วิจัยในชั้นเรียน - สถานพัฒนาคณาจารย์

Download Report

Transcript วิจัยในชั้นเรียน - สถานพัฒนาคณาจารย์

การวิจัยในชั้นเรียน
รศ.ดร. วราภรณ์ เอีย้ วสกุล
สถานพัฒนาคณาจารย์
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
การวิจัย
การศึกษาค้ นคว้ าความจริง
อย่ างเป็ นระบบ
เพือ่ แสวงหาคาตอบจากประเด็น หรือ
ปัญหาทีต่ ้งั เป็ นคาถามไว้
การวิจัยทางการศึกษา
การศึกษาเพือ่ แสวงหาคาตอบที่เป็ นความ
จริง ทีถ่ ูกต้ องและเชื่อถือได้ และก่ อให้ เกิด
การแก้ ไขปัญหาในทางปฏิบัติ หรือความรู้
ใหม่ ในวงการศึกษา
การวิจัยทางการศึกษา
• หลักสู ตร
• การคัดเลือกนักศึกษา
• การสอน จิตวิทยาการเรียนรู้
• การประเมินผล
• สิ่ งแวดล้ อมและบรรยากาศ ทรัพยากรการเรียนรู้
• อาจารย์ และนักศึกษา
การวิจัยในชั้นเรียน
อาจารย์ ใช้ ชัน้ เรียนเป็ นห้ องปฏิบัตกิ าร
ศึกษาการสอนและนาผลมาปรับปรุ งเป็ น
วงจร อย่ างเป็ นระบบ ให้ เกิดความ
เชี่ยวชาญเป็ นอาจารย์ มืออาชีพ
การวิจัยในชั้นเรียน
อาจารย์ ค้นหาการสอนที่เหมาะสม ใช้ ได้ ดีที่สุด ในชั้น
เรียนของตนเอง หรือ ในบางสถานการณ์
ต้ องอิงฐานข้ อมูล อย่ างเป็ นระบบ มากกว่ าการ
สะท้ อนความคิดเห็น แต่ เป็ นทางการหรือการ
ควบคุมน้ อยกว่ า การวิจัยทางการศึกษาปกติ เช่ น
ข้ อมูลทีม่ ีอยู่จากการสอนในชั้น
ตัวอย่ าง
กลยุทธ์ การสอน
• Problem-based learning
• Online instruction
• Senior project
ตัวอย่ าง
• ปั จจัยด้ านการสอน
• ทักษะ/ รูปแบบของผู้สอน
• เนือ้ หาที่นามาสอน
• ขนาดชัน้ เรียน
จุดเริ่มต้ น
•
•
•
•
•
•
•
อยากปรั บปรุ ง………..
สงสัยงงเกี่ยวกับ………..
ผู้เรี ยนบางคนไม่ มีความสุขเกี่ยวกับ……..
สังเกตผู้เรี ยนบางคนอ่ อน……..
อยากรู้ เกี่ยวกับ………..
ต้ องการรู้ มากขึน้ เกี่ยวกับ………
ต้ องการทดลองในชัน้ เรี ยน…….
การตั้งสมมติฐาน
การคาดการณ์ หรือ ทานายความสั มพันธ์ ระหว่ าง
ตัวแปร ตั้งแต่ 2 ตัวขึน้ ไป หรือ คาดการณ์ คาตอบที่
เป็ นไปได้ ของปัญหาการวิจัยที่กาหนด
การวิจัยในชั้นเรียน
สามารถทาวิจัยเล็กๆ เสร็จสิ้นใน 1 ภาคการศึกษา
โดย อาจจะวางแผนล่วงหน้ า หรือ เก็บข้ อมูลใน
หลายภาคการศึกษา
ขั้นตอนการวิจัย
•
•
•
•
•
•
•
ตั้งคาถาม
ทบทวนงานวิจัย
วางแผนเก็บข้ อมูล
เก็บข้ อมูล
วิเคราะห์ ข้อมูล
นาผลที่ได้ รับมาใช้
แลกเปลีย่ นเรียนรู้
ขั้นตอนที่ 1 : การตั้งคาถาม
คาถามที่ดี มี 3 คุณลักษณะ
• มีนัยสาคัญต่ อสถานการณ์ ในชัน้ เรียน
เกิดความแตกต่ างต่ อการเรียนรู้ของผู้เรียน
• ผลที่ได้ นาสู่การปฏิบัติ เช่ น เปลี่ยนกลวิธีสอน
• มีความเป็ นไปได้ - เวลา ความพยายาม
ทรัพยากร
ตัวอย่ างคาถาม
• คาถามไม่ ดี
