Transcript 1 + k

บรรยายสรุป
BM 602 การจัดการการเงิน
รศ. พูนศักดิ์ แสงสั นต์
[email protected]
081-625-2182
BALANCE SHEET
ASSETS
LIAB. & EQUITY
Current Assets
Debt
Fixed Assets
Equity:
Com. Stocks
Retained Earnings
BALANCE SHEET
ASSETS
LIAB. & EQUITY
Current Assets
Debt
Fixed Assets
Equity:
Com. Stocks (I)
(II)
Retained Earnings
(III)
BALANCE SHEET
ASSETS
Current Assets
Fixed Assets
Uses of Funds
LIAB. & EQUITY
Debt
Equity:
Com. Stocks
Retained Earnings
Sources of Funds
BALANCE SHEET
Investing <------------------ Financing
ASSETS
Current Assets
Fixed Assets
Uses of Funds
LIAB. & EQUITY
Debt
Equity:
Com. Stocks
Retained Earnings
Sources of Funds
------------ Managing ------------
BALANCE SHEET
Financing
LIAB. & EQUITY
Debt (II) ------------------>
Interest
Equity:
------------------
Com. Stocks (I)
Retained Earnings (III)
Dividend
&
Capital Gains
Sources of Funds
Managing
BALANCE SHEET
Investing
ASSETS
Current Assets ------- Liquidity & Profitability
Fixed Assets
------ Fixed Assets Turnover
------ Payback, DPB
------ NPV, IRR, MIRR
Uses of Funds
Managing
1-1
Responsibility of the Financial Staff
หน้ าที่และความรับผิดชอบของฝ่ ายการเงิน
1-5
• Maximize stock value by: ทาให้ มูลค่ าหุ้นสู งสุ ด
– Forecasting and planning (การพยากรณ์ และการวางแผน)
– Investment and financing decisions (การตัดสิ นใจลงทุนและ
การจัดหาเงินทุน)
– Coordination and control (การประสานงานและการควบคุม)
– Transactions in the financial markets (การติดต่ อกับตลาดการเงิน)
– Managing risk (การจัดการความเสี่ ยง)
1-7
Financial Management Issues of the New Millennium
การจัดการการเงินของรอบสหัสวรรษใหม่
• The effect of changing
technology
(ผลกระทบของการ
เปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี)
• The globalization of business
(ธุรกิจที่อยูบ่ นโลกเดียวกัน)
1-8
การจัดการการเงินของรอบสหัสวรรษใหม่
ผลกระทบของการ
เปลี่ยนแปลงทางธุรกิจจาก
การใช้คอมพิวเตอร์ +
การโอนข้อมูลผ่านทาง
อิเลคทรอนิค และ
โลกาภิวฒั น์ทางธุรกิจ
ลงทุนมาก
การขยายตลาด
การลดต้ นทุน
เพิม่ การแข่ งขัน
ในท้ องถิ่น
1 - 15
วัตถุประสงค์ ของบริษัท (Goals of the Corporation)
คือ
“ผู้ถอื หุ้นมีความมัง่ คัง่ สู งสุ ด”
(Stockholder wealth maximization)
หมายถึง
“ ทาให้ ราคาหุ้นสามัญของกิจการสู งสุ ด”
(Maximizing the price of the firm’s common stock)
Financial Goals of the Corporation
วัตถุประสงค์ ทางการเงินของบริษัท
• The primary financial goal is shareholder
wealth maximization,which translates to
maximizing stock price.
(จุดมุ่งหมายหลักทางการเงิน คือ ความมัง่ คัง่
ของผูถ้ ือหุน้ หมายถึง การทาให้ราคาหุ น้ ของ
บริ ษทั สูงสุ ด)
1 - 16
Business Ethics
จริยธรรมทางธุรกิจ
Ethics หมายถึง ทัศนคติและการปฏิบัตติ ่อบุคคลที่
เกีย่ วข้ องด้ วยความซื่อสั ตย์ และยุตธิ รรม เช่ น ผลิตสิ นค้ า
คุณภาพดี ผู้บริโภคมีความปลอดภัย ปฏิบัตติ ่ อพนักงานด้ วย
ความเป็ นธรรม ทั้งนี้ ผู้บริหารทั้งหลายเชื่อว่ า “จริยธรรม
มีความสั มพันธ์ ทางบวก (Positive Correlation) กับความ
สามารถในการทากาไรในระยะยาว” ด้ วยเหตุผลดังนี้
1 - 20
Factors that affect stock price.
ปัจจัยที่มีผลกระทบต่ อราคาหุ้น
1 - 31
• Projected cash flows to
shareholders (ประมาณ
การกระแสเงินสดที่
ผูถ้ ือหุน้ จะได้รับ)

Riskiness of the cash
flows (ความเสี่ ยงของ
กระแสเงินสด)
• Timing of the cash flow
stream (ช่วงเวลาที่ได้รับ
กระแสเงินสด)
Basic Valuation Model
ตัวแบบการประเมินมูลค่ าเบือ้ งต้ น
CF1
CF2
CFn
Value 


1
2
(1  k)
(1  k)
(1  k)n
n
CFt

.
t
t 1 (1  k)
• To estimate an asset’s value, one estimates the cash
flow for each period t (CFt), the life of the asset (n),
and the appropriate discount rate (k)
การประเมินมูลค่ าของสิ นทรัพย์ ใด ๆ จะต้ องประเมิน
กระแสเงินสดในแต่ ละงวดเวลา t (CFt), อายุของ
สิ นทรัพย์ (n), และอัตราส่ วนลดที่เหมาะสม (k)
1 - 32
1 - 33
Factors that Affect the Level and Riskiness of Cash Flows
ปัจจัยที่กระทบต่ อระดับและความเสี่ ยงของกระแสเงินสด
• Decisions made by financial managers:
(การตัดสิ นใจของผู้จัดการการเงิน)
– Investment decisions (การตัดสิ นใจลงทุน)
– Financing decisions (the relative use of debt financing)
การตัดสิ นใจจัดหาเงินทุน (ความสั มพันธ์ ในการจัดหาเงินทุน
จากหนีส้ ิ น)
– Dividend policy decisions (การตัดสิ นใจในนโยบายเงินปันผล)
• The external environment (สภาพแวดล้อมภายนอก)
1 - 34
1.
2.
3.
4.
ข้ อกฎหมายต่ างๆ
ภาวะเศรษฐกิจ
กฎหมายภาษีอากร
ภาวะของตลาดหลักทรัพย์
2-2
รายงานประจาปี
The Annual Report
2-4
• Balance sheet – งบดุล คือ งบแสดงฐานะการเงินของกิจการ ณ วันใด
วันหนึ่ง
• Income statement – งบกาไรขาดทุน คือ งบทีแ่ สดงผลการดาเนินงาน
ของกิจการสาหรับงวดเวลาหนึ่ง
• Statement of retained earnings – งบกาไรสะสม คือ งบทีแ่ สดงกาไร
หรือขาดทุนสะสมของกิจการตั้งแต่ เริ่มดาเนินงานจนถึงปัจจุบัน
• Statement of cash flows – งบกระแสเงินสด คือ งบทีแ่ สดงว่ าในช่ วง
ระยะเวลาหนึ่งกิจการได้ เงินสดมาจากแหล่งใดและใช้ เงินสดไปอย่ างไร
Economic Value Added (EVA)
2 - 30
การเพิม่ มูลค่ าทางเศรษฐกิจ
(การพิจารณาประสิ ทธิภาพผู้บริหารในงวดเวลาหนึ่ง)
(EVA) = NOPAT – After-tax ($) Cost
of Capital
2 - 31
เท่ ากับ
NOPAT
Operating After - tax %
capital cost of capital
กาไรส่ วนทีเ่ หลือหลังจากหักต้ นทุนของเงินทุนแล้ ว
(ต้ นทุนของหนีส้ ิ นและต้ นทุนของผู้เป็ นเจ้ าของ)
2 - 34
MVA =
MVA =
Market
value
of equity
ราคาตลาด
ต่ อหุ้น
Equity capital
supplied by investors
จานวน
หุ้นสามัญ
ส่ วนของ
ผู้ถอื หุ้น
สามัญ
3-2
1. การวิเคราะห์ อตั ราส่ วน
อัตราส่ วนทางการเงิน
3-5
เป็ นการเปรียบเทียบเพือ่ ให้ เห็น
สั ดส่ วนของตัวเลขต่ างๆ ใน
งบการเงิน เช่ น การนาหนีส้ ิ น
มาเปรียบเทียบกับสิ นทรัพย์
การเปรียบเทียบนี้ เรียกว่า
การวิเคราะห์ อตั ราส่ วน
3-6
1. เป็ นตัวเลขที่เป็ นมาตรฐานช่วยในการเปรี ยบเทียบ
2. นามาใช้เพื่อชี้ให้เห็นจุดเด่น และจุดด้อยของกิจการ
3-7
ถาม
อัตราส่ วนแบ่ งได้ กกี่ ลุ่ม แต่ ละกลุ่มตอบคาถามอะไรบ้ าง ?
แบ่ งเป็ น 5 กลุ่ม คือ
ตอบ
1.
2.
3.
4.
5.
สภาพคล่ อง (Liquidity)
ประสิ ทธิภาพการใช้ สินทรัพย์ (Asset Management)
การบริหารหนีส้ ิ น (Debt Management)
ความสามารถในการทากาไร (Profitability)
ประเมินผลธุรกิจโดยรวม (Market Value)
3-8
1.
Liquidity
ความสามารถในการชาระ
หนีส้ ิ นระยะสั้ นทีค่ รบกาหนด
2.
Asset Management
ประสิ ทธิภาพในการใช้
สิ นทรัพย์ (amount of
assets vs. sales)
3.
Debt Management
การลงทุนในสิ นทรัพย์ ท้งั สิ้น
ได้ เงินทุนจากหนีส้ ิ นเพียงไร
3-9
4.
Profitability
วัดประสิ ทธิภาพการบริหารงาน
ว่ าบรรลุตามเป้าหมาย
หรือไม่ ซึ่งพิจารณาจาก
อัตราส่ วน PM, ROE และROA
5.
Market Value
ผู้ลงทุนคิดว่ ากิจการเป็ น
อย่ างไร ซึ่งพิจารณาจาก
อัตราส่ วน P/E และ M/B
2. อัตราส่ วนสภาพคล่ อง
1. อัตราส่ วนหมุนเวียน
(Current ratio)
บริษัท อัลไลด์ ฯ
ค่ าเฉลีย่ อุตสาหกรรม
=
=
= 4.2
3 - 15
สิ นทรัพย์ หมุนเวียน
หนีส้ ิ นหมุนเวียน
1,000
= 3.2
310
สิ นทรัพย์ หมุนเวียน - สิ นค้ าคงเหลือ
2. อัตราส่ วนหมุนเร็ว
(Quick or Acid test ratio) =
หนีส้ ิ นหมุนเวียน
=
1.2
บริษัท อัลไลด์ ฯ
= 385
310
ค่ าเฉลีย่ อุตสาหกรรม
= 2.1
3 - 17
3. อัตราส่ วนประสิ ทธิภาพการใช้ สินทรัพย์
1. อัตราการหมุนของสิ นค้ า
(Inventory turnover ratio)
บริษัท อัลไลด์ ฯ
ค่ าเฉลีย่ อุตสาหกรรม
= 3,000
615
=
ยอดขาย
สิ นค้ าคงเหลือ
= 4.9 ครั้ง
= 9. 0 ครั้ง
3 - 18
ข้ อสั งเกต : อัตราการหมุนของสิ นค้ า
อัตราการหมุนของสิ นค้ าตา่ กว่าค่ าเฉลีย่
ของอุตสาหกรรม
ควรตรวจสอบว่ าเหตุใดจึงมีสินค้ าคงเหลือมากเกินไป
คุณภาพและการบริหารสิ นค้ ามีประสิ ทธิภาพหรือไม่
3 - 19
2. ระยะเวลาในการเก็บหนีถ้ ัวเฉลีย่
(DSO = Days sales outstanding)
บริษทั อัลไลด์ ฯ
=
=
=
ค่ าเฉลีย่ อุตสาหกรรม
ลูกหนีก้ ารค้ า = ลูกหนีก้ ารค้ า
ยอดขายเฉลีย่ ต่ อวัน ยอดขายต่ อปี /365
375
3,000 / 365
375
= 46 วัน
8.2192
= 36 วัน
ข้ อสั งเกต : DSO
บริ ษทั อัลไลด์ ฯ เก็บเงินจากลูกหนี้ได้ชา้ กว่า
ค่าเฉลี่ยอุตสาหกรรม
บริ ษทั ควรพิจารณานโยบาย
การขายเชื่อและระยะเวลา
ในการให้เครดิตแก่ลูกค้า
3 - 20
3 - 21
ยอดขาย
3. อัตราการหมุนของสิ นทรัพย์ ถาวร =
(Fixed assets turnover ratio)
สิ นทรัพย์ ถาวรสุ ทธิ
บริษัท อัลไลด์ ฯ
= 3,000 = 3.0 ครั้ง
1,000
ค่ าเฉลีย่ อุตสาหกรรม
= 3.0 ครั้ง
ยอดขาย
4. อัตราการหมุนของสิ นทรัพย์ ท้ งั สิ้น
=
(Total assets turnover ratio)
สิ นทรัพย์ ท้ังสิ้น
=
3,000
บริษัท อัลไลด์ ฯ
= 1.5 ครั้ง
2,000
ค่ าเฉลีย่ อุตสาหกรรม
= 1.8 ครั้ง
ข้ อสั งเกต : อัตราการหมุนของ FA และ TA
FA TO
TA TO
บริษทั อัลไลด์ ฯ
ค่ าเฉลีย่ อุตสาหกรรม
3. 0 x
1. 5 x
3. 0 x
1. 8 x
3 - 22
อัตราการหมุนของสิ นทรัพย์ถาวรเท่ากับ
ค่าเฉลี่ยอุตสาหกรรม
แต่อตั ราการหมุนของสิ นทรัพย์ท้ งั สิ้ นต่ากว่า
ค่าเฉลี่ยอุตสาหกรรมเล็กน้อย ซึ่ งสาเหตุ
มาจากมีลูกหนี้และสิ นค้าคงเหลือมาก
4. อัตราส่ วนการบริหารหนีส้ ิ น
ข้ อควรพิจารณาในการจัดหาเงินโดยการกู้ยมื
1. ผูถ้ ือหุ น้ มีอานาจในการควบคุมกิจการคงเดิม
โดยไม่ตอ้ งลงทุนเพิม่
2. การกูเ้ งินเพิม่ ขึ้นความเสี่ ยงของเจ้าหนี้จะเพิม่ ขึ้น
3. (กาไร - ดอกเบี้ยจ่าย)
เป็ นของผูถ้ ือหุน้
ดอกเบีย้ จ่ ายไม่ เพิม่ ขึน้
3 - 23
1. อัตราส่ วนหนีส้ ิ น
(Debt ratio)
บริษัท อัลไลด์ ฯ
=
=
=
ค่ าเฉลีย่ อุตสาหกรรม
หนีส้ ิ นทั้งสิ้น
สิ นทรัพย์ ท้ังสิ้น
310 + 754
2,000
1,064 = 53.2 %
2,000
= 40.0 %
3 - 28
EBIT
2. Time - interest - earned (TIE) =
ดอกเบีย้ จ่ าย
283.8 = 3.2 เท่ า
บริษัท อัลไลด์ ฯ
=
88
ค่ าเฉลีย่ อุตสาหกรรม
= 6.0 เท่ า
3 - 29
3. EBITDA Coverage Ratio คือ อัตราส่ วนแสดงว่ากิจการมีกระแส
เงินสดพอที่จะชาระค่ าใช้ จ่ายประจาทางการเงินได้ เพียงไร
EBITDA coverage ratio =
บริษทั อัลไลด์ ฯ
EBITDA + Lease payments
Interest + Loan repayments + Lease payments
=
=
ค่ าเฉลีย่ อุตสาหกรรม
=
283.8 + 100 + 28
88 + 20 + 28
411.8
= 3.0 เท่ า
136
4.3 เท่ า
ข้ อสั งเกต : อัตราส่ วนการบริหารหนีส้ ิ น
D/A
TIE
EBITDA
coverage
บริษทั อัลไลด์ ฯ
53.2 %
3.2 x
3.0 x
ค่ าเฉลีย่ อุตสาหกรรม
40.0 %
6.0 x
4.3 x
บริ ษทั อัลไลด์ฯ มีหนี้สินสูงกว่า
ค่าเฉลี่ยของอุตสาหกรรม
3 - 30
3 - 31
ความสามารถในการชาระดอกเบี้ย
ต่ากว่าค่าเฉลี่ยอุตสาหกรรม
นอกจากนี้อตั ราส่ วน EBITDA ยัง
แสดงว่ากระแสเงินสดรวมทั้งสิ้ นจะ
สามารถชาระค่าใช้จ่ายทางการเงิน
ต่ากว่าค่าเฉลี่ยอุตสาหกรรมด้วย
ทาให้การจัดหาเงินจากการกูย้ มื ใน
อนาคตยากและอัตราดอกเบี้ยสูง
3 - 32
5. อัตราส่ วนความสามารถในการทากาไร
ก
าไรสุ
ท
ธิ
ส
่
ว
นที
เ
่
ป็
นของผู
้
ถ
อ
ื
หุ
้
น
สามั
ญ
1. อัตรากาไรสุ ทธิ
=
(Profit margin on sales)
ยอดขาย
บริษทั อัลไลด์ ฯ
= 113.5
3,000
ค่ าเฉลีย่ อุตสาหกรรม
=
3.8 %
=
5.0 %
3 - 33
ข้ อสั งเกต : อัตรากาไรสุ ทธิต่อยอดขาย
บริษัท อัลไลด์ ฯ
PM
3. 8 %
ค่ าเฉลีย่ อุตสาหกรรม
5. 0 %
PM บริ ษทั อัลไลด์ฯ ต่ากว่าค่าเฉลี่ย
ของอุตสาหกรรม อาจมีสาเหตุมาจาก
ต้นทุนสู งเกินไป บริ ษทั มีหนี้สินสู ง
จึงต้องจ่ายดอกเบี้ยสู ง ทาให้กาไรสุ ทธิ ต่า
3 - 34
2. Basic Earning Power(BEP)
บริษทั อัลไลด์ ฯ
ค่ าเฉลีย่ อุตสาหกรรม
=
=
EBIT
สิ นทรัพย์ ท้งั สิ้น
283.8
2,000
=
14.2 %
=
17.2 %
ข้ อสั งเกต : BEP
BEP
บริษทั อัลไลด์ ฯ
14.2 %
3 - 35
ค่ าเฉลีย่ อุตสาหกรรม
17.2 %
BEP ไม่ นาค่ าภาษีและดอกเบีย้ จ่ ายมาคานวณ จึงมี
ประโยชน์ ในการเปรียบเทียบสาหรับกิจการทีม่ ีอตั รา
ภาษี และโครงสร้ างของเงินทุนทีใ่ ช้ หนีส้ ิ นต่ างกัน
บริษทั อัลไลด์ ฯ BEP ตา่ กว่ าค่ าเฉลีย่ อุตสาหกรรม
จึงต้ องปรับปรุ งแก้ ไขการบริหารสิ นทรัพย์ ต่อไป
3. อัตราผลตอบแทนจากสิ นทรัพย์
[Return on total assets (ROA)
หรือ Return on Investment (ROI)]
บริษัท อัลไลด์ ฯ
ค่ าเฉลีย่ อุตสาหกรรม
3 - 36
กาไรสุ ทธิส่วนทีเ่ ป็ นของผู้ถอื หุ้นสามัญ
=
สิ นทรัพย์ ท้งั สิ้น
= 113.5
2,000
= 9.0 %
= 5.7 %
4. อัตราผลตอบแทนส่ วนของผู้เป็ นเจ้ าของ กาไรสุ ทธิส่วนทีเ่ ป็ นของผู้ถอื หุ้นสามัญ
[(Return on common equity (ROE)] =
ส่ วนของผู้ถอื หุ้นสามัญ
บริษัท อัลไลด์ ฯ
ค่ าเฉลีย่ อุตสาหกรรม
= 113.5
896
= 15.0 %
= 12.7 %
ข้ อสั งเกต : ROA และ ROE
ROA
ROE
บริษทั อัลไลด์ ฯ
5.7 %
12.7 %
ค่ าเฉลีย่ อุตสาหกรรม
9.0 %
15.0 %
บริษทั อัลไลด์ ฯ ทั้ง ROA และ ROE ต่ากว่ า
ค่ าเฉลีย่ ของอุตสาหกรรม เนื่องจาก
BEP ต่า
มีหนีส้ ิ นสู งกว่ าค่ าเฉลีย่ อุตสาหกรรม
ทาให้ ดอกเบีย้ จ่ ายสู งและกาไรสุ ทธิลดลง
3 - 37
3 - 38
6. อัตราส่ วนประเมินผลธุรกิจโดยรวม
1. ราคาตลาดกับกาไรสุ ทธิต่อหุ้น
[Price/Earnings (P/E) Ratio]
บริษทั อัลไลด์ ฯ
ค่ าเฉลีย่ อุตสาหกรรม
ราคาตลาดต่ อหุ้น
=
กาไรสุ ทธิต่อหุ้น
=
23.00
2.27
10.1
=
12.5
=
3 - 39
2. ราคาตลาดกับกระแสเงินสดต่ อหุ้น
(Price/Cash Flow Ratio)
บริษทั อัลไลด์ ฯ
ค่ าเฉลีย่ อุตสาหกรรม
=
ราคาตลาดต่ อหุ้น
=
กระแสเงินสดต่ อหุ้น
23.00 = 5. 4
4.27
= 6. 8
3 - 40
3. ราคาตลาดกับมูลค่ าตาม
บัญชีต่อหุ้น [Market/Book
(M/B) Ratio]
มูลค่ าตามบัญชีต่อหุ้น
(Book value per share)
บริษัท อัลไลด์ ฯ
ส่ วนของผู้ถอื หุ้น
= จานวนหุ้นสามัญทีอ่ ยู่ในมือบุคคลภายนอก
=
Market/book ratio (M/B)
=
บริษัท อัลไลด์ ฯ
=
ค่ าเฉลีย่ อุตสาหกรรม
896
= 17.92 บาท
50
ราคาตลาดต่ อหุ้น
มูลค่ าตามบัญชีต่อหุ้น
23.00
= 1.3
17.92
= 1.7
ข้ อสั งเกต : การประเมินผลธุรกิจโดยรวม
P/E
P/CF
M/B
บริษทั อัลไลด์ ฯ
10.1 x
5.4 x
1.3 x
3 - 41
ค่ าเฉลีย่ อุตสาหกรรม
12.5 x
6.8 x
1.7 x
P/E : บริษัทมีกาไรสุ ทธิ 1 บาท ผู้ลงทุนยินดีซื้อหุ้นราคาเท่ าไร
P/CF : บริษัทมีกระแสเงินสด 1 บาท ผู้ลงทุนยินดีซื้อหุ้นราคาเท่ าไร
M/B : บริษัทมีมูลค่ าตามบัญชี 1 บาท ผู้ลงทุนยินดีซื้อหุ้นราคาเท่ าไร
อัตราส่ วนทั้ง 3 แสดงว่ าผู้ลงทุนมองอนาคตของกิจการอย่ างไร
3 - 47
คือ
การนาผลการวิเคราะห์ อตั ราส่ วนทางการเงินมาพล๊ อตกราฟ
ทาให้ ทราบแนวโน้ มของธุรกิจว่ าดีขนึ้ หรือเลวลง
เพือ่ ประโยชน์ ในการปรับปรุงแก้ ไขต่ อไป
3 - 49
8. การใช้ และข้ อจากัดของการวิเคราะห์ อตั ราส่ วน
1. บริษทั ทีม่ ีหลายแผนกซึ่งประกอบธุรกิจแตกต่ างกัน การเปรียบ
เทียบอัตราส่ วนทางการเงินกับอุตสาหกรรมทาได้ ยาก
2. บริษทั ทีม่ ีอตั ราส่ วนทางการเงินดีกว่ าค่ าเฉลีย่ ของอุตสาหกรรม
อาจไม่ จาเป็ นต้ องเป็ นบริษทั ที่มีประสิ ทธิภาพดีเสมอไป
3. ภาวะเงินเฟ้ออาจทาให้ การเปรียบเทียบแนวโน้ มไม่ ถูกต้ อง
4. สิ นค้ าตามฤดูกาลจะทาให้ อตั ราส่ วนเบี่ยงเบนไปได้
3 - 50
5. การตกแต่ งบัญชี (window dressing)
6. วิธีการบัญชีที่แตกต่ างกัน เช่ น LIFO FIFO
7. การสรุ ปผลการวิเคราะห์ อตั ราส่ วนทาง
การเงินอาจมองในด้ านดี หรือด้ านไม่ ดกี ไ็ ด้
8. กิจการทีม่ ีอตั ราส่ วนหนึ่งดี อีกอัตราส่ วนไม่ ดี
สรุปไม่ ได้ ว่ากิจการมีจุดเด่ น และจุดด้ อยอะไรบ้ าง
3 - 52
10. ย้ อนรอยตัวเลข (การวิเคราะห์ ปัจจัยเชิงคุณภาพ)
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
รายได้ ของกิจการขึน้ อยู่กบั ลูกค้ าเพียงรายเดียวหรือไม่
รายได้ ของกิจการขึน้ กับผลิตภัณฑ์ หลักชนิดเดียวหรือไม่
กิจการต้ องอาศัย Supplier เพียงรายเดียวหรือไม่
กิจการลงทุนในต่ างประเทศมากน้ อยเพียงใด
ภาวะการณ์ แข่ งขันเป็ นอย่ างไร
แนวโน้ มในอนาคตของกิจการ
กฎระเบียบต่ างๆ
4-2
ตลาดคืออะไร (What is a market?)
4-5
• A market is a venue where goods and services
are exchanged. (ตลาด คือ สถานที่ซึ่งทาให้ มีการ
แลกเปลีย่ นสิ นค้ าและบริการกัน)
• A financial market is a place where individuals and
organizations wanting to borrow funds are brought
together with those having a surplus of funds.
(ตลาดการเงิน คือ สถานที่ซึ่งบุคคลและองค์ การต่ าง ๆ
ที่ต้องการกู้เงินมาพบกับผู้ที่มเี งินให้ ก้ )ู
1. ตลาดการเงิน
Types of Market
1. Physical asset markets : (Tangible หรือ Real
asset markets) ตลาดซื้ อขายสิ นทรัพย์ที่มีตวั ตน
เช่น เครื่ องจักร ที่ดินอาคาร สิ นค้าต่างๆ
Financial asset markets : ตลาดซื้ อขายสิ นทรัพย์
ทางการเงิน เช่น หุน้ สามัญ หุน้ บุริมสิ ทธิ์ หุน้ กู้
พันธบัตร ตัว๋ เงินคลัง ตราสารอนุพนั ธ์
4-6
4-7
2. Spot markets : (on - the - spot) ตลาดที่ซ้ื อขาย
สิ นทรัพย์แล้วส่ งมอบทันที ณ
วันที่ซ้ื อขาย
Futures markets : ตลาดที่ซ้ื อขายสิ นทรัพย์วนั นี้
แต่ส่งมอบกันในอนาคต
4-8
3. Money markets : ตลาดที่ซ้ื อขายหลักทรัพย์ที่มี
อายุไม่เกิน 1 ปี เช่น ตัว๋ เงินคลัง
Capital markets : ตลาดที่ซ้ื อขายหลักทรัพย์ที่มี
อายุเกิน 1 ปี เช่น หุน้ สามัญ
หุน้ กู้ พันธบัตรรัฐบาล
4 - 11
6. Primary markets (ตลาดแรก) : ตลาดที่ซ้ื อขาย
หลักทรัพย์ครั้งแรก
บริษัท
ตลาดแรก
ผู้ซื้อหุ้นครั้งแรก
ทีบ่ ริษัทออกขาย
4 - 12
7. Secondary markets (ตลาดรอง) :
ตลาดที่ซ้ื อขายหลักทรัพย์
เปลี่ยนมือระหว่างผูล้ งทุน
ด้วยกัน
ผู้ถอื หุ้นเดิม
ตลาดรอง
ผู้ถอื หุ้นใหม่
4 - 13
เงินทุน
บริษัท
ใบหุ้น
บล.
