ดาวน์โหลด แฟ้มข้อมูลประกอบ

Download Report

Transcript ดาวน์โหลด แฟ้มข้อมูลประกอบ

มาตรฐานการควบคุม
ภายใน
โดย...นายธนรรชน พหลทัพ
ผูอ้ านวยการหน่ วยตรวจสอบภายใน
สานักงานเขตพื้ นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 24
มาตรฐานการควบคุมภายใน ที่ คตง.กาหนด
1. สภาพแวดล้อมการควบคุม
2. การประเมินความเสี่ยง
3. กิจกรรมการควบคุม
4. สารสนเทศและการสื่อสาร
5. การติดตามประเมินผล
มาตรฐานการควบคุมภายใน
สภาพแวดล้อมการควบคุม
การ
ประเมิน
ความ
เสี่ยง
กิจกรรม
การ
ควบคุม
สารสนเทศ
และ
การสื่อสาร
การ
ติดตาม
ประเมินผล
สภาพแวดลอมของการควบคุ
ม
้
ปั จจัยต่าง ๆ ที่ส่งเสริมองค์ประกอบการควบคุมภายในหรือ
การควบคุมที่มีอยูใ่ ห้มีประสิทธิผลยิง่ ขึ้ น
เป็ นเรื่องการสร้างความตระหนัก เน้นที่จิตสานึ กและให้ความสาคัญ
กับคุณภาพของคน เช่น
ความซื่อสัตย์และจริยธรรมในทุกระดับองค์กร
การพัฒนาความรู ้ ความสามารถของบุคลากร
ปรัชญาและรูปแบบการบริหาร
โครงสร้างองค์กรที่ดี
การประเมินความเสี่ยง
เพื่อทราบความเสี่ยงในการดาเนิ นงานที่มีความเสี่ยงอะไร
อยูใ่ นเรื่องใด ขั้นตอนใดของการปฏิบตั ิงาน
ระดับความสาคัญและโอกาสที่เกิด
ขั้นตอนการประเมินความเสี่ยง
ระบุปัจจัยเสี่ยง
วิเคราะห์ความเสี่ยง
การจัดการความเสี่ยง
กิจกรรมการควบคุม
วิธีการต่าง ๆ ที่ฝ่ายบริหารกาหนดหรือออกแบบและนามาใช้ในการ
ปฏิบตั ิงาน
เพื่อป้องกันหรือลดความเสี่ยง
ตัวอย่างกิจกรรมการควบคุม
การกาหนดนโยบายและระเบียบวิธีปฏิบตั ิงาน
การแบ่งแยกหน้าที่
การอนุ มตั ิ
การดูแลป้องกันทรัพย์สิน
สารสนเทศและการสื่ อสาร
ลักษณะสารสนเทศที่ดี ที่องค์กรควรจัดให้มี
เหมาะสมกับ
การใช้
ถูกต้อง
สมบูรณ์
เป็ นปั จจุบนั
น่ าเชื่อถือ
ทันเวลา
การจัดให้มีระบบการสื่อสารสองทาง เพื่อให้เกิดความเข้าใจและความสัมพันธ์ที่ดีภายในองค์กร
การติดตามประเมินผล
วัตถุประสงค์ / ความจาเป็ นในการติดตามประเมินผล
ระบบการควบคุมที่มีอยูเ่ พียงพอ สามารถป้องกันหรือลดความเสี่ยง
หรือไม่
การปฏิบตั ิตามระบบได้ผลสาเร็จตามวัตถุประสงค์เป้าหมายหรือไม่
เพื่อให้มีการแก้ไขหรือปรับปรุงการควบคุมภายในอย่างเหมาะสม
ทันเวลาและสอดคล้องกับสถานการณ์
การติดตามประเมินผล (ต่อ)
การติดตามผลในระหว่างการปฏิบตั ิงาน
การประเมินผลเป็ นรายครั้ง
1. การประเมินการควบคุมด้วยตนเอง (Control Self Assessment : CSA)
2. การประเมินการควบคุมอย่างเป็ นอิสระ (Independent Assessment)
การรายงานผลการประเมินและการสัง่ การแก้ไข
การประเมินการควบคุมดวยตนเอง
้
(Control Self Assessment : CSA)
ลักษณะการประเมินที่ทาร่วมกัน ระหว่าง
ผูบ้ ริหารและผูป้ ฏิบตั ิงานในสายงานนั้น
การประเมินการควบคุมด้วยตนเอง
(Control Self Assessment : CSA)
- CSA เป็ นเครื่องมือในการบริหารจัดการ
- มีหลายรูปแบบ เช่น แบบประชุมเชิงปฏิบตั ิการ (Workshop)
การออกแบบสอบถามและแบบสารวจการควบคุมภายใน
- อาจใช้หลายรูปแบบผสมกันตามที่เห็นสมควร
ขอดี
้ และขอจ
้ ากัดของการประเมินผลการควบคุม
1. มีความคุน้ เคยกับระบบงานเป็ น
อย่างดี
2. เข้าใจพฤติกรรมของผูป้ ฏิบตั ิงาน
และวัฒนธรรมของหน่ วยงาน
3. มีความเป็ นกันเอง
4. ยอมรับความเห็นหรือข้อเสนอแนะ
ของการประเมินได้ง่าย
5. เสียค่าใช้จา่ ยน้อย
6. เป็ นการเสริมสร้างการเรียนรู ้
7. สามารถประเมินผลในส่วนของ
Seft Controls ได้อย่างเต็มที่
ข้อจากัด
ข้อดี
การประเมินผลการควบคุมด้วยตนเอง (CSA)
1. เกิดความลาเอียงในการ
ประเมินผล
2. อาจเกิดความขัดแย้ง ทาให้ไม่
ยอมรับข้อบกพร่องหรือปั ญหาหรือ
อุปสรรคที่มีผลต่อการปฏิบตั ิงาน
3. ไม่ค่อยมีเวลาในการประเมินผล
อย่างเต็มที่
4. ขาดทักษะในการประเมินผลที่ดี
หรือไม่มีประสบการณ์ในการ
ประเมินผลเท่าที่ควร
ขอดี
้ และขอจ
้ ากัดของการประเมินผลการควบคุม
การประเมินผลการควบคุมอย่างเป็ นอิสระ
ข้อดี
• ไม่มีความลาเอียงในการประเมินผล
สามารถวิจารณ์ได้อย่างตรงไปตรงมา
• ไม่มีส่วนเกี่ยวข้องหรือส่วนได้ส่วนเสีย
กับหน่ วยงาน
• มีเวลาดาเนิ นการประเมินผลอย่าง
เต็มที่
• มีความชานาญและประสบการณ์ใน
การประเมินผลเป็ นอย่างดี
ข้อจากัด
• ต้องใช้เวลาในการทาความเข้าใจ
ระบบงานที่นามาประเมินผล
• อาจไม่ได้รบั ข้อมูลที่แท้จริงในการ
นามาประเมินผล
• เสียค่าใช้จา่ ยมาก
• อาจเกิดการไม่ยอมรับผลที่ได้รบั
• ไม่สามารถประเมินผลในส่วนของ
Seft Controls ได้อย่างเต็มที่