แนวการจัดประสบการณ์ทางภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย(ต่อ)

Download Report

Transcript แนวการจัดประสบการณ์ทางภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย(ต่อ)

การจัดประสบการณ์ ส่งเสริมและพัฒนา
การเรียนรู้ ภาษาไทยในระดับปฐมวัย
วิภา ตัณฑุลพงษ์
สานักงานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศึกษากรุ งเทพมหานคร
E-mail : [email protected]
www.wipatantun-wi.blogspot.com
ภาษาเป็ นเครื่องมือสาคัญ...ที่จะทาให้ เกิด
ความรู ้
ความคิดเห็น(กระบวนการคิด)
ความเข้าใจในวิชาการ
ั ความอยูร่ อดของประเทศ
ความสัมพันธ์กบ
จุดเริ่ มต้นการเรี ยนรู ้สิ่งแวดล้อมรอบตัวตั้งแต่เกิด
การมีชีวต
ิ อยูใ่ นสังคม
การจั ดประสบการณ์
ตามหลักสู ตรปฐมวัย พ.ศ. ๒๕๔๖
 กิจกรรมบูรณาการผ่านการเล่น
 การเรี ยนรู ้จากประสบการณ์ตรง
่ ให้มีสาระที่ควรรู ้ที่เด็กสนใจและที่ผสู ้ อนกาหนด
 ยืดหยุน
 ประสบการณ์สาคัญ ( เด็กทาอะไร – ทาอย่างไร )
 สาระที่ควรรู ้ หัวข้อที่ครู กาหนดรายละเอียดขึ้น (วัย ความต้องการ
สิ่ งแวดล้อมของเด็ก)
 ประสบการณ์ง่ายต่อการเรี ยนรู ้
 ให้เด็กเกิดแนวคิดหลังเรี ยนรู ้จากประสบการณ์น้ น
ั ๆ
ประสบการณ์ สาคัญในหลักสู ตรปฐมวัย พ.ศ. ๒๕๔๖
ทีเ่ กีย่ วข้ องกับการพัฒนาด้ านภาษา
บูรณาการ
หลักสาคัญ
การฟัง การพูด การเขียน
ผ่ านประสบการณ์ ที่มีความหมายต่ อเด็ก
กิจกรรมสร้ างความคุ้นเคยทางภาษา
กิจกรรมเพิม
่ ประสบการณ์ เรียนรู้ ที่
เกิดจากตัวเด็ก
ครู คด
ั สรร สนับสนุนการจัดกิจกรรม
การเรียนรู้ ภาษา
ปัญหาการจัดการเรียนรู้ในการศึกษาปฐมวัย
๑.การขาดความเข้าใจเรื่ อง
๕.สภาพแวดล้อมไม่เอื้อต่อ
ปรัชญาการพัฒนาการเด็ก
การจัดการเรี ยนรู้ที่เน้นผูเ้ รี ยน
๒.กระบวนการในการเรี ยน
เป็ นสาคัญ
และพัฒนายังขาดคุณภาพ
๖.การส่ งเสริ มภาษาและเหตุผล
๓.การขาดการวิจยั /ความรู้เชิง
มีนอ้ ย
สังเคราะห์
๗.ผูป้ กครองบางส่ วนคิดว่า
๔.ความต้องการป้ อนการเรี ยนรู้
การเปลี่ยนแนวการสอนเน้น
เชิงวิชาการของพ่อแม่
ผูเ้ รี ยนเป็ นสาคัญไม่ได้ผล
การเรียนรู้ภาษา
และพัฒนาการทางภาษาของเด็กปฐมวัย
เน้ นกระบวนการทักษะ
ฟัง พูด อ่ าน เขียน
กระบวนการอ่ านและการเขียนมีความสั มพันธ์ กน
ั
การอ่ านเป็ นต้ นแบบการเขียน
การเขียนเป็ นการสื่ อสารหรือสร้ างสิ่ งทีส
่ ามารถอ่ านได้
เป็ นการเรี ยนรู้ ไปพร้ อมๆกัน
เป็ นการเรี ยนรู้ เพือ
่ สื่ อสารอย่ างต่ อเนื่อง
พัฒนาการด้ านการฟังและการพูด
อายุ ๓- ๔ ปี
๑.พูดเสี ยงสระ-วรรณยุกต์ ตัวสะกดได้ครบ
๒.พูดคาศัพท์ได้ประมาณ ๙๐๐-๑,๕๐๐คา
๓.ใช้สรรพนามที่เป็ นพหูพจน์ สรรพนาม
แทนเพศ คานาม คากริ ยา
๔.พูดวลี/ประโยคความยาว ๓ คาขึ้นไป
๕.สนทนาได้ประมาณ ๕ นาที
๖.ตั้งคาถาม “อะไร ทาไม ที่ไหน ทาไม”
๗.ใช้คาสันธาน “และ”
อายุ ๔-๕ ปี
๑.พูดเสี ยงสระ-วรรณยุกต์ ตัวสะกดได้ครบ
๒.พูดคาศัพท์ได้ประมาณ ๑,๕๐๐-๒,๐๐๐คา
๓.ใช้คากริ ยา คาวิเศษณ์ คาลงท้าย คาอุทานได้
๔.พูดประโยคความยาว ๔ คาขึ้นไปและ
ประโยคเป็ นเหตุเป็ นผล
๕.เล่าเรื่ องเกี่ยวกับตนเองและผูอ้ ื่น โดยต้อง
แนะนา
๖.ตอบคาถาม “เมื่อไร อย่างไร”
๗.ใช้คาสันธาน “แต่ เพราะว่า”
พัฒนาการด้ านการฟังและการพูด(ต่ อ)
อายุ ๕-๖ ปี
๑.พูดเสี ยงสระ-วรรณยุกต์ ตัวสะกดครบทุกเสี ยง
๒.พูดคาