เอกสารประกอบการบรรยาย

Download Report

Transcript เอกสารประกอบการบรรยาย

รายละเอียด
การจัดทาแผนการสอน
สุ ธาสิ นี ศรีวชิ ัย
คณะครุ ศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย
การจัดทารายละเอียดในแต่ ละองค์ ประกอบ
ของแผนการสอน
หลักการจัดทาแผนการสอน
สอนเพือ่ อะไร ?
จุดประสงค์ การเรียนรู้ (Objective)
สอนอย่ างไร ?
การเรียนการสอน (Learning)
สอนแล้วได้ ผล
ตามที่ต้องการหรือไม่ ?
การวัดและประเมินผล (Evaluation)
แผนภูมแิ สดงความสั มพันธ์
องค์ ประกอบของแผนการสอน OLE
จุดประสงค์ การเรียนรู้ (Objective)
O
E
การวัดและประเมินผล
(Evaluation)
L
การเรียนการสอน
(Learning)
ขั้นตอนการเขียนแผนการสอน
ขั้นที่ 1 การกาหนดจุดประสงค์ การเรียนรู้
1. พุทธิพสิ ั ย (Cognitive)
2. ทักษะ (Skill)
3. จิตพิสัย (Attitude)
ระดับของจุดประสงค์ การเรียนรู้
- จุดประสงค์ ปลายทาง
- จุดประสงค์ นาทาง
แผนภูมคิ ุณลักษณะของจุดประสงค์
จุดประสงค์ ปลายทาง
เขียนแสดงพฤติกรรมด้ านใดด้ านหนึ่งหรือ
หลายด้ านประกอบกัน
เขียนในเชิงพฤติกรรมหรือไม่ กไ็ ด้
จุดประสงค์ นาทาง
กาหนดพฤติกรรมทีค่ าดหวังให้ เกิดกับผู้เรียน
อย่ างเป็ นขั้นตอนจากจุดย่ อยไปถึงจุดประสงค์
ใหญ่ ปลายทาง
นาพฤติกรรมทีส่ าคัญในจุดประสงค์ ปลายทาง
มาเขียนประกอบกับหัวข้ อเนือ้ หา
เขียนในลักษณะจุดประสงค์ เชิงพฤติกรรม
ตย. การเขียนจุดประสงค์ ปลายทางและนาทาง
ตย. ที่ จุดประสงค์ ปลายทาง
1
เขียนบรรยายภาพตาม
(ภาษาไทย) ความคิดของตนได้
จุดประสงค์ นาทาง
1. เขียนสะกดคาได้ ถูกต้ อง
2. รวบรวมคาศัพท์ สานวนที่จะนามา
เขียนบรรยายภาพได้
3. เรียบเรียงถ้ อยคาเพือ่ สื่ อความคิดใน
การบรรยายภาพได้
ตย. การเขียนจุดประสงค์ ปลายทางและนาทาง
ตย. ที่ จุดประสงค์ ปลายทาง
จุดประสงค์ นาทาง
2
มีความรู้ความเข้ าใจใน 1. ระบุลกั ษณะความแตกต่ างระหว่ าง
(สลน.) หลักการเบือ้ งต้ นเกีย่ วกับ ร่ างกายทีส่ ะอาดกับไม่ สะอาดได้
การรักษาความสะอาด 2. บอกสาเหตุของความไม่ สะอาดของ
ร่ างกายและระบุแนวทางแก้ไขได้
3. เลือกแนวทางปฏิบัติเพือ่ การมี
ร่ างกายทีส่ ะอาด และระบุผลดีทเี่ กิดขึน้
ได้
ตย. การเขียนจุดประสงค์ ปลายทางและนาทาง
ตย. ที่ จุดประสงค์ ปลายทาง
จุดประสงค์ นาทาง
3
สามารถแยกตัวประกอบ 1. คูณหารจานวนนับได้
2. เขียนเลขยกกาลังในรู ปของการคูณได้
(คณิต ของจานวนนับได้
3. หาตัวประกอบของจานวนนับได้
ศาสตร์ )
4. บอกได้ ว่าจานวนนับที่กาหนดให้ เป็ น
จานวนเฉพาะหรือไม่
5. หาตัวประกอบเฉพาะของจานวนนับที่
กาหนดให้ ได้
6. แยกตัวประกอบของจานวนนับได้
ขั้นที่ 2 การกาหนดแนวการจัดการเรียนการสอน (Learning)
การเขียนสาระสาคัญ
1. พิจารณาจุดประสงค์ การเรียนรู้
2. พิจารณาเนือ้ หา
3. นาผลเขียนเป็ นข้ อสรุ ป
ตย. การกาหนดสาระสาคัญของแผนการสอน
ตย. 1 วิชา ภาษาไทย ชั้น ป.5 เรื่อง การเขียนบรรยายภาพ เวลา 4 คาบ
องค์ ประกอบทีต่ ้ องพิจารณา พฤติกรรม/สาระทีม่ ่ ุงเน้ น
จุดประสงค์ การเรียนรู้
เขียนบรรยายภาพตาม
ความคิดของตนได้
เนือ้ หา
1. การคิดและเลือกสรรคามา
ใช้ ในการเขียนบรรยาย
2. การเรียบเรียงความคิด
และถ้ อยคาสานวน
- การเขียนสะกดคา
- ทักษะการคิด
- ทักษะการสื่ อความหมาย
- ทักษะการคิด
- ทักษะการสื่ อความหมาย
สาระสาคัญ
การเขี ย นบรรยายภาพเป็ น
ทั ก ษ ะ ก า ร เ ขี ย น ที่ ส า คั ญ
ผู้ เ รี ย นจะต้ องมีทั ก ษะในการ
คิ ด การเลื อ กใช้ ค าศั พ ท์ และ
ส านวน ตลอดจนการเลี ย ง
ลาดับความคิดเพื่อเรี ยบเรี ยง
เป็ นข้ อความที่ ส ละสลวย
สามารถสื่ อ ความหมายภาพ
ตามทีต่ ้ องการ
ขั้นที่ 2 การกาหนดแนวการจัดการเรียนการสอน (Learning)
เนือ้ หา
รายละเอียดของเรื่ องที่จัดการเรี ยนการสอน
ให้ บ รรลุตามจุ ดประสงค์ การเรี ยนรู้ ประกอบด้ วย
ทฤษฎี หลักการ วิธีการ และแนวปฏิบัติ
ขั้นที่ 2 การกาหนดแนวการจัดการเรียนการสอน (Learning)
กิจกรรมการเรียนการสอน
สอดคล้ องกับจุดประสงค์
และเนือ้ หา
เหมาะสมกับ
สภาพแวดล้อมใน
ห้ องเรียน
โรงเรียนและชีวิต
จริง
กิจกรรม
การเรียน
การสอน
เหมาะสมกับธรรมชาติ
และวัยของผู้เรียน
เน้ นผู้เรียน
เป็ นศูนย์ กลาง
ฝึ กกระบวนการที่
สาคัญ
คุณลักษณะของกิจกรรมการเรียนการสอนทีม่ ปี ระสิ ทธิภาพ
1. สอดคล้ องกับจุดประสงค์ การเรียนรู้ และเนือ้ หา
2. ฝึ กกระบวนการทีส่ าคัญให้ กบั ผู้เรียน
3. เหมาะสมกับธรรมชาติและวัยของผู้เรียน
4. เหมาะสมกับสภาพแวดล้ อมในโรงเรียนและชีวติ จริ ง
5. เน้ นผู้เรียนเป็ นศูนย์ กลาง
แผนภาพแสดงความสั มพันธ์ การส่ งเสริมบทบาทผู้เรียน
ค้ นพบ สร้ างและสรุ ป
ความรู ด้วยตนเอง
มีส่วนร่ วมในการ
เรียนรู้
มีปฏิสัมพันธ์ กบั
บุคคล/
สิ่ งแวดล้อม