นักศึกษาเรียนรู้ได้ ดีกว่ าโดย active learning หรือ
โดยฟั งการบรรยาย
• คาถามที่ดี
ในวิชาแรกทางวิศวฯ การนาเข้ าสู่บทเรียนด้ วย
ประสบการณ์ การออกแบบ เพิ่มความตัง้ ใจของ
ผู้เรียนในการเรียนวิชาวิศวกรรมศาสตร์ ต่อไป
ตัวอย่ างคาถาม
• มีนักศึกษากี่คนอ่ าน assignment ก่ อนเข้ าชัน้
เรียน
• นักศึกษาที่มีส่วนร่ วมในชัน้ เรียนมาก ทา
ข้ อสอบได้ ดีกว่ า
ตัวอย่ างคาถาม
• คาถาม - สิ่งที่ศึกษามีผลต่ อการเรียน
• คะแนนสอบของผู้เรียนสูงขึน้ เมื่อใช้ case studies
• นักศึกษาเอาใจใส่ และทาข้ อสอบได้ ดีขนึ ้ เมื่อสอน
โดยใช้ multi-media
• คาถามที่ดี - การใช้ กลยุทธ์ การสอน การเปลี่ยน
โครงสร้ างวิชา หรือ วัสดุอุปกรณ์ เทคนิคการ
ประเมิน
ขั้นตอนที่ 2: ทบทวนวรรณกรรม
• ทบทวนสัน้ ๆ เพื่อเป็ นพืน้ ฐานในการตัง้ คาถามวิจัย
ที่ตรงกับเป้าหมาย
• ERIC (Educational Resources Information Center)
database
http://ericir.syr.edu/.
• Journal: Medical Teacher, Teaching and Learning
etc.
ขั้นตอนที่ 3 : การวางแผน
การพิสูจน์ สมมติฐานโดยการเก็บรวบรวมข้ อมูล
• รู ปแบบการวิจยั (design)
• ระเบียบวิธีวิจัย (methodology)
• การวิเคราะห์ ข้อมูล เทคนิคทางสถิตทิ ่ เี หมาะสม
• การวางแผนการทางาน
ขั้นตอนที่ 3 : การวางแผน
การเก็บรวบรวมข้ อมูล
• นักศึกษารายคน/ ทัง้ ชัน้ หรือ บางสถานการณ์
- ทักษะพืน้ ฐานแรกเข้ าและศึกษาความสัมพันธ์
ระหว่ างข้ อมูลต่ างๆ เช่ น อายุกับการใช้ online
- ศึกษาสาเหตุและผลของความสัมพันธ์ เช่ น
ผลกระทบของการให้ การบ้ านกับพฤติกรรมการ
สอบ
ขั้นตอนที่ 3 : การวางแผน
การเก็บรวบรวมข้ อมูล
ข้ อจากัดของ controlled experimental design ให้ ใช้
quasi-experimental design: pre-post tests
- เปรี ยบเทียบผลลัพธ์ จากการสอน 2 แบบในวิชา
เดียวกัน
- ศึกษาเชิงนโยบายด้ านความเป็ นมนุษย์ โดยทบทวน
การสอนปกติในชัน้ เรี ยนที่ไม่ คานึงถึงปั จเจกบุคคล
ขั้นตอนที่ 4: การเก็บข้ อมูล
•
•
•
•
•
•
ทาไมต้ องเก็บข้ อมูลนี้ (why)
ต้ องเก็บข้ อมูลอะไร (what)
เก็บข้ อมูลได้ ทไี่ หน นานเท่ าใด (where)
เมือ่ ไรจึงเก็บข้ อมูล ช่ วงเวลาอย่ างไร (when)
ใครเป็ นผู้เก็บข้ อมูล (who)
รวบรวมข้ อมูลอย่ างไร นาเสนออย่ างไร (how)
ขั้นตอนที่ 4: การเก็บข้ อมูล
• เริ่มด้ วยข้ อมูลที่มี - assignments คะแนน
สอบ การประเมินอาจารย์ ถ้ าต้ องการเพิ่ม
เลือกที่เก็บและวิเคราะห์ ง่าย
• หลากหลายข้ อมูลให้ ผลที่สอดคล้ องตรงกัน
triangulation : วัดความแม่ นตรง
ขั้นตอนที่ 4: การเก็บข้ อมูล
triangulation : วัดความแม่ นตรง
• การประเมินประสิทธิผลของการจัดกิจกรรม
กลุ่มแบบใหม่ ต่อการเรียนรู้ของนักศึกษา โดย