พัฒนสิ น
ขายต่ อ ตลาดหลักทรัพย์
เงินทุน
ใบหุ้น
ผู้ต้องการเงินทุน
ผู้ลงทุน
ขายต่ อ
นอกตลาด (OTC)
ผู้มีเงินออม
ผู้จัดจาหน่ าย - ประกันการขาย
ตลาดแรก
( Primary Market )
ตลาดรอง
( Secondary Market )
2. สถาบันการเงิน
4 - 16
เงินทุนเคลือ่ นย้ ายระหว่ างผู้ออมและผู้ก้ อู ย่ างไร
How is capital transferred between savers and borrowers?
• Direct transfers เคลื่อนย้ายโดยตรง
• Investment banking house เคลื่อนย้าย
โดยผ่านธนาคารเพื่อการลงทุน
• Financial intermediaries เคลื่อนย้ายโดย
ผ่านสื่ อกลางทางการเงิน
4 - 17
Business
Securities (Stocks or Bonds)
Dollars
Savers
Business
Stocks
Investment Bonds
Dollars Banking House Dollars
Savers
Business
Business,
Securities
Dollars
Financial
Intermediary,s
Securities
Intermediary Dollars
Savers
4 - 20
3. ตลาดหลักทรัพย์
Organized Security Exchanges
Over - the - Counter Market : OTC
Physical location stock exchanges vs.
Electronic dealer - based markets
4 - 21
• Auction market vs.
Dealer market
(Exchanges vs. OTC)
• NYSE vs. Nasdaq
• Differences are
narrowing
(Nasdaq = National Association of Securities Dealers Automated Quotation System )
4 - 22
4. ต้ นทุนของเงิน (The Cost of Money)
• The price, or cost, of debt capital is the interest rate.
(ราคาหรือต้ นทุนของหนีส้ ิ น คือ อัตราดอกเบีย้ )
• The price, or cost, of equity capital is the required
return. The required return investors expect is
composed of compensation in the form of dividends
and capital gains. (ราคาหรือต้ นทุนส่ วนของเจ้ าของ
คือ ผลตอบแทนทีผ่ ้ ูลงทุนต้ องการซึ่งคาดว่ าจะได้ รับ
ประกอบด้ วย เงินปันผลและกาไรส่ วนทุน)
ปัจจัยทีม่ ีผลกระทบต่ อต้ นทุนของเงินทุน
4 - 23
• Production opportunities
(โอกาสในการผลิตสิ นค้า)
• Time preferences for
consumption (ช่วงเวลาที่
ต้องการใช้จ่ายเงิน)
• Risk (ความเสี่ ยงที่จะได้รับดอกเบี้ยและเงินต้นคืน)
• Expected inflation (เงินเฟ้ อที่คาดว่าจะเกิดขึ้นในอนาคต)
5. ระดับของอัตราดอกเบีย้
กาหนดโดย อุปสงค์ อุปทาน
4 - 24
Market A : Low - Risk Securities Market B : High - Risk Securities
Interest Rate , k
Interest Rate , k
%
kA = 10
8
0
%
S1
kB = 12
D1
D2
Dollars
S1
D1
0
Dollars
4 - 25
6. องค์ ประกอบอัตราดอกเบีย้ ของตลาด
k = k* + IP + DRP + LP + MRP
“Nominal” vs. “Real” rates
4 - 26
k = อัตราที่กาหนดไว้ (represents any nominal
rate) เช่ น อัตราผลตอบแทนทีต่ ้ องการจาก
ตราสารหนี้ (required rate of return on a
debt security)
k* = อัตราดอกเบีย้ ของหลักทรัพย์ ทปี่ ราศจากความ
เสี่ ยง(“real”risk - free rate of interest) ถ้ าไม่ มี
เงินเฟ้ อ เช่ น อัตราดอกเบีย้ ของหลักทรัพย์
รัฐบาลระยะสั้ น
4 - 27
IP = ส่ วนชดเชยความเสี่ ยงจากเงินเฟ้อ (inflation premium)
kRF = k* + IP = อัตราดอกเบีย้ ของหลักทรัพย์ รัฐบาล
(rate of interest on treasury securities)
DRP = ส่ วนชดเชยความเสี่ ยงจากการไม่ สามารถชาระ
หนีไ้ ด้ ตามกาหนด (default risk premium)
LP = ส่ วนชดเชยความเสี่ ยงจากสภาพคล่ อง
(liquidity premium)
MRP = ส่ วนชดเชยความเสี่ ยงจากระยะเวลาครบกาหนด
ไถ่ ถอน (maturity risk premium)
4 - 28
kRF = k* + IP
Nominal (Quoted)
เทียบเคียงได้กบั
Risk - Free Rate - US. Treasury bill (T - bill)
of Interest
- Treasury bonds (T - bonds)
* แต่ถา้ อัตราดอกเบี้ยเปลี่ยน
แปลงก็มีความเสี่ ยงบ้าง
4 - 29
IP มีผลต่ออัตราดอกเบี้ยมากเพราะ
ทาให้กาลังซื้ อและอัตราผลตอบแทนที่แท้จริ ง
ลดลง เป็ นอัตราเงินเฟ้ อเฉลี่ยที่คาดไว้ตลอด
อายุหลักทรัพย์
DRP (Default Risk Premium)
ถ้า DRP เพิม่ ขึ้น อัตราดอกเบี้ย
จะเพิ่มขึ้นด้วย
4 - 30
LP (Liquidity Premium)
สภาพคล่อง หมายถึง
การเปลี่ยนเป็ นเงินสดได้เร็ ว
ในราคายุติธรรม ซึ่ งหุน้
จะมีสภาพคล่องมากกว่า
ที่ดิน โรงงาน ปกติอยูร่ ะหว่าง 2 - 4 - 5 %
4 - 31
MRP (Maturity Risk Premium)
ความเสี่ ยงนี้จะเกิดกับหลักทรัพย์ระยะยาว
เพราะถ้าอัตราดอกเบี้ยท้องตลาดสูงขึ้น พันธบัตร
ระยะยาวจะมีราคาลดลง รวมทั้งพันธบัตรรัฐบาล
เรี ยกว่า ความเสี่ ยงเนื่องจากอัตราดอกเบี้ย
(interest rate risk)
ถ้าระยะเวลายาวมากความเสี่ ยงนี้จะสูงขึ้น
4 - 33
7. Term Structure of Interest Rates
• Term structure คือ ความสั มพันธ์ ระหว่ างอัตรา
ดอกเบีย้ (หรือผลตอบแทนทีไ่ ด้ รับ) และวันครบ
กาหนดไถ่ ถอน
[Term structure – relationship between interest
rates (or yields) and maturities.]
• Yield curve คือ กราฟของ Term structure
[The yield curve is a graph of the term structure.]
4 - 34
รูปร่ างของ Yield Curve
1. Normal Yield Curve == > Upward Sloping
2. Invested Yield Curve
Abnormal Yield Curve
3. Humped Yield Curve
== > Downward
Sloping
4 - 35
Yield Curve อัตราดอกเบีย้ ของ U.S.Treasury Bond
Interest Rate ( % )
16
14
Downward sloping มี.ค. 1980
12
10
8
Humped ก.พ.2000
6
Upward sloping เม.ย.2002
4
2
0 1 5
10
Years to Maturity
4 - 37
• A Treasury yield curve from October 2002
5-2
5-5
1. สิ นทรัพย์ ทางการเงิน (financial assets) :
ผูล้ งทุนคาดว่าจะได้รับผลตอบแทนในรู ปของ
กระแสเงินสด และมีความเสี่ ยงในความ
ไม่แน่นอนของกระแสเงินสดนั้น
5-6
2. ความเสี่ ยงของสิ นทรัพย์ มี 2 ประเภท คือ
(1) Stand - alone risk (ความเสี่ ยงเฉพาะ)
คือ ความเสี่ ยงของกระแสเงินสดที่เกิด
จากการลงทุนในสิ นทรัพย์เพียงตัวเดียว
(2) Portfolio risk คือ ความเสี่ ยงของ
กระแสเงินสดที่เกิดจากการลงทุนใน
สิ นทรัพย์หลายตัวนามาวิเคราะห์รวมกัน
5-7
3. ความเสี่ ยงของกลุ่มสิ นทรัพย์ ลงทุนแบ่ งเป็ น 2 ส่ วน
(1) ความเสี่ ยงทีห่ ลีกเลีย่ งได้ (diversifiable risk)
ความเสี่ ยงนี้ถา้ กระจายการลงทุนจะหลีกเลี่ยงได้
(2) ความเสี่ ยงทีห่ ลีกเลีย่ งไม่ ได้ (market risk ,
relevant risk) ความเสี่ ยงนี้เนื่องมาจากดัชนี
ตลาดหลักทรัพย์ลดลง แม้วา่ จะกระจายการ
ลงทุนก็หลีกเลี่ยงไม่ได้ จึงต้องสนใจมาก
5-8
4. สิ นทรัพย์ ทมี่ คี วามเสี่ ยงสู ง ผลตอบ
แทนที่คาดว่ าจะได้ รับจะสู งด้ วย (เพือ่ ชดเชย
กับความเสี่ ยงที่สูงขึน้ ) เช่ น การลงทุนในตั๋วเงินคลัง
5 % (ไม่ มีความเสี่ ยง) แต่ ถ้าลงทุนในหุ้นสามัญต้ อง
ได้ รับผลตอบแทนสู งกว่ า 5 % (เพราะมีความเสี่ ยง)
ผู้ลงทุนโดยทัว่ ไปจะหลีกเลีย่ งความเสี่ ยง
(averse to risk)
5-9
1. ผลตอบแทนจากการลงทุน
ผลตอบแทน
เงินทีไ่ ด้ รับจาก
=
- เงินลงทุน
การลงทุน
(จานวนเงิน)
= 1,100 - 1,000 = 100 บาท
ตัวอย่ าง ลงทุน 1,000 บาท เมื่อ
ครบ 1 ปี ได้ รับเงิน 1,100 บาท
คานวณอัตราผลตอบแทนดังนี้ :
5 - 10
เงินที่ได้รับจาก
- เงินลงทุน
อัตราผลตอบแทน
การลงทุ
น
=
จากการลงทุน
เงินลงทุน
100
= 1,000 = 10 %
ความเสี่ ยงคืออะไร
5 - 11
• Risk, in traditional terms, is viewed as a ‘negative’.
Webster’s dictionary, for instance, defines risk as
“exposing to danger or hazard”. The Chinese
symbols for risk, reproduced below, give a much
better description of risk
• wang chi
• The first symbol is the symbol for “danger”,
while the second is the symbol for “opportunity”,
making risk a mix of danger and opportunity.
5 - 12
คือ
ความเสี่ ยงเกี่ยวกับความน่าจะเป็ นที่จะได้รับ
ผลตอบแทนต่าหรื อขาดทุน (low or negative return)
ถ้าความน่าจะเป็ นนี้สูงการลงทุน
จะมีความเสี่ ยงสูงด้วย
• ความเสี่ ยงจากการลงทุนมี 2 ประเภท
(Two types of investment risk)
– ความเสี่ ยงของหลักทรัพย์ตวั เดียว
“ความเสี่ ยงเฉพาะ” (Stand - alone risk )
– ความเสี่ ยงของกลุ่มหลักทรัพย์
(Portfolio risk)
5 - 13
RISK,RETURN,AND DIVERSIFICATION
RISK ----> UNFAVORABLE OUTCOME
HIGH RISK, HIGH RETURN
DON’T PUT ALL EGGS IN ONE BASKET
DIVERSIFY RISK
(UNSYSTEMATIC RISK)
5 - 14
5 - 15
2. ความเสี่ ยงเฉพาะ (Stand – Alone Risk)
ความเสี่ ยง คือ โอกาสของเหตุการณ์ที่ไม่ตอ้ งการให้เกิดขึ้น
ผลตอบแทน คือ รายได้จากการลงทุนในช่วงเวลาหนึ่ง
ความเสี่ ยงเฉพาะจะเกิดขึ้นจากการลงทุน
ในหลักทรัพย์เพียงตัวเดียว
5 - 17
(1) การกระจายของความน่ าจะเป็ น (Probability Distribution)
ความน่ าจะเป็ นของเหตุการณ์ ใด
โอกาสทีจ่ ะเกิดเหตุการณ์ น้ัน ๆ
ถ้ากาหนดความน่าจะเป็ นให้เหตุการณ์
ที่จะเกิดขึ้นแล้วนามารวมกัน เรี ยกว่า
การกระจายความน่าจะเป็ น
(probability distribution)
5 - 19
(2) อัตราผลตอบแทนที่คาดว่ าจะได้ รับ : k^ (k - hat)
(Expected Rate of Return)
กรณีลงทุนในสิ นทรัพย์ ชนิดเดียว
k^ = P1k1 + P2k2 + ……….Pnkn
n
k = S Pik i
^
i=1
Pi = โอกาสทีจ่ ะเกิดเหตุการณ์ i , ki = อัตราผลตอบแทนถ้ าเกิดเหตุการณ์ i
Martin Products
U.S. Water
ความน่ าจะเป็ น
ความน่ าจะเป็ น
0.4
0.4
- 70
0.3
0.3
0.2
0.2
0.1
0.1
0 15
100 อัตราผล
อัตราผลตอบแทน ตอบแทน (%)
ที่คาดว่ าจะได้ รับ
5 - 21
อัตราผล
0 10 15 20
ตอบแทน (%)
อัตราผลตอบแทน
ที่คาดว่ าจะได้ รับ
5 - 22
ความน่ าจะเป็ น
บริษทั U
บริษทั M
-70
0 10 15 20
อัตราผลตอบแทนที่คาดว่ าจะได้ รับ
(Expected Rate of Return)
อัตราผล
100 ตอบแทน (%)
5 - 23
(3) การวัดความเสี่ ยงเฉพาะ : ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
สถิติที่นิยมใช้ คือ ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
2
Variance = s 
n
i 1
Standard deviation(s) 
^2
(k i - k ) Pi
n
i 1
^2
(k i - k ) Pi
5 - 27
บริษทั M
k^ = 15%
68.26%
s = 65.84%
- 3s -2 s
95.46%
99.74%
-1s
-50.84%
^k
15%
 1 s 2 s  3 s
80.84%
สรุป : การตัดสิ นใจเลือกลงทุน
^
1. กรณี k เท่ ากันจะเลือกลงทุนหุ้นที่ s ต่ากว่ า
2. กรณี s เท่ ากันจะเลือกลงทุนหุ้นที่ k^ สู งกว่ า
^
3. กรณี k สู งกว่ าและ ก็สูงกว่ าด้ วยจะเลือก
ลงทุนอย่ างไร
s
ต้ องเปรียบเทียบอัตราความเสี่ ยงต่ ออัตรา
ผลตอบแทน (Coefficient of Variation “CV”)
5 - 28
5 - 29
(4) การวัดความเสี่ ยงเฉพาะ : Coefficient of Variation
ค่ าสั มประสิ ทธิ์ของความแปรปรวน คือ
ความเสี่ ยงของผลตอบแทนที่คาดว่าจะได้รับ 1 หน่วย
Std dev s
CV =
= ^
Mean
k
A standardized measure
of dispersion about the
expected value, that
shows the risk per unit
of return.