เน้ นผู้เรียน
เป็ นศูนย์ กลาง
ผลงาน/
ผลการเรียนรู้
การประยุกต์ ใช้
ฝึ กกระบวนการที่
สาคัญ
กิจกรรมการเรียนการสอนทีเ่ น้ นผู้เรียนเป็ นศูนย์ กลาง
พืน้ ฐานการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
คู่มือ
สาคัญ
ในการ
ออก
แบบ
กิจกรรม
การเรียน
การสอน
ผู้เรียน
ความสามารถ
ความสนใจ
ความแตกต่ าง
ระหว่ างบุคล
- ความสามารถทางสติปัญญา
- ประสบการณ์
- วิธีการเรียน
จุดประสงค์
การเรียนรู้
และเนือ้ หา
พฤติกรรม/ทักษะที่ม่ ุงเน้ น
เทคนิค/วิธีสอนที่เหมาะสม
สภาพแวดล้อม
และบรรยากาศ
ในการเรียนการ
สอน
เวลา/สถานที่
สภาพแวดล้ อมและบรรยากาศ
ของห้ องเรียน โรงเรียน ชุมชน
แหล่ งวิทยาการ
สื่ อ เทคโนโลยี
การเลือกเทคนิควิธีการสอน
ในการออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอน
1. จุดประสงค์ การเรียนรู้
2. ผู้เรียน - ความสามารถด้ านสติปัญญา (Learning Abilities)
- วิธีการเรียน (Styles of Learning)
- ประสบการณ์ เดิม (Background of Experience)
3. สภาพแวดล้ อมและบรรยากาศในการเรียนการสอน
4 การใช้ เทคนิควิธีการสอนที่หลากหลายในการจัดกิจกรรมการเรี ยน
การสอน
5. ความเชี่ยวชาญและประสบการณ์ ของครู
การวิเคราะห์ ความเหมาะสมของเทคนิควิธีการสอน
เทคนิค/วิธีการสอน
1. กระบวนการสื บค้ น
(Inquiry Process)
2. การเรียนแบบค้ นพบ
(Discovery Learning)
ทักษะ/พฤติกรรมทีม่ ่ ุงเน้ น
- การศึกษาค้ นคว้ า
- การเรียนรู้ กระบวนการ
- การตัดสิ นใจ
- ความคิดสร้ างสรรค์
- กาสั งเกต การสื บค้ น
- การให้ เกตุผล การอ้ างอิง
-การสร้ างสมมุตฐิ าน
บทบาทผู้เรียน
ศึกษาค้ นคว้ า เพือ่ สื บค้ น
ข้ อความรู้ ด้วยตนเอง
ศึกษา ค้ นพบข้ อความรู้ และ
ขั้นตอนการเรียนรู้ ด้วย
ตนเอง
การวิเคราะห์ ความเหมาะสมของเทคนิควิธีการสอน
เทคนิค/วิธีการสอน
3. การเรียนแบบแก้ปัญหา
(Problem-solving)
ทักษะ/พฤติกรรมทีม่ ่ ุงเน้ น
- การศึกษาค้ นคว้ า
- การวิเคราะห์ สั งเคราะห์
ประเมินค่ าข้ อมูล
- การลงข้ อสรุ ป
- การแก้ปัญหา
4. การเรียนแบบสร้ างแผนผัง - การคิด
ความคิด
-การจัดระบบความคิด
(Concept Mapping)
บทบาทผู้เรียน
ศึกษา แก้ปัญหาอย่างเป็ น
กระบวนการ และฝึ กทักษะ
การเรียนรู้ ทสี่ าคัญด้ วย
ตนเอง
จัดระบบความคิดของตนให้
ชัดเจน เห็นความสั มพันธ์
