไปยังผลลัพธ์ที่ได้จา
กระบวนการดังกล่าวโดยให้คนในองค์กรมีส่วนร่ วมมากขึ้นในการ
ปรับปรุ ง Workflow
แนวทางการพัฒนา KM
การสร้างและการถ่ายทอดความรู ้ของบุคคลในองค์กรจะช่วย
แก้ปัญหาให้งานสาเร็ จและมีประสิ ทธิภาพขึ้น
พัฒนาศูนย์ขอ้ มูลโดยอาศัยทักษะการถ่ายทอดหรื อการเคลื่อนย้าย
ความรู ้
ทาระบบเครื อข่ายผูเ้ ชี่ยวชาญเพื่อการประสานงานความร่ วมมือ และ
การส่ งเสริ มการใช้ความรู ้ร่วมกัน
เครื่องมือทีใ่ ช้ ในการทา KM
ระบบสารสนเทศ
เทคโนโลยี
เทคโนโลยีสนับสนุน
เครื่องมือทีใ่ ช้ ในการทา KM
ระบบสารสนเทศ
ระบบสานักงานอัตโนมัติ (Office Automation System : OAS)
ระบบสนับสนุนการสร้ างองค์ ความรู้ (Knowledge Work System :
KWS)
ระบบสนับสนุนการทางานกลุ่ม (Group Collaboration System :
GCS)
เทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence : AI)
เครื่องมือทีใ่ ช้ ในการทา KM
เทคโนโลยี
Business Intelligence การวิเคราะห์ ข้อมูล Data Mining
Collaboration การผสมผสานการใช้ Tool หลายๆตัวในการจัดเก็บ
Knowledge Transfer การถ่ ายทอดความรู้ ในรู ปแบบ e-Learning
Knowledge Discovery การหาวิธีทจี่ ะเข้ าถึงส่ วนต่ างๆ การสกัดข้ อมูล
Expertise Location การหาว่ าใครในองค์ กรทีมีความเชี่ยวชาญในเรื่องใด
เครื่องมือทีใ่ ช้ ในการทา KM
เทคโนโลยีสนับสนุน
เทคโนโลยีการสื่ อสาร (Communication Technology)
เทคโนโลยีการทางานร่ วมกัน (Collaboration Technology)
เทคโนโลยีการจัดเก็บ (Storage Technology)
ประโยชน์ ของ KM
เพิม
่ ประสิ ทธิภาพขององค์ กร ป้องกันการสู ญหายของภูมิปัญญา
เพิม
่ ขีดความสามารถในการตัดสิ นใจและวางแผนดาเนินงานให้
รวดเร็ว และดีขนึ้
เปลีย่ นวัฒนธรรมอานาจ สู่ วัฒนธรรมความรู้
ฯลฯ
Knowledge Management
จบการบรรยาย
คาถาม