ศึกษาเกรด ข้ อวิจารณ์ ในการอภิปรายในชัน้
การสังเกตพฤติกรรมในกลุ่มย่ อย การประเมิน
ความก้ าวหน้ าการเรียนรู้ การประเมินการสอน
ของอาจารย์
ขั้นตอนที่ 4: การเก็บข้ อมูล
• เชิงปริมาณ
- คะแนนสอบ เกรด คะแนนการสารวจ (Likert)
• เชิงคุณภาพ
- focus groups, dept interviews (tape record), projects, term
papers, reflective statements: knowledge transfer ( apply
theory or procedure for what they just learn)
• ทั้ง 2 แบบ
ขั้นตอนที่ 4: การเก็บข้ อมูล
เทคนิคการเก็บข้ อมูล
• Interviews
• Semi-structured interview
• Focus group
• Delphi Technique
• Checklists
• Portfolio/ individual files
• Time-on-task analysis
ขั้นตอนที่ 4: การเก็บข้ อมูล
เทคนิคการเก็บข้ อมูล
• Diaries/journals/logs
• Field notes/observation records
• Case study
• Student-teacher discussion/interaction/feedback
• Questionnaires
• Audiotapes/videotapes/photography
ขั้นตอนที่ 5 : การวิเคราะห์ ข้อมูล
• เป้าหมาย เพื่อ ค้ นหารูปแบบ
- ผลของกลยุทธ์ การสอนต่ อพฤติกรรม
นักศึกษาดีขนึ ้ จากการสอบโดยเปรียบเทียบ
pre-tests หรือ เปรียบเทียบกับกลุ่มอื่น
• การจัดกลุ่มคาวิจารณ์ ตามหัวเรื่อง หรือตาราง
ค่ าเฉลี่ยคะแนนการสอบ แสดงแนวโน้ มของ
ข้ อมูล การหาค่ าสถิตทิ ่ จี าเป็ น
ขั้นตอนที่ 6 : สรุปผล
• การค้ นพบจาการวิจัยนาสู่การตัดสินผล
- ถ้ ากลยุทธ์ การสอนใหม่ เพิ่มการเรียนรู้
อาจารย์ นามาใช้ ต่อไป แต่ ถ้าไม่ กลับไปใช้
ของเดิม หรือ ทดสอบกลยุทธ์ ใหม่
ขั้นตอนที่ 7 : แลกเปลีย่ นเรียนรู้
การสอนเป็ นกิจกรรมสันโดษ การแลกเปลี่ยน
เรียนรู้งานวิจัย เป็ นเวทีการอภิปราย
ที่น่าสนใจ หรือตีพมิ พ์ ในวารสารต่ างๆ
- ERIC
- Journal of the Scholarship of Teaching and
Learning
- http://www.iusb.edu/~josotl
วิจัยในชั้นเรียน
•
•
•
•
ช่ วยพัฒนาการสอน
ช่ วยคันหาสิ่งที่ทาได้ ดีในชัน้ เรียน
เป็ นพืน้ ฐานการตัดสินใจในการจัดการสอน
เป็ นเทคนิคสร้ างความเข้ าใจในการพัฒนาการสอน
อย่ างต่ อเนื่อง
• เป็ นแหล่ งของการสะสมงานการสอน การประเมิน
การสอน (portfolio)
สิ่ งที่ท้าทาย
• เวลา
• ประสบการณ์ วิจัยสังคมศาสตร์
• Confounding factors : small number,
not randomly assign
• จริยธรรม
• แรงจูงใจ
ทุนวิจัย
นาเสนอโครงร่ างวิจัย โดยสังเขป
แนวคิดเบือ้ งต้ น
• ความสาคัญและที่มาของปั ญหาที่พบ
• วัตถุประสงค์
• แนวทางการวิจัย
• ผลที่คาดจะได้ รับย่ อๆ
การวางแผนงานวิจัย
• โครงร่ างการวิจัย
• ตารางการทางาน
• สร้ างเครื่องมือเก็บข้ อมูล
• เก็บข้ อมูล
• วิเคราะห์ ข้อมูล
• เขียนรายงาน: article