การวิเคราะห์ ความเหมาะสมของเทคนิควิธีการสอน
เทคนิค/วิธีการสอน
5. การตั้งคาถาม
(Questioning)
6. การศึกษาเป็ นรายบุคคล
(Individual Study)
ทักษะ/พฤติกรรมทีม่ ่ ุงเน้ น
- กระบวนการคิด
- การตีความ
- การไตร่ ตรอง
- การถ่ ายทอดความคิด ความ
เข้ าใจ
- การศึกษาค้ นคว้ าข้ อความรู้
- การนาความรู้ ไปใช้
ประโยชน์
- ความรับผิดชอบ
บทบาทผู้เรียน
เรียนรู้ จากคิดเพือ่ สร้ างข้ อ
คาถามและคาตอบด้ วย
ตนเอง
เรียนรู้ อย่ างเป็ นอิสระด้ วย
ตนเอง
แนวทางการเลือกเทคนิควิธีการสอน
ขั้นที่ 1
ขั้นที่ 2
วิเคราะห์ จุดประสงค์ การเรียนการสอน
วิเคราะห์ ผ้ เู รียน
ขั้นที่ 3
เลือกเทคนิควิธีการสอน
ขั้นที่ 4
ปรับและเรียบเรียงเทคนิค
ต้ องการให้ ผู้ เรี ย นเกิ ด
พฤติกรรมใดในระดับใด
มีค วามสามารถ ความสนใจ
และวิธีเรียนอย่ างไรบ้ าง
หลากหลายสนองผู้เรี ยนโดย
พิจ ารณาจาก จุ ด เด่ น ในการ
สร้ างทั ก ษะ ข้ อ ความรู้ และ
พฤติ ก รรม ประสิ ทธิ ภ าพใน
การสร้ างทักษะความรู้
ให้ เหมาะสมกับจุดมุ่งหมาย กระบวนการเรียนการสอนและผลทีจ่ ะเกิดขึน้ กับผู้เรียน
สื่ อการเรียนการสอน
สิ่ งทีเ่ ป็ นพาหนะหรือสื่ อทีช่ ่ วยให้ ผู้เรียนสามารถพัฒนาความรู้
ทักษะ และเจตคติให้ บรรลุตามจุดประสงค์ การเรียนการสอน และตาม
จุดมุ่งหมายของหลักสู ตรได้ ดยี งิ่ ขึน้ หรือเร็วยิง่ ขึน้
พฤติกรรมการเรียนรู้ จากสื่ อของผู้เรียน
ประสิ ทธิภาพในการเรียนรู้ ของผู้เรียน
ได้ อ่าน
ได้ ยนิ
ได้ เห็น
ได้ เห็นและได้ ยนิ
ได้ พดู
ได้ พูดและได้ ทา
ร้ อยละ 10
ร้ อยละ 20
ร้ อยละ 30
ร้ อยละ 50
ร้ อยละ 70
ร้ อยละ 90
ประเภทของสื่ อการเรียนการสอน
1. ประเภทวัสดุ
2. ประเภทอุปกรณ์
3. ประเภทสิ่ งพิมพ์
4. ประเภทเทคนิควิธี
ลักษณะของสื่ อการเรียนการสอนทีด่ ี
เหมาะสมทั้งในด้ าน
ค่ าใช้ จ่ายและการปฏิบัติ
ตอบสนองจุดประสงค์
การเรียนรู้ และเนือ้ หา
เหมาะสมกับวัย
พืน้ ฐาน
ประสบการณ์ และ
จิตวิทยาการ
เรียนรู้ ของผู้เรียน
หลักในการเลือก
สื่ อการเรียนการสอน
หาได้ ง่าย
เหมาะสมกับผู้เรียน
ทั้งด้ านสภาพสั งคม
และเศรษฐกิจ
หลักในการใช้ สื่อการเรียนการสอน
1. ตรวจสอบและศึกษาอย่ างละเอียด
2. เตรียมสื่ อ
3. อธิบายให้ ผู้เรียนเข้ าใจ
4. เหมาะสมกับเวลา
5. ทบทวนว่ าผู้เรียนได้ รับความรู้ ตามทีค่ าดไว้ หรือไม่
ประโยชน์ ของการใช้ สื่อการเรียนการสอน