5 - 46
(4) การหลีกเลีย่ งความเสี่ ยงและผลตอบแทนทีต่ ้ องการ
ผู้ลงทุนทัว่ ไป
ไม่ชอบความเสี่ ยง ซึ่งกาหนด
เป็ นข้อสมมติของหนังสื อเล่มนี้
ผูล้ งทุนที่มีเหตุผลจะ
ไม่ชอบความเสี่ ยง
ทัศนคติของผู้ลงทุนทีม่ ีต่อความเสี่ ยง
(Investor attitude towards risk)
5 - 47
• Risk premium – the difference between the return
on a risky asset and less risky asset, which serves as
compensation for investors to hold riskier securities.
(ส่ วนชดเชยความเสี่ ยง – ผลต่างระหว่างผลตอบแทน
จากสิ นทรัพย์ที่มีความเสี่ ยงสู งกับสิ นทรัพย์ที่มีความ
เสี่ ยงต่ากว่า ซึ่งจะเป็ นผลตอบแทนที่ชดเชยให้แก่ผู ้
ที่ลงทุนในหลักทรัพย์ซ่ ึงมีความเสี่ ยงมากกว่า)
5 - 49
3. ความเสี่ ยงของกลุ่มสิ นทรัพย์ ลงทุน (Portfolio Risk)
Portfolio :
กลุ่มของสิ นทรัพย์ 2 ชนิดขึ้นไป
การลงทุนในสิ นทรัพย์เป็ นกลุ่ม
ทาให้ความเสี่ ยงต่า
5 - 50
(1) ผลตอบแทนที่คาดว่ าจะได้ รับจากกลุ่มสิ นทรัพย์ ลงทุน
(Expected return on a portfolio) = ^kP
^k = w k^ + w k^ + . . . . . . . . . w k^
P
1 1
2 2
n n
^
kp =
n
S w i ^k i
i=1
^kP = ค่าถัวเฉลี่ยถ่วงน้ าหนักของ ^ki
5 - 52
(2) ความเสี่ ยงของกลุ่มสิ นทรัพย์ ลงทุน : sP
จะนา s ของสิ นทรัพย์ลงทุนแต่ละตัว
มาถัวเฉลี่ยถ่วงน้ าหนักไม่ได้
ตามปกติ sP จะต่ากว่ าค่ าถัวเฉลีย่ ถ่ วงน้าหนักของ s i
เพราะผลตอบแทนของสิ นทรัพย์ แต่ ละตัวมีความสั มพันธ์ กนั
Correlation Coefficient : r
(3) ความเสี่ ยงทีห่ ลีกเลีย่ งได้ กบั ความเสี่ ยงทางตลาด
Stand-alone
risk
Market
= risk
ความเสี่ ยงทางตลาดเป็ น
ส่ วนหนึ่งของ stand - alone
risk ของหลักทรัพย์ซ่ ึ งไม่
สามารถขจัดได้โดยกระจาย
การลงทุนและวัดด้วยค่า b
+
5 - 58
Firm-specific
risk
เป็ นความเสี่ ยงส่ วน
หนึ่งของหลักทรัพย์
ที่สามารถขจัดได้โดย
การกระจายการลงทุน
5 - 59
ความเสี่ ยงที่หลีกเลีย่ งได้
Diversifiable
Company - Specific Risk
Unsystematic
เป็ นความเสี่ ยงที่ขจัดได้
โดยการกระจายการลงทุน
เป็ นความเสี่ ยงของ
หลักทรัพย์น้ นั เช่น โครง
สร้างเงินทุนของกิจการ
ลักษณะของผลิตภัณฑ์ฯลฯ
ความเสี่ ยงทีห่ ลีกเลีย่ งไม่ ได้
5 - 60
ความเสี่ ยงนี้ขจัดไม่ได้แม้วา่ จะการ
Relevant
กระจายการลงทุน เช่น ความเสี่ ยง
Market
Risk จากภัยสงคราม ภาวะเศรษฐกิจตกต่า
Non - diversifiable
อัตราดอกเบี้ยสู งขึ้น
Systematic
ความเสี่ ยงนี้ยงั มีอยูใ่ น portfolio
บางครั้ง เรี ยกว่า ความเสี่ ยงทางตลาด
วัดได้โดยค่าเบต้า [beta“b”]
ถ้ าความเสี่ ยงนีส้ ู งผู้ลงทุนจะต้ องการอัตราผลตอบแทนสู ง
การลงทุนในหลักทรัพย์ เพิม่ ขึน้ ความเสี่ ยงทีห่ ลีกเลีย่ งได้
จะลดลง (ความเสี่ ยงทางตลาดไม่ เปลีย่ นแปลง)
5 - 63
s p (%)
Company Specific Risk
35
Stand-Alone Risk sp
s M= 20
Market Risk (คงที)่
0
10
20
30
40
2,000+
# Stocks in Portfolio
5 - 65
Capital Asset Pricing Model : CAPM
เป็ นรูปแบบจาลองที่อธิบายความสั มพันธ์ ของ
ความเสี่ ยงและผลตอบแทน โดยมีหลักสาคัญ คือ
“อัตราผลตอบแทนทีต่ ้ องการของหลักทรัพย์ ใดเท่ ากับ
อัตราผลตอบแทนที่ไม่มีความเสี่ ยง (risk free rate)
บวก อัตราผลตอบแทนที่เพิ่มขึ้นเพื่อชดเชยความเสี่ ยงที่
เพิ่มขึ้น เมื่อขจัดความเสี่ ยงที่สามารถขจัดได้ออกไปแล้ว”
5 - 66
ki = kRF + (kM - kRF)bi
ki
kRF
kM
bi
= อัตราผลตอบแทนที่ตอ้ งการของหุน้ สามัญ i
= อัตราผลตอบแทนที่ไม่มีความเสี่ ยง
= อัตราผลตอบแทนเฉลี่ยของตลาด
= ค่าเบต้าของหุน้ สามัญ i
5 - 67
(4) แนวความคิดเกีย่ วกับค่ าเบต้ า (Beta : b)
Beta Coefficient : b
ใช้วดั ความเคลื่อนไหวของอัตราผลตอบแทน
ของหุน้ ตัวใดตัวหนึ่งเปรี ยบเทียบกับการ
เคลื่อนไหวอัตราผลตอบแทนเฉลี่ยของตลาด
อัตราผลตอบแทนของตลาดหลักทรัพย์
วัดจากการเคลื่อนไหวของดัชนีในตลาด
หลักทรัพย์ต่าง ๆ
5 - 68
• Run a regression of past returns of a security against past
returns on the market. (ใช้ regression โดยนาผลตอบแทนของ
หลักทรัพย์ในอดีตเทียบกับผลตอบแทนของตลาดในอดีต)
• The slope of the regression line (sometimes called the
security’s characteristic line) is defined as the beta
coefficient for the security. [ค่าความชันของ regression line
(บางครั้งเรี ยกว่า the security’s characteristic line) ถูกนิยาม
ว่าเป็ นค่าสัมประสิ ทธิ์ เบต้าของหลักทรัพย์น้ นั ]
5 - 69
Illustration of beta calculation:
20
_
ki
.
.
15
Regression line:
^
k = -2.59 + 1.44 ^
k
i
Year k M
1 15%
2
-5
3 12
10
5
-5 0
-5
.
-10
5
10
15
20
_
kM
M
ki
18%
-10
16
CHARACTERISTIC LINE
EXCESS RETURN
ON STOCK
5 - 70
Narrower spread
is higher correlation
Rise
Beta = Run
EXCESS RETURN
ON MARKET PORTFOLIO
Characteristic Line
5 - 71
WHAT IS BETA ?
An index of systematic risk.
It measures the sensitivity of a stock’s returns
to changes in returns on the market portfolio.
The beta of a portfolio is simply a weighted
average of the individual stock betas in the
portfolio.
5 - 72
CHARACTERISTIC LINES AND
DIFFERENT BATAS
EXCESS RETURN
ON STOCK
Beta > 1
(aggressive)
Beta = 1
Each characteristic
line has a
different slope.
Beta < 1
(defensive)
EXCESS RETURN
ON MARKET PORTFOLIO
5 - 85
4. ความสั มพันธ์ ระหว่ างความเสี่ ยงกับอัตราผลตอบแทน
Security Market Line (SML)
คือ
เส้ นที่แสดงความสั มพันธ์ ระหว่ างความเสี่ ยง
ซึ่งวัดด้ วยค่ าสั มประสิ ทธิ์เบต้ ากับอัตราผลตอบแทน
ที่ต้องการของหลักทรัพย์ ตัวใดตัวหนึ่ง
5 - 86
Security Market Line Equation : สมการ SML
อัตราผล
อัตราผล
อัตราผลตอบ
ตอบแทนที่ = ตอบแทนที่ + แทนของตลาดที่
ต้องการหุน้ i ไม่มีความเสี่ ยง ชดเชยความเสี่ ยง
ki
= kRF + (kM - kRF) bi
หุ้น i ตัวเดียว
ค่าเบต้า
หุน้ i
Security Market Line ( SML )
5 - 94
อัตราผลตอบแทน
ทีต่ ้ องการ k (%)
SML 1
Original situation
11
6
0
1
1.5
Risk , b i
5 - 95
New SML
อัตราผลตอบแทน
ทีต่ ้ องการ k (%)
IP = 2 %
SML 2
SML 1
13
11
Original situation
8
6
0
1
1.5
Risk , b i
อัตราผลตอบแทน
ทีต่ ้ องการ k (%)
After increase
in risk aversion
5 - 98
kM= 13.5%
SML 2
k M = 11%
13.5
2. 5 %
SML1
11
Original situation
6
0
1.0
Risk, b i
6-2
6-6
1. เส้ นเวลา (TIME LINE)
0
1
2
3
CF1
CF2
CF3
i%
CF0
• เป็ นเครื่องมือทีส่ าคัญในการวิเคราะห์ มูลค่ าของเงินตามเวลา
• Show the timing of cash flows. (แสดงจังหวะเวลาของกระแสเงินสด)
• Tick marks occur at the end of periods, so Time 0 is today; Time 1 is the end
of the first period (year, month, etc.) or the beginning of the second period.
(เครื่องหมายขีดเกิดขึน้ ณ วันสุ ดท้ ายของระยะเวลา ดังนั้น 0 หมายถึงปัจจุบนั
1 หมายถึงสิ้นงวดระยะเวลาที่ 1 (ปี เดือน ฯลฯ) หรือเป็ นการเริ่มงวดที่สอง)
6 - 10
2. มูลค่ าในอนาคต (Future Value : FV)
• Finding the FV of a cash flow or series of cash flows when compound
interest is applied is called compounding. (คานวณ FV ของกระแส
เงินสดหรืออนุกรมของกระแสเงินสดโดยใช้ วธิ ีดอกเบีย้ ทบต้ น)
• FV can be solved by using the arithmetic, financial calculator, and
spreadsheet methods. (FVสามารถคานวณได้ โดยใช้ วธิ ีการทางเลขคณิต
ใช้ เครื่องคานวณทางการเงิน หรือ spreadsheet)
0
1
2
3
10%
- 100
FV = ?
FV1 = PV + PV ( i )
= PV (1 + i)
FV2 = FV1 (1 + i)
= PV (1 + i) (1 + i)
2
= PV (1 + i)
FVn =
ตัวอย่ าง
n
PV (1 + i)
FV5 = 100 (1 + 0.05)5
= $ 127.63
6 - 12
6 - 13
Future Value Interest Factors : FVIFi , n = (1 + i)n
PERIOD ( n )
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
0%
1.0000
1.0000
1.0000
1.0000
1.0000
1.0000
1.0000
1.0000
1.0000
1.0000
5%
1.0500
1.1025
1.1576
1.2155
1.2763
1.3401
1.0471
1.4475
1.5513
1.6289
10 %
1.1000
1.2100
1.3310
1.4641
1.6105
1.7716
1.9487
2.1436
2.3579
2.5937
15 %
1.1500
1.3225
1.5209
1.7490
2.0114
2.3131
2.6600
3.0590
3.5179
4.0456
6 - 17
3. มูลค่ าปัจจุบัน (Present Value : PV)
• Finding the PV of a cash flow or series of cash flows when compound
interest is applied is called discounting (the reverse of compounding).
[หาค่ า PV ของกระแสเงินสด หรืออนุกรมของกระแสเงินสด โดยใช้ วธิ ีการ
ของดอกเบีย้ ทบต้ น เรียกว่ า การคิดส่ วนลด (เป็ นวิธีที่ตรงกันข้ ามกับดอกเบีย้
แบบทบต้ น)]
• The PV shows the value of cash flows in terms of today’s purchasing
power. (PVแสดงมูลค่ าของกระแสเงินสดในรูปอานาจซื้อของเงินปัจจุบัน)
0
1
2
3
10%
PV = ?
100
6 - 18
เส้ นเวลา :
0 i = 5% 1
PV = ? FV1
FVn = PV (1 + i) n
FVn
PV =
(1 + i) n
2
FV2
3
4
5
FV3
FV4
FV5
127. 63
Present Value Interest Factors for $1: PVIFi , n = 1/( 1 + i )n
PERIOD ( n )
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
5%
.9524
.9070
.8638
.8227
.7835
.7462
.7107
.6768
.6446
.6139
8%
.9259
.8573
.7938
.7350
.6806
.6302
.5835
.5403
.5002
.4632
10 %
.9091
.8264
.7513
.6830
.6209
.5645
.5132
.4665
.4241
.3855
12 %
.8929
.7972
.7118
.6355
.5674
.5066
.4523
.4039
.3606
.3220
14 %
.8772
.7695
.6750
.5921
.5194
.4556
.3996
.3506
.3075
.2697
5. มูลค่ าในอนาคตของเงินเท่ ากันทุกงวด
(Future Value of an Annuity : FVAn)
6 - 31
Annuity = อนุกรมของการจ่ ายเงิน (หรือการรับเงิน)
จานวนเท่ า ๆ กันทุกงวด โดยมีระยะเวลา
ที่กาหนดไว้ แน่ นอน เช่ น ดอกเบีย้ หุ้นกู้
Future Value of an Annuity (FVAn)
มูลค่ าในอนาคตของเงินเท่ ากันทุกงวด
6 - 32
Annuity แบ่ งออกเป็ น 2 ประเภท
1. Ordinary Annuity (Deferred Annuity) :
การจ่ ายเงินจานวนเท่ า ๆ กัน ณ วันปลายงวด
2. Annuity Due : การจ่ ายเงินจานวนเท่ า ๆ กัน
ณ วันต้ นงวด
What is the difference between an 6 - 33
ordinary annuity and an annuity due?
Ordinary Annuity
0
i%
1
2
3
PMT
PMT
PMT
1
2
3
PMT
PMT
Annuity Due
0
i%
PMT
Future Value Interest Factors for $1 Annuity : FVIFAi , n
PERIOD ( n ) 5 %
1
1.0000
2
2.0500
3
3.1525
4
4.3101
5
5.5256
6
6.8019
7
8.1420
8
9.5491
9
11.027
10
12.578
8%
1.0000
2.0800
3.2464
4.5061
5.8666
7.3359
8.9228
10.637
12.488
14.487
10 %
1.0000
2.1000
3.3100
4.6410
6.1051
7.7156
9.4872
11.436
13.579
15.937
12 %
1.0000
2.1200
3.3744
4.7793
6.3528
8.1152
10.089
12.300
14.776
17.549
14 %
1.0000
2.1400
3.4396
4.9211
6.6101
8.5355
10.730
13.233
16.085
19.337
6. มูลค่ าปัจจุบันของเงินเท่ ากันทุกงวด
(Present Value of an Annuity : PVA)
6 - 41
1. Ordinary Annuity 1. ใช้ เครื่องคานวณธรรมดา
0 5% 1
2
3
95. 24
100
100
100
90. 70
86. 38
PVA3 272. 32
PVAn = PMT (PVIFAi , n)
Present Value Interest Factors for $1 Annuity : PVIFAi , n
PERIOD ( n )
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
5%
0.9524
1.8594
2.7232
3.5460
4.3295
5.0757
5.7864
6.4632
7.1078
7.7271
8%
0.9259
1.7833
2.5771
3.3121
3.9927
4.6229
5.2064
5.7466
6.2469
6.7101
10 %
0.9091
1.7355
2.4869
3.1699
3.7908
4.3553
4.8684
5.3349
5.7590
6.1446
12 %
0.8929
1.6901
2.4018
3.0373
3.6048
4.1114
4.5638
4.9676
5.3282
5.6502
14 %
0.8772
1.6467
2.3216
2.9137
3.4331
3.8887
4.2883
4.6389
4.9464
5.2161
7. Perpetuities
Perpetuities คือ กระแสเงินสดที่ได้รับงวดละ
เท่าๆ กันตลอดไปไม่มีสิ้นสุ ด
05%1 2 3 4 5
PV = ? 100 100 100 100 100
PV ( Perpetuities ) = PMT
i
100
= 0.05 = $ 2,000
6 - 49
6 - 50
8. กระแสเงินสดแต่ ละงวดไม่ เท่ ากัน
1. การคานวณมูลค่ าปัจจุบัน (Present Value)
CF
CF
…
CF
1
2
n
PV =
+
+
2
n
(1 + i)
(1 + i) (1 + i)
6 - 51
1. ใช้ เครื่องคานวณธรรมดา
0 6 %1
2
3
4
5
6
7
94.34 100 200 200 200 200 0 1,000
178.00
167.92
158.42
149.45
0
665.06
1,413.19
6
66
Will the FV of a lump sum be larger or smaller if
compounded more often, holding the stated I% constant?
• LARGER, as the more frequently compounding
occurs, interest is earned on interest more often.
0
10%
1
2
3
100
133.10
Annually: FV3 = $100(1.10)3 = $133.10
0
0
100
5%
1
1
2
3
2
4
5
Semiannually: FV6 = $100(1.05)6 = $134.01
3
6
134.01
6 - 79
Annual compounding
FV = PV (1 + i) n
More frequent compounding
FVn = PV 1 + iNom
m
mn
6 - 89
1. Nominal (Quoted) Rate : iNom
Annual Percentage Rate : APR
อัตราดอกเบีย้ ทีผ่ ู้ก้ แู ละผู้ให้ ก้ ตู กลงกันว่ าจะคิด
ปี ละกีเ่ ปอร์ เซ็นต์ เช่ น นาเงินฝากธนาคาร
ประจา 12 เดือน อัตราดอกเบีย้ 4.5 % ระยะเวลา 1 ปี
ประจา 3 เดือน อัตราดอกเบีย้ 4.5 % ระยะเวลา 1 ปี
6 - 90
2. Periodic Rate : iPER
iPER = iNom
m
บริษทั เงินทุนให้ ก้ เู งิน อัตราดอกเบีย้ 3 % ต่ อไตรมาส
(3เดือน) ดั้งนั้นจะเป็ นอัตราดอกเบีย้ 12 % ต่ อปี
iPER = iNom ; iNom = (iPER) m
m
= 3 (4) = 12 %
6 - 91
3. Effective (Equivalent) Annual Rate : EAR
EAR : EFF % = 1 + iNom
m
m
-1
7-2
7-5
พันธบัตรคืออะไร (What is a bond ?)
• A long-term debt instrument in which a borrower
agrees to make payments of principal and interest,
on specific dates, to the holders of the bond.
พันธบัตร คือ ตราสารหนีร้ ะยะยาวซึ่งผู้ก้ ู (ผู้ออก
พันธบัตร) ได้ สัญญาว่าจะจ่ ายชาระคืนเงินต้ นและ
ดอกเบีย้ ตามวันทีก่ าหนดไว้ ให้ แก่ ผู้ถอื พันธบัตร
7-6
1. พันธบัตรจาแนกตามผู้ออกจาหน่ าย
1. พันธบัตรรัฐบาล (Treasury bonds
หรือ Government bonds)
จาหน่ ายโดยรัฐบาลกลาง
ไม่ มีความเสี่ ยงในเรื่องการชาระดอกเบีย้
และเงินต้ น (no default risk)
7-7
2. พันธบัตรของบริษัทเอกชน (Corporate bonds)
จาหน่ ายโดยบริษทั เอกชน
มี default risk
3. พันธบัตรของรัฐ (Municipal bonds)
จาหน่ ายโดยรัฐต่ าง ๆ ในสหรัฐอเมริกา
หรือรัฐบาลท้ องถิ่น
มี default risk
7-8
4. พันธบัตรต่ างประเทศ (Foreign bonds)
จาหน่ ายโดยรัฐบาลต่ างประเทศ
หรือบริษัทต่ างประเทศ
มี default risk
มีความเสี่ ยงจากอัตราแลกเปลีย่ น
7-9
1. มูลค่ าทีต่ ราไว้ (Par value)
จานวนเงินทีผ่ ู้ออกพันธบัตรจะต้ องชาระคืน
แก่ ผู้ถอื พันธบัตร 1 ฉบับเมื่อครบกาหนดไถ่ ถอน
7 - 10
2. อัตราดอกเบีย้ ทีก่ าหนด (Coupon interest rate)
Floating rate bonds พันธบัตรทีอ่ ตั ราดอกเบีย้
ลอยตัวตามอัตราดอกเบีย้ ของตลาด
Fixed rate bonds พันธบัตรทีก่ าหนด
อัตราดอกเบีย้ ไว้แน่ นอน
Zero coupon bonds พันธบัตรทีไ่ ม่ มีการจ่ าย
ดอกเบีย้ ผู้ลงทุนจะซื้อโดยหักส่ วนลดไว้
7 - 11
3. กาหนดไถ่ ถอน (Maturity date)
ปกติจะอยู่ในช่ วงเวลา 10 - 40 ปี
4. การไถ่ ถอนก่อนครบกาหนด (Call provisions)
พันธบัตรทีอ่ อกจาหน่ ายกาหนดเงือ่ นไขนีไ้ ว้
เมื่ออัตราดอกเบีย้ ของตลาดลดลงต่ากว่า
อัตราดอกเบีย้ ของพันธบัตร ผู้ออกพันธบัตร
จะใช้ สิทธิไถ่ ถอนพันธบัตรก่อนกาหนด
7 - 12
5. เงินกองทุนเพือ่ ไถ่ ถอนพันธบัตร (Sinking funds)
พันธบัตรอาจกาหนดให้ ผู้ออกพันธบัตรจัดตั้ง
เงินกองทุนเพือ่ ไถ่ ถอนพันธบัตรได้
6. พันธบัตรแปลงสภาพ (Convertible bonds)
พันธบัตรทีก่ าหนดให้ ผู้ถอื พันธบัตรนามา
แปลงสภาพเป็ นหุ้นสามัญได้
7 - 13
7. พันธบัตรควบใบสาคัญแสดงสิ ทธิในการซื้อหุ้นสามัญ
(Bonds issued with warrants) ผู้ซื้อพันธบัตรจะ
ได้ รับใบสาคัญแสดงสิ ทธิในการซื้อ
หุ้นสามัญซึ่งนามาซื้อหุ้นสามัญได้
7 - 14
8. พันธบัตรรายได้ (Income bond) พันธบัตร
ทีจ่ ะจ่ ายดอกเบีย้ เมื่อมีรายได้ เพียงพอ
เท่ านั้น
9. Indexd bond (Purchasing power bond)
พันธบัตรทีป่ รับอัตราดอกเบีย้
ตามภาวะเงินเฟ้ อ
7 - 15
3. การประเมินมูลค่ าพันธบัตร (Bond Valuation)
0 kd% 1
VB = ? INT
2
3
INT INT
N
INT +
M
VB = มูลค่ าตามทฤษฎีของพันธบัตร
kd = อัตราผลตอบแทนทีต่ ้ องการจากพันธบัตร
( อัตราดอกเบีย้ ของตลาด )
7 - 16
N = อายุของพันธบัตรปัจจุบันถึง
วันครบกาหนดไถ่ ถอน
INT = จานวนดอกเบีย้ ของพันธบัตรต่ องวด
M = มูลค่ าทีต่ ราไว้ หรือมูลค่ าทีไ่ ถ่ ถอน
(par value)
7 - 17
VB =  N INT + M
t
N
t = 1 (1 + kd) (1 + kd)
หรือ
VB = INT (PVIFAk , N) + M (PVIFk , N)
d
d
พันธบัตรมูลค่ าฉบับละ 1,000 บาท
อัตราดอกเบีย้ 10 % อายุ 15 ปี
อัตราผลตอบแทนทีต่ ้ องการ 10 %
พันธบัตรมีมูลค่ าตามทฤษฎีเท่ าไร
7 - 18
INT
INT
INT
M
VB =
+
+……+
+
( 1 + kd )1 ( 1 + kd )2
( 1 + kd )N ( 1 + kd )N
100
100
100
1,000
VB =
+
+….+
+
( 1 + 0.1 )1 ( 1 + 0.1 )2
( 1 + 0.1 )15 ( 1 + 0.1 )15