ผู้เรียนเกิดความสนใจ และ
มีความอยากรู้ อยากเห็น
ย่อเวลา และ
ระยะทางกับ
สถานที่ได้
ผู้เรียน เรียนได้ ง่ายขึน้
และจาบทเรียนได้ ดี
ประโยชน์ ของการใช้
สื่ อการเรียนการสอน
ย่อขนาดของสิ่ งของที่ไม่ สามารถ
นาเข้ ามาใยห้ องเรียนได้
ช่ วยให้ ผ้ เู รียนเกิด
ความคิดสร้ างสรรค์
การกาหนดสื่ อการเรียนการสอน
จุดประสงค์ การเรียนรู้ / เนือ้ หา
พฤติกรรม/ทักษะทีม่ ่ ุงเน้ น
กิจกรรมการเรียนการสอน
เทคนิคการสอนที่ 1
เทคนิคการสอนที่ 2
เทคนิคการสอนที่ 3
สื่ อการเรียนการสอน
สื่ อ 1
สื่ อ 2
สื่ อ 3
ขั้นที่ 3 การกาหนดวิธีวดั และประเมินผล (Evaluation)
องค์ ประกอบของการวัดและประเมินผล
1. การวัดผล (Measurement)
2. การประเมินผล (Evaluation)
ชนิดของการประเมินผล
1. การประเมินผลก่อนการเรียน (Placement Test)
2.
การประเมิ น ผลเพื่ อ ปรั บ ปรุ ง ผลการเรี ย น (Formative
Evaluation)
3. การประเมินผลเพือ่ วินิจฉัยข้ อบกพร่ อง (Diagnostic Evaluation)
4. การประเมินผลเพือ่ ตัดสิ นผลการเรียน (Summative Evaluation)
ขั้นที่ 3 การกาหนดวิธีวดั และประเมินผล (Evaluation)
ความสาคัญของการประเมินผล
ผู้เรียน
ปรับปรุ งแก้ ไขผลการเรียน/วางแผนการศึกษาต่ อ/หรือประกอบอาชีพ
ผู้สอน
ช่ วยเหลือผู้เรียนให้ เรียนรู้ ได้ ดยี งิ่ ขึน้
ฝ่ ายแนะแนว
ผู้บริหาร
ผู้ปกครอง
ให้ บริการแนะแนว
ทราบมาตรฐานด้ านวิชาการของโรงเรียน ใช้ ปรับปรุ งสภาพการ
เรียนการสอน
รู้ ความก้ าวหน้ าของผู้เรียนด้ านต่ างๆ สนับสนุนพัฒนาการเรียนรู้
การตรวจสอบความสอดคล้องของจุดประสงค์ กบั วิธีวดั และเครื่องมือ
วิธีวดั / ประเภทของเครื่องมือ
1. สั งเกต/แบบสั งเกตพฤติกรรม
2. ซักถาม/ข้ อคาถาม
3. สอบถาม/แบบสอบถาม
4. ตรวจผลงาน/แบบตรวจรายงาน
5. ตรวจแบบฝึ กหัด/แบบฝึ กหัด,ใบ
งาน
6. ทดสอบ/แบบทดสอบ
ประเภทของจุดประสงค์
พุทธิพสิ ั ย
(ความรู้ ด้านทฤษฎี)
ทักษะพิสัย จิตพิสัย (เจตคติ
(การปฏิบตั ิ) ความรู้สึกในจิตใจ)









การประเมินโดยใช้ แฟ้ มสะสมผลงาน
1. ออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอน
2. กาหนดผลการเรียนรู้หรือผลงาน
3. กาหนดวิธีการ เครื่องมือ และเกณฑ์ การวัดและประเมินผล
4. ภาระงานการเรียนรู้ (Learning Task)
5. การเรียนการสอนที่สอดคล้องสั มพันธ์ กบั องค์ ประกอบ