= 100 (PVIFA10% , 15) + 1,000 (PVIF10% , 15)
การเปลีย่ นแปลงมูลค่ าพันธบัตรตามเวลา
Bond Value
1,495
M = 1,000
714
0
kd ลดลงเหลือ 5 %
Premium Bond
kd = coupon rate
M
Discount Bond
kd เพิม่ ขึน้ เป็ น 15 %
5
10
15
Years
7 - 27
7 - 29
4. อัตราผลตอบแทนจากพันธบัตร
อัตราผลตอบแทนที่ได้ รับ
ถ้ าถือพันธบัตรไว้ จนครบกาหนด
7 - 30
ซื้อพันธบัตรมูลค่ าทีต่ ราไว้ (par value) 1,000 บาท
อัตราดอกเบีย้ 10 % อายุ 14 ปี
ในราคา 1,494.93 บาท และถือไว้จนครบกาหนด
อัตราผลตอบแทนจากการถือพันธบัตร
(YTM) ปี ละเท่ าไร
1. ใช้ เครื่องคานวณธรรมดา
VB
=
7 - 31
N
INT
+
M

t = 1 (1 + kd) t (1 + kd) N
100
100
100
1,000
1,494.93 =
+
+…+
+
2
14
(1 + kd) (1 + kd)
(1 + kd) (1 + kd)14
VB = INT (PVIFA kd , 14) + M (PVIF kd , 14)
7 - 34
อัตราผลตอบแทนที่ได้ รับ
เมือ่ พันธบัตรถูกเรียกไถ่ ถอน
ก่ อนครบกาหนด
1. ใช้ เครื่องคานวณธรรมดา
VB =
1,494.93 =
N
100
+
Call
Price

t = 1 (1 + kd) t (1 + kd) N
N
100
+
1,100

t = 1 (1 + kd) t (1 + kd) N
7 - 36
7 - 38
อัตราผลตอบ
ดอกเบีย้ ทีไ่ ด้ รับ
=
ราคาตลาดปัจจุบัน
แทนปัจจุบัน
พันธบัตรจ่ ายดอกเบีย้ ปี ละ 100 บาท
ราคาตลาดปัจจุบัน 985 บาท
Current Yield = 100 = 10.15 %
985
7 - 39
5. พันธบัตรจ่ ายดอกเบีย้ ปี ละ 2 ครั้ง
ผู้ออกพันธบัตรจาหน่ ายนิยมจ่ ายดอกเบีย้ ปี ละ 2 ครั้ง
พันธบัตรอัตราดอกเบีย้ 10 % จ่ ายดอกเบีย้
ปี ละ 2 ครั้ง ราคาทีต่ ราไว้ 1,000 บาท กาหนด
ไถ่ ถอน 15 ปี อัตราผลตอบแทนทีต่ ้ องการ 5 %
จะซื้อพันธบัตรนีใ้ นราคาเท่ าใด
7 - 40
VB =
2N
INT
/
2
+
M

t
2N
t = 1 (1 + kd /2) (1 + kd /2)
6.การประเมินความเสี่ ยงของพันธบัตร
ความเสี่ ยงจากอัตราดอกเบีย้
(Interest Rate Risk)
1. มีความสั มพันธ์ กบั มูลค่ า
(PRICE)ของพันธบัตร
2. ผู้ถอื พันธบัตรระยะยาว
จะประสบความเสี่ ยงนี้
มากกว่ าผู้ถอื พันธบัตร
ระยะสั้ น
7 - 42
ความเสี่ ยงจากอัตรา
ผลตอบแทนทีไ่ ปลงทุนต่ อ
(Reinvestment Rate Risk)
1. มีความสั มพันธ์ กบั รายได้
(INCOME)ของผู้ถอื พันธบัตร
2. ผู้ถอื พันธบัตรระยะสั้ นจะประสบ
ความเสี่ ยงนีม้ ากกว่ าผู้ถอื พันธบัตร
ระยะยาว
7 - 45
การจัดอันดับพันธบัตร
S&P : AAA AA A BBB
ลงทุนได้
Investment Grade
Moody ,s : Aaa Aa A Baa
BB B CCC D
พันธบัตรคุณภาพตา่
(Junk Bond)
Ba B Caa C
8-2
8-7
3. การประเมินมูลค่ าหุ้นสามัญ
(Common Stock Valuation)
หุ้นสามัญ : ผู้ถอื หุ้นสามัญมีฐานะเป็ นเจ้ าของกิจการ
มีลกั ษณะสาคัญ 2 ประการ คือ
1. บริษทั จะจ่ ายเงินปันผลให้ ผู้ถอื หุ้นสามัญเมือ่ มีกาไร
2. ถ้ าผู้ถอื หุ้นสามัญขายหุ้นได้ ราคาสู งกว่ าราคาทีซ่ ื้อมา
เรียกว่ า กาไรส่ วนทุน (capital gain) ถ้ าขายได้ ต่ากว่ า
เรียกว่ า capital loss
8-8
D0
Dt
P0
^P
t
^P
0
=
=
=
=
=
เงินปันผล ปี ปัจจบุ ัน
เงินปันผลที่ คาดว่ าจะได้ รับในปี t
ราคาตลาดของหุ้นสามัญใน ปัจจบุ ัน
ราคาตลาดของหุ้นสามัญที่ คาดไว้ ปลายปี t
ราคาหุ้นสามัญที่ ควรจะเป็ น หรือราคา
ตามทฤษฎี
8-9
P0
g
kS
^k
S
kS
=
=
=
=
=
^P ถ้ าตลาดหลักทรัพย์ อยู่ในดุลยภาพ
0
อัตราการเพิม่ ขึ้นของเงินปันผลทีค่ าดไว้
อัตราผลตอบแทนทีต่ ้ องการ
อัตราผลตอบแทนทีค่ าดว่ าจะได้ รับ
อัตราผลตอบแทนทีไ่ ด้ รับจริง
^
(ซึ่งอาจจะ มากกว่าหรือน้ อยกว่า kS หรือ kS)
8 - 10
D1
P0
= อัตราเงินปันผลทีค่ าดว่าจะได้ รับในปี
ถัดไป (expected dividend yield)
P^ 1 - P0 = อัตรากาไรทีค่ าดว่าจะได้ รับจากการ
P0
ขายหุ้นสามัญในปี ถัดไป
(expected capital gains yield)
8 - 11
ดังนั้นผลตอบแทนทีค่ าดว่าจะไดัรับจาก
หุ้นสามัญจึงมีส่วนประกอบ 2 ส่ วน คือ
(1) ผลตอบแทนทีค่ าดว่าจะได้ รับจากเงินปันผล
(2) กาไรทีค่ าดว่ าจะได้ รับจากการขายหุ้นสามัญ
^
D
P
P
^
1
1
0
Expected total return : kS =
+
P0
P0
8 - 12
นายกนกซื้อหุ้นสามัญราคาหุ้นละ 20 บาท
(P0) คาดว่าจะได้ รับเงินปันผล (D1) หุ้นละ 1.50 บาท
^
และถือหุ้นไว้ 1 ปี คาดว่าขายได้ (P1) 20.20 บาท
ผลตอบแทนทีค่ าดว่าจะได้ รับเท่ ากับเท่ าไร
^
^k = D1 + P1 - P0 = 1.50 + 20.20 - 20
S
P0
P0
20
20
= 8. 5 %
8 - 13
การประเมินมูลค่ าหุ้นสามัญโดยใช้ เงินปันผลเป็ นเกณฑ์
ผู้ลงทุนทีซ่ ื้อหุ้นสามัญแล้ วถือไว้ ตลอดไป
ผลประโยชน์ ทไี่ ด้ รับ คือ เงินปันผล
ผลรวมค่ าปัจจุบัน
มูลค่ าของ
ของเงินปันผล
หุ้นสามัญ
ทีไ่ ด้ รับในอนาคต
8 - 14
^P = D1 + D2 + ……... + D
0

1
2
(1 + kS) (1 + kS)
(1 + kS)
^P = 
D
0
t
S
t = 1 (1 + kS)t
8 - 15
4. มูลค่ าหุ้นสามัญตามทฤษฎี
กรณีทอี่ ตั ราเงินปันผลเพิม่ ขึน้ คงที่
^P = D0(1 + g)
0
kS - g
^P = D1
0
kS - g
สู ตรนีส้ าคัญต้ องนาไปใช้ อกี
อัตราการเจริญเติบโตของเงินปันผล
8
21
normal
Growth , 8 %
Dividend
End of Supernormal
Growth Period
Supernormal
Growth , 30 %
normal
Growth , 8 %
zero
Growth , 0 %
1.15
Declining
Growth , - 8 %
0
1
2
3
4
5 Years
9-2
หมายถึง เงินทุนจากแหล่ งเงินทุนระยะยาว
ได้ แก่ หนีส้ ิ นระยะยาว หุ้นบุริมสิ ทธิ์
หุ้นสามัญ และกาไรสะสม
1. ต้ นทุนของเงินทุนนีจ้ ะใช้ เป็ นอัตราส่ วนลด
(discount rate) ในเรื่อง “งบลงทุน”
2. ใช้ เพือ่ เปรียบเทียบในการ
ตัดสิ นใจจัดหาแหล่ งเงินทุนต่ าง ๆ
9-6
9-7
1. เหตุผลในการใช้ ต้นทุนของเงินทุนถัวเฉลีย่
เนื่องจากธุรกิจจัดหาเงินทุนมาจากแหล่ งต่ าง ๆ
ทีม่ ตี ้ นทุนไม่ เท่ ากัน จึงต้ องใช้ ต้นทุนถัวเฉลีย่ ถ่ วง
นา้ หนักของเงินทุนจากแหล่ งเงินทุนต่ าง ๆ ทีจ่ ดั หามา
โดยไม่ ต้องสนใจว่ าโครงการลงทุนใด
จะใช้ เงินทุนจากแหล่ งใดโดยเฉพาะ
9-8
2. คาจากัดความ
องค์ ประกอบของเงินทุน (Capital Components) :
คือ รายการด้ านขวาของงบดุล
ต้ นทุนของเงินทุนแต่ ละแหล่ ง
เรียกว่ า component cost
9-9
สั ญลักษณ์ ทใี่ ช้
kd = อัตราดอกเบีย้ ของหนีส้ ิ นใหม่
(ต้ นทุนของหนีส้ ิ นก่ อนภาษี)
kd (1 - T) = ต้ นทุนของหนีส้ ิ นหลังภาษี
kP = ต้ นทุนของหุ้นบุริมสิ ทธิ์
kS = ต้ นทุนส่ วนของผู้เป็ นเจ้ าของ มี 2 แหล่ง
แหล่งภายใน คือ กาไรสะสม
แหล่ งภายนอก เช่ น ออกหุ้นสามัญจาหน่ าย
9 - 10
WACC = ต้ นทุนถัวเฉลีย่ ถ่ วงนา้ หนักของเงินทุน
(Weighted Average Cost of Capital)
ถ้ า WACC ตา่ สุ ด มูลค่ าของกิจการ
(ราคาหุ้นสามัญ) จะสู งสุ ด
9 - 11
3. ต้ นทุนของหนีส้ ิ น : kd(1 - T)
ต้ นทุนของหนีส้ ิ นหลังภาษี = อัตราดอกเบีย้ - ภาษีที่ประหยัดได้
=
kd
-
=
kd(1 - T)
kdT
9 - 13
4. ต้ นทุนของหุ้นบุริมสิ ทธิ์ : kP
D
kP = PP
P
9 - 15
5. ต้ นทุนของกาไรสะสม : kS
เงินทุนจากผู้ถอื หุ้นสามัญได้ มาจาก 2 แหล่ง
1. กาไรสะสม
2. การออกหุ้นสามัญจาหน่ ายเพิม่ ซึ่งจะมี
ต้ นทุนสู งกว่ ากาไรสะสม เพราะต้ องเสี ย
ค่าใช้ จ่ายในการจัดจาหน่ าย
9 - 16
เป็ นต้ นทุนเสี ยโอกาส (opportunity cost)
ของผู้ถอื หุ้นสามัญ เพราะผู้ถอื หุ้นควรจะได้ รับ
เงินปันผลแต่ ไม่ ได้ รับ เนื่องจากบริษัทนาเงินกาไร
ทีท่ ามาหาได้ ไปลงทุนขยายกิจการ
ต้ นทุนของกาไรสะสม = อัตราผลตอบแทน
ทีผ่ ู้ถอื หุ้นสามัญต้ องการ = kS
9 - 17
การคานวณต้ นทุนของกาไรสะสม
มี 3 วิธี คือ
วิธีที่ 1. ใช้ Capital Asset Pricing Model : CAPM
kS = kRF + ( kM - kRF ) bi
9 - 19
วิธีที่ 2. อัตราผลตอบแทนจากพันธบัตรบวก Risk Premium
kS = Bond Yield + Risk Premium
ตัวอย่ าง บริษัททีม่ ีฐานะดีอตั ราผลตอบแทนจาก
พันธบัตร (bond yield) 8 % risk premium 4 %
kS = 8 % + 4 % = 12 %
ตรงขัาม บริษทั ทีม่ คี วามเสี่ ยงสู งกว่ ามี bond
yield สู งถึง 12 % : kS = 12 + 4 = 16 %
9 - 20
วิธีที่ 3. Dividend Yield บวก Growth Rate
หรือ Discounted Cash Flow
D
^
1
จากสมการ P0 =
kS - g
kS =
D1
P0
+g
9 - 24
ทั้ง 3 วิธีคานวณ kS ไม่ เท่ ากัน คือ
วิธีที่ 1 = 11.5 %
วิธีที่ 2 = 12.0 %
วิธีที่ 3 = 13.4 %
จะใช้ วธิ ีใดขึน้ อยู่กบั ดุลยพินิจของผู้บริหาร
ผู้บริหารที่ conservative จะใช้ 13.4 %
หรืออาจใช้ ต้นทุนทั้ง 3 วิธีถัวเฉลีย่ กัน
9 - 25
6. ต้ นทุนของหุ้นสามัญทีอ่ อกใหม่ : ke
ke จะสู งกว่ า kS เพราะการออกหุ้นใหม่ จาหน่ าย
ต้ องเสี ยค่ าใช้ จ่ายในการขายหุ้น
D1
ke =
+g
P0 (1 - F)
F = ค่ าใช้ จ่ายในการขายหุ้น
P0 (1 - F) = ราคาขายสุ ทธิ
9 - 28
7. ต้ นทุนของเงินทุนถัวเฉลีย่ ถ่ วงนา้ หนัก
(Weighted Average Cost of Capital : WACC)
WACC = wdkd(1 - T) + wPkP + wckS
w = สั ดส่ วนของเงินทุนแต่ ละประเภท
9 - 30
8. ปัจจัยทีม่ ผี ลกระทบต่ อต้ นทุนของเงินทุนถัวเฉลีย่
ปัจจัยที่
ควบคุมไม่ ได้
ปัจจัยที่
ควบคุมได้
ระดับอัตราดอกเบีย้
อัตราภาษี
นโยบายโครงสร้ างของเงินทุน
นโยบายเงินปันผล
นโยบายการลงทุน
9 - 31
9. การปรับต้ นทุนของเงินทุนให้ เหมาะสมกับความเสี่ ยง
(Adjusting the Cost of Capital for Risk)
การยอมรับโครงการลงทุนนั้น โครงการทีม่ ี
ความเสี่ ยงสู งย่ อมต้ องการผลตอบแทนจากการลงทุนสู ง
การชดเชยความเสี่ ยง
จึงต้ องปรับต้ นทุนของเงินทุนให้ สูงขึน้
10 - 2
10 - 9
2. แนวความคิดทีท่ าให้ เกิดโครงการลงทุน
การเติบโตของกิจการ
ความสามารถในการแข่ งขัน
การคิดค้นผลิตภัณฑ์ ชนิดใหม่
การปรับปรุงผลิตภัณฑ์ เดิมให้ มคี ุณภาพดีขนึ้
การดาเนินงานทีท่ าให้ ต้นทุนลดลง
10 - 11
3. การจาแนกโครงการลงทุน
1. โครงการใหม่ ทดแทนโครงการเก่ าทีห่ มดอายุ
2. โครงการใหม่ ทดแทนโครงการเก่ าเพือ่ ลดต้ นทุน
3. โครงการขยายผลิตภัณฑ์ เดิม
4. โครงการผลิตภัณฑ์ ใหม่
5. โครงการเพือ่ ความปลอดภัยและรักษาสิ่ งแวดล้อม
6. โครงการอืน่ ๆ
10 - 12
4. “ การประเมินโครงการลงทุน ”
คล้ ายกับ
“ การประเมินมูลค่ าหลักทรัพย์ ”
การประเมินโครงการลงทุน กับ การประเมินมูลค่ าหลักทรัพย์
บทที่ 10 , 11 และ 12
บทที่ 7 และ 8
มีข้นั ตอนเหมือนกันทุกอย่ าง
จุดสาคัญ คือ การหาค่ ามูลค่ าปัจจุบัน
10 - 13
5. วิธีการประเมินโครงการลงทุน
5.1 ระยะเวลาคืนทุน (Payback Period : PB)
5.2 ระยะเวลาคืนทุนโดยคานึงถึงมูลค่ าปัจจุบัน
(Discounted Payback Period : DPB)
5.3 มูลค่ าปัจจุบันสุ ทธิ (Net Present Value : NPV)
10 - 14
5.4 อัตราผลตอบแทนของโครงการ
(Internal Rate of Return : IRR)
5.5 อัตราผลตอบแทนของโครงการที่
ปรับปรุงใหม่ (Modified Internal
Rate of Return : MIRR)
5.3 มูลค่ าปัจจุบันสุ ทธิ ( NPV )
10 - 27
การประเมินโครงการวิธีนีจ้ ะคิดมูลค่ าปัจจุบันของ
กระแสเงินสดรับและกระแสเงินสดจ่ ายเปรียบเทียบกัน
NPV =
=
=
PV กระแสเงินสดรับ - PV กระแสเงินสดจ่ าย
CF0 + CF1 1+ CF2 2 + …… + CFn n
(1+k) (1+k)
(1+k)
n
CFt

t = 0 ( 1 + k )n
10 - 28
CF0 = เงินลงทุนเริ่มแรก
CFt = กระแสเงินสดสุ ทธิปี t
k = ต้ นทุนของเงินทุนของโครงการ
10 - 34
5.4 อัตราผลตอบแทนของโครงการ ( IRR )
การประเมินโครงการวิธีนีจ้ ะหาอัตรา
ส่ วนลด ( discount rate ) ทีท่ าให้
ผลรวมมูลค่ าปัจจุบันของกระแสเงินสด
ในอนาคตเท่ ากับเงินลงทุนเริ่มแรก
(คือ อัตราส่ วนลดที่ NPV เท่ ากับ 0)
10 - 35
CF1
CF2
CFn
CF0 =
+
+ ………… +
1
2
( 1 + IRR ) ( 1 + IRR )
( 1 + IRR )n
1,000 =
500 + 400 + 300 + 100
( 1 + IRR )1 ( 1 + IRR )2 ( 1 + IRR )3 ( 1 + IRR )4
10 - 36
0 IRR 1
CF
- 1,000
500
2
3
4
400
300
100
ผลรวม PV 1,000
CF1-4
NPV
0
IRR S = 14.5 %
10 - 38
เกณฑ์ ในการตัดสิ นใจ
1. IRR ของโครงการ คือ อัตราผลตอบแทน
ทีค่ าดว่าจะได้ รับจากโครงการนั้น
2. โครงการทีใ่ ห้ IRR = ต้ นทุนของเงินทุน
โครงการนั้นให้ อตั ราผลตอบแทน
เท่ ากับต้ นทุนของเงินทุนด้ วย
10 - 39
3. โครงการทีใ่ ห้ IRR > ต้ นทุนของเงินทุน โครงการ
นั้นให้ อตั ราผลตอบแทนมากกว่ าต้ นทุนของเงินทุน
4. จะเลือกโครงการทีใ่ ห้ IRR > ต้ นทุนของเงินทุน
ปฏิเสธโครงการทีใ่ ห้ IRR < ต้ นทุนของเงินทุน
5. กรณีทเี่ ป็ นโครงการทีท่ ดแทนกันได้ จะเลือกลงทุน
โครงการทีใ่ ห้ IRR สู งกว่ า
กรณีโครงการ S และโครงการ L : รับโครงการ S
10 - 53
บางครั้งในโครงการเดียวอาจมีค่า IRR
หลายอัตรา เนื่องจากกระแสเงินสด
ผิดปกติ กรณีเช่ นนีค้ วรใช้ วธิ ี
NPV หรือ MIRR มาเป็ นเกณฑ์
ในการประเมินโครงการแทน IRR
10 - 54
โครงการลงทุนทาเหมืองแร่ 1.6 ล้ านบาท ปี ที่ 1
มีกระแสเงินสดสุ ทธิ 10 ล้ านบาท ปี ที่ 2 จ้ างถมดิน
จ่ ายเงิน 10 ล้ านบาท ต้ นทุนของเงินทุน 10 %
0
1
2
- 1.6
10
- 10
- 1.6 10 - 10 10
CFj CFj CFj i NPV EXE
= - 0.7736 ล้านบาท
10 - 55
NPV
( Millions of Baths )
1.5
1.0
0.5
0
- 0.5
- 1.0
- 1.5
10
10
NPV = - 1.5 + ( 1 + k ) ( 1 + k )2
IRR2 = 400 %
100 200 300 400 500 Cost of Capital ( % )
IRR1 = 25 %
NPV = 0
IRR = 25% และ 400%
10 - 59
7. วิธีอตั ราผลตอบแทนของโครงการทีป่ รับปรุงใหม่
( Modified Internal Rate of Return : MIRR )
1. วิธีนีส้ มมติว่านาเงินสดทีไ่ ด้ รับในปี
แรก ๆ ไปลงทุนจนถึงปี สุ ดท้ ายของ
โครงการโดยได้ รับผลตอบแทนเท่ ากับ
ต้ นทุนของเงินทุน (Cost of Capital)
10 - 60
2. นาผลทีค่ านวณได้ ตามข้ อ 1 มารวมกัน
เป็ นมูลค่ า ณ ปี สุ ดท้ ายของโครงการ
( Terminal Value : TV )
3. หาอัตราส่ วนลดทีท่ าให้ TV
เท่ ากับเงินลงทุนเริ่มแรกพอดี
ซึ่งก็คอื MIRR นั่นเอง
10 - 61
0
Cash Flows - 1,000
PV of TV 1,000
NPV =
0
1
2
3
500
400
300
4
100
k = 10 %
330
k = 10 %
484
k = 10 %
665.50
1,579.50
Terminal Value (TV)
MIRR = 12.1 %
13 - 3
1.
2.
3.
4.
5.
โครงสร้ างของเงินทุนเป้าหมาย
ธุรกิจและความเสี่ ยงทางการเงิน
การกาหนดโครงสร้ างของเงินทุนทีเ่ หมาะสม
ทฤษฎีโครงสร้ างของเงินทุน
ข้ อควรพิจารณาประกอบการตัดสิ นใจ
เกีย่ วกับโครงสร้ างของเงินทุน
6. โครงสร้ างของเงินทุนทีแ่ ตกต่ างกัน
13 - 4
1. โครงสร้ างของเงินทุนเป้ าหมาย
คือ
การผสมผสานการใช้ เงินทุนระหว่ างหนีส้ ิ น
หุ้นบุริมสิ ทธิ์ และหุ้นสามัญทีก่ จิ การกาหนด
เป้ าหมายไว้ เพือ่ การจัดหาเงินทุนในอนาคต
13 - 5
โครงสร้ างของเงินทุน ( การผสมผสานการใช้
เงินทุนจากหนี้สิน ห้ ุนบุริมสิทธิ์ และห้ ุน
สามัญ ) ซึ่งทาให้ ราคาหุ้นสามัญ (P0) สู งสุ ด
โดยการแลกเปลีย่ นชดเชย (trade off)
ระหว่ าง E (ROE) และ EPS ทีส่ ู งขึน้
พร้ อมกับความเสี่ ยง (risk) ทีส่ ู งขึน้ ด้ วย
13 - 6
ปัจจัยทีม่ อี ทิ ธิพลต่ อการตัดสิ นใจเรื่องโครงสร้ างของเงินทุน
1. ความเสี่ ยงทางธุรกิจ
2. ภาษีของธุรกิจ
3. ความยืดหยุ่นในการจัดหาเงินทุน
ความปลอดภั
ย
4. ผู้บริหารถือหลัก
กล้ าได้ กล้ าเสี ย
13 - 7
2. ธุรกิจและความเสี่ ยงทางการเงิน
1. ความเสี่ ยงทางธุรกิจ
2. Operating Leverage
3. ความเสี่ ยงทางการเงิน
( 1 ) ความเสี่ ยงทางธุรกิจ (Business Risk)
13 - 8
คือ
ความไม่ แน่ นอนของผลตอบแทนจากเงินทุนทีใ่ ช้
ลงทุนทั้งหมด ( Return on Invested Capital
“ ROIC ” ) ถ้ ากิจการไม่ มหี นีส้ ิ น
ROIC กรณี ไม่มีหุน้ บุริมสิ ทธิ์ คานวณได้ดงั นี้
After-tax
NI to common +
ROIC = NOPAT = stockholders interest payments
Capital
Capital
Capital = หนีส้ ิ น + ส่ วนของผู้เป็ นเจ้ าของ
13 - 9
กรณีไม่ มีหนีส้ ิ น ROE = ROIC
ROIC = ROE = NI to common stockholders
Common equity
กรณีทไี่ ม่ มหี นีส้ ิ นความเสี่ ยงทางธุรกิจ
วัดด้ วยส่ วนเบี่ยงเบน
มาตรฐานของ ROE
13 - 12
ปัจจัยสาคัญทีม่ ีอทิ ธิพลต่ อความเสี่ ยงทางธุรกิจ
1. ความผันผวนของความต้ องการสิ นค้ า (ยอดขาย)
2. ความผันผวนของราคาขาย
3. ความผันผวนของราคาปัจจัยในการผลิต
4. ความสามารถในการปรับราคาขายสิ นค้ า
เมือ่ ราคาปัจจัยในการผลิตเปลีย่ นแปลงไป
5. ความสามารถในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ ใหม่ โดยต้ นทุนไม่ สูง
6. ความเสี่ ยงทีเ่ กิดจากการค้ าขายกับต่ างประเทศ
7. ต้ นทุนคงทีข่ องกิจการ
13 - 13
( 2 ) Operating leverage
Operating leverage คือ ต้ นทุนคงทีซ่ ึ่งเกิดขึน้
ในการดาเนินธุรกิจ
ถ้ าต้ นทุนทั้งสิ้นเป็ นต้ นทุนคงที่ เมือ่ ความต้ องการ
สิ นค้ าลดลงต้ นทุนคงทีจ่ ะไม่ ลดลงด้ วย ทาให้
กาไรจากการดาเนินงานและผลตอบแทน
ส่ วนของผู้เป็ นเจ้ าของลดลง
13 - 15
ปริมาณ Output ซึ่งทาให้ ROE = 0
หรือ EBIT = 0
EBIT = PQ - VQ - F = 0
สูตร QBE
F
=
P-V
13 - 17
โครงการ A
พันบาท
โครงการ B
Rev.
พันบาท
TC
Loss
Rev.
Profit
TC
FC
FC
0 40
60
Sales
Sales 0
EBIT = 0 (พันหน่ วย) EBIT = 0 (พันหน่ วย)
( 3 ) โครงสร้ างของเงินทุนทีเ่ หมาะสม
13 - 57
คือ
โครงสร้ างของเงินทุนที่ WACC ตา่ สุ ด ซึ่งเป็ น
โครงสร้ างของเงินทุนทีร่ าคาหุ้นสามัญ P0 สู งสุ ดด้ วย
การคานวณโครงสร้ างของเงินทุนทีเ่ หมาะสมจึงคานวณ
โครงสร้ างของเงินทุนที่ WACC ตา่ สุ ด เพราะง่ ายกว่ า
4. ทฤษฎีโครงสร้ างของเงินทุน
1. ผลของภาษี
2. ผลกระทบจากต้ นทุนล้ มละลาย
3. ทฤษฎีแลกเปลีย่ นชดเชย
4. ทฤษฎีสัญญาณ
5. การใช้ หนีส้ ิ นในโครงสร้ างของเงินทุน
ของผู้บริหารมีขดี จากัด
13 - 65
ทฤษฎีโครงสร้ างของเงินทุน ของ M & M
13 - 66
ข้ อสมมติ
โครงสร้ างของเงินทุน 1. ไม่ มีค่านายหน้ าในการซื้อขายหลักทรัพย์
ไม่ มผี ลกระทบต่ อ 2. ไม่ มีค่าภาษี
มูลค่ าของกิจการ 3. ไม่ มีต้นทุนล้ มละลาย
จึงใช้ เงินทุนจาก
แหล่ งใดก็ได้
4. ผู้ลงทุนสามารถกู้เงินได้ ในอัตรา
ดอกเบีย้ เท่ ากับกิจการ
5. ผู้ลงทุนมีข้อมูลเกีย่ วกับการลงทุน
ในอนาคตของกิจการ
6. การใช้ หนีส้ ิ นไม่ มีผลกระทบต่ อ EBIT
13 - 67
ราคาหุ้นสามัญ
(บาท)
ราคาหุ้น
คงที่
20
0
D1
D2 Leverage ( D/A )
( 1 ) ผลของภาษี
M&M ยกเว้ นข้ อสมมติ ข้ อ 2 ไม่ มภี าษี
ดอกเบีย้ จ่ ายหักเป็ นค่ าใช้ จ่ายก่ อน
คานวณภาษีเงินได้ ทาให้ ประหยัดภาษี
กิจการจึงควรจัดหาเงินทุนจากหนีส้ ิ น 100%
13 - 68
13 - 69
ราคาหุ้นสามัญ
(บาท)
ราคาหุ้นเพิม่ ขึน้
20
0
D1
D2 Leverage ( D/A )
( 2 ) ผลกระทบจากต้ นทุนล้ มละลาย
ยกเว้ นข้ อสมมติข้อ 3 ไม่ มตี ้ นทุนล้ มละลาย
ในทางปฏิบัตถิ ้ ากิจการมีหนีส้ ิ นสู งต้ นทุนล้ มละลาย
จะสู งขึน้ ด้ วย
13 - 70
13 - 71
ผลกระทบจากต้ นทุนล้ มละลายทีม่ ตี ่ อราคาหุ้นสามัญ
ราคาหุ้นสามัญ
(บาท)
20
ราคาหุ้นลดลง
0
D1
D2
Leverage ( D/A )
13 - 72
ผลของภาษีและต้ นทุนล้ มละลายทีม่ ตี ่ อราคาหุ้นสามัญ
ราคาหุ้นสามัญ
(บาท)
ราคาหุ้น
20
0
D1
D2 Leverage ( D/A )
13 - 73
( 3 ) ทฤษฎีแลกเปลีย่ นชดเชย (Trade - Off Theory)
เกิดขึน้ ใหม่
ธุรกิจ
อัตราดอกเบีย้ และต้ นทุน
ล้ มละลายทีส่ ู งขึน้
แลกเปลีย่ นชดเชย
ประโยชน์ ทไี่ ด้ รับจากการ
ใช้ หนีส้ ิ น ( ดอกเบีย้ จ่ าย
ทาให้ ประหยัดภาษี )
แสดงรู ปหน้ าถัดไป
13 - 74
M&M ( ยกเว้ นข้ อสมมติข้อ 2 )
ประโยชน์ ของภาษีทาให้ ราคาหุ้น
ราคาหุ้นสามัญ (บาท)
สู งขึน้ และยังไม่ มีต้นทุนล้มละลาย
ประโยชน์ ของภาษี
ต้ นทุนล้มละลายทาให้
ราคาหุ้นสู งขึน้ (+)
ราคาหุ้นลดลง ( - )
ราคาหุ้น ( D/A = 0 )
20
ราคาหุ้นจริง
0
D1 D2
Leverage ( D/A )
ยังไม่ มีต้นทุน โครงสร้ างของ
ล้มละลาย เงินทุนที่ เหมาะสม
คาอธิบายภาพทฤษฎีแลกเปลีย่ นชดเชย
13 - 75
การใช้ หนีส้ ิ นได้ ประโยชน์ ด้านภาษี ทฤษฎี M&M
ราคาหุ้นจะสู งขึน้ และสู งสุ ดเมือ่ ใช้ หนีส้ ิ น 100 %
การใช้ หนีส้ ิ นจะมีต้นทุนล้ มละลายทาให้ ราคาหุ้นลดลง
ในช่ วงแรกต้ นทุนล้ มละลายจะตา่ หรือแทบไม่ มี เมือ่ D/A
ถึง D1 ประโยชน์ ด้านภาษียงั มากกว่ าต้ นทุนล้ มละลายที่
สู งขึน้ ทาให้ ราคาหุ้นจึงยังสู งขึน้ ในอัตราลดลง เมือ่ D/A
ถึง D2 ต้ นทุนล้ มละลายสู งกว่ าประโยชน์ ด้านภาษีราคาหุ้น
จะลดลง D2 จึงเป็ นโครงสร้ างของเงินทุนที่เหมาะสม
13 - 76
คาอธิบายภาพทฤษฎีแลกเปลีย่ นชดเชย (ต่ อ)
ทฤษฎีนีม้ เี หตุผล แต่ เป็ นเพียงการคาดคะเนเท่ านั้น
ไม่ ได้ กล่ าวถึงเรื่องโครงสร้ างของเงินทุนทั้งหมด
ปัญหาที่สาคัญ คือ
สมมติว่าผู้ลงทุนมีข้อมูล
ข่ าวสาร
เช่ นเดียวกับผู้บริหาร
13 - 77
( 4 ) ทฤษฎีสัญญาณ (Signaling Theory)
พัฒนาต่ อจากทฤษฎีแลกเปลีย่ นชดเชย
ยกเว้ นข้ อสมมติข้อ 5 ผู้ลงทุนมีข้อมูลเกีย่ วกับอนาคต
ของกิจการเท่ ากับผู้บริหาร (Symmetric information)
ความจริงผู้บริหารมีข้อมูลมากกว่ าผู้ลงทุน
13 - 78
การทีผ่ ้ ูบริหารมีข้อมูลดีกว่ าผู้ลงทุนแสดงสั ญญาณอะไร
คาดคะเนว่ าอนาคตดี
จะใช้ หนีส้ ิ นเพราะ
ไม่ ต้องแบ่ งผลกาไร
ให้ ผ้ ูลงทุนรายใหม่
สั ญญาณ
การจัดหา
เงินทุนเพิม่
(Positive)
คาดคะเนว่ าอนาคตไม่ ดี
ออกหุ้นสามัญใหม่
เพือ่ ให้ ผ้ ูลงทุนรายใหม่
ร่ วมรับผลขาดทุนด้ วย
สั ญญาณ
(Negative)
13 - 79
กิจการควรใช้ หนีส้ ิ นระดับต่ากว่ า
ทฤษฎี
เสนอแนะ ที่ M&M เสนอแนะโดยสารอง
สั ญญาณ
ความสามารถในการกู้เงินไว้
เพราะ
ถ้ ากิจการมีโครงการลงทุนทีด่ แี ละไม่ ต้องการออก
หุ้นสามัญจาหน่ าย ( เนื่องจากผลกระทบจาก
ทฤษฎีสัญญาณจะทาให้ ราคาหุ้นสามัญตา่ ลง )
ก็สามารถจัดหาเงินทุนจากหนีส้ ิ นได้
13 - 80
ทฤษฎีสัญญาณมีผลกระทบต่ อโครงสร้ างของเงินทุน
ตอบ ข้ อสมมติ
ผู้บริหารมีข้อมูลเกีย่ วกับกิจการใน
อนาคตมากกว่ าผู้ลงทุนภายนอก
การตัดสิ นใจของผู้บริหารจะคานึงถึง
ประโยชน์ ที่ ผ้ ถู อื ห้ ุนปัจจบุ ัน จะได้ รับ
บทที่ 14
14 - 3
การแบ่ งผลประโยชน์ ให้ ผู้ถือหุ้น : เงินปันผลและการซื้อหุ้นคืนมา
1. ผู้ถอื หุ้นต้ องการเงินปันผลกับกาไรส่ วนทุน
2. ประเด็นนโยบายเงินปันผลอืน่ ๆ
3. เงินปันผลสม่าเสมอ
4. การกาหนดนโยบายเงินปันผลในทางปฏิบัติ
5. การนาเงินปันผลทีไ่ ด้ รับมาลงทุนใหม่
นโยบายเงินปันผล ( Dividend Policy )
คือ
การตัดสิ นใจจ่ ายผลกาไรแก่ ผ้ ูถือหุ้นหรือ
นามาลงทุนต่ อในสิ นทรัพย์ ต่างๆ
กรณีจ่ายเงินปันผลแก่ ผ้ ถุ ือหุ้นต้ องพิจารณาดังนี้
1. จ่ ายมากหรือน้ อย
2. จ่ ายสมา่ เสมอ หรือไม่ สมา่ เสมอ
3. จ่ ายบ่ อยแค่ ใหน
4. จะประกาศนโยบายนีอ้ ย่ างไร
14 - 5
14 - 6
1. ผู้ถอื หุ้นต้ องการเงินปันผลหรือกาไรส่ วนทุน
การจ่ ายเงินปันผลเท่ าไร ต้ องระลึกว่ าเป้าหมาย
ของธุรกิจ คือ ทาให้ ผ้ ถู อื ห้ ุนมีความมั่งคัง่ สูงสุด
^P =
0
D1
kS - g
14 - 7
อัตราร้ อยละของกาไรสุ ทธิทจี่ ่ ายเป็ นเงินสดปันผล
ผู้ลงทุนชอบอะไร
1. ให้ บริษัทจ่ ายเงินสดปันผล
2. ให้ บริษทั ซื้อหุ้นคืนมา หรือ ลงทุนขยายกิจการ
เพือ่ ให้ ได้ รับกาไรส่ วนทุน
14 - 8
นโยบายเงินปันผลที่เหมาะสม
หมายถึง
ความสมดุลระหว่ าง
การจ่ ายเงินปันผล
ในปัจจุบัน
อัตราการเจริญเติบโต
ผล
ของบริษัทในอนาคต
ราคาหุ้นสามัญ
สู งสุ ด
14 - 9
ผู้ลงทุนชอบอัตราการจ่ ายเงินปันผลสู งหรือตา่ มี 3 ทฤษฎี
1. Dividend Irrelevance
ผู้ลงทุนไม่ สนใจว่ าจะจ่ ายเงินปันผลเท่ าไร
2. Bird - in - the - Hand :
ผู้ลงทุนชอบอัตราการจ่ ายเงินปันผลสู ง
3. Tax Preference :
ผู้ลงทุนชอบอัตราเงินปันผลตา่ แต่ ชอบกาไรส่ วนทุน
14 - 15
การใช้ ทฤษฎีท้งั 3 ของผู้บริหาร
ทฤษฎี
การนาไปใช้ จะกาหนด
1. Irrelevance
อัตราเงินปันผลเท่ าไหร่ กไ็ ด้
2. Bird - in - the - Hand อัตราเงินปันผลสู ง
3. Tax Preference
อัตราเงินปันผลตา่
14 - 45
8. หุ้นปันผลและการแบ่ งหุ้น
หุ้นปันผล การทีธ่ ุรกิจออกหุ้นใหม่ เพือ่ จ่ ายปันผลแทน
เงินสด เช่ น จ่ ายหุ้นปันผล 10 % ผู้ถือหุ้น
100 หุ้น จะได้ รับหุ้นปันผล 10 หุ้น
การแบ่ งหุ้น การเพิม่ จานวนหุ้นทีอ่ ยู่ในมือบุคคลภายนอก
เช่ น 2 : 1 ทาให้ ผ้ ูถือหุ้นมีจานวนหุ้นมากขึน้
การแบ่ งหุ้น (Stock Splits)
 บริษัทจะใช้ การแบ่ งหุ้นเพือ่ ลด
ราคาตลาดของหุ้นลง

จานวนหุ้นทีอ่ ยู่ในมือ
บุคคลภายนอกเพิม่ ขึน้ แต่ ราคา
ตามมูลค่ าของหุ้นลดลงเป็ น
สั ดส่ วนกัน จึงไม่ กระทบต่ อ
ส่ วนของผู้ถือหุ้น
Ice Cream Parlor
Banana Splits
On Sale Now
15 - 2
16 - 2
16 - 4
1. นโยบายการจัดหาเงินเพือ่ ลงทุนในสิ นทรัพย์ หมุนเวียน
Permanent Current Assets VS Temporary Current Assets
สิ นทรัพย์ หมุนเวียนขั้นตา่
ทีธ่ ุรกิจมีไว้ เพือ่ การ
ดาเนินงานตามปกติ
สิ นทรัพย์ หมุนเวียนทีต่ ้ องการ
เพิม่ ขึน้ เป็ นการชั่วคราว
เนื่องจากยอดขายเพิม่ ขึน้
16 - 5
3 แบบ
3. Conservative
Approach
1. Maturity Matching
(Self - Liquidating)
Approach 2. Relatively Aggressive
Approach
16 - 6
บาท
สิ นทรัพย์
ที่ต้องการ
ใช้ ในการ
ดาเนิน
งานขั้นต่า
สิ นทรัพย์ หมุนเวียน
ทีต่ ้ องการเพิม่ ขึน้ ชั่วคราว
สินทรั พย์ หมุนเวียนขั้นต่า
สินทรั พย์ ถาวร
0
หนีส้ ิ นหมุนเวียนไม่ รวมหนีส้ ิ น
ทีเ่ กิดขึน้ เองโดยอัตโนมัติ
หนีส้ ิ นระยะยาว + ส่ วนของ
ผู้เป็ นเจ้ าของ + หนีส้ ิ น
หมุนเวียนทีเ่ กิดขึน้ เอง
โดยอัตโนมัติ
ปี
16 - 7
บาท
สิ นทรัพย์
ที่ต้องการ
ใช้ ในการ
ดาเนิน
งานขั้นต่า
สิ นทรัพย์ หมุนเวียน
ทีต่ ้ องการเพิม่ ขึน้ ชั่วคราว
สินทรั พย์ หมุนเวียนขั้นต่า
สินทรั พย์ ถาวร
0
หนีส้ ิ นหมุนเวียนไม่ รวมหนีส้ ิ น
ทีเ่ กิดขึน้ เองโดยอัตโนมัติ
หนีส้ ิ นระยะยาว + ส่ วนของ
ผู้เป็ นเจ้ าของ + หนีส้ ิ น
หมุนเวียนทีเ่ กิดขึน้ เอง
โดยอัตโนมัติ
ปี
16 - 8
บาท
สิ นทรัพย์
ที่ต้องการ
ใช้ ในการ
ดาเนิน
งานขั้นต่า
หลักทรัพย์
เงินลงทุนชั่วคราว
สินทรั พย์ หมุนเวียนขั้นต่า
สินทรั พย์ ถาวร
0
หนีส้ ิ นหมุนเวียนไม่ รวมหนีส้ ิ น
ทีเ่ กิดขึน้ เองโดยอัตโนมัติ
หนีส้ ิ นระยะยาว + ส่ วนของ
ผู้เป็ นเจ้ าของ + หนีส้ ิ น
หมุนเวียนทีเ่ กิดขึน้ เอง
โดยอัตโนมัติ
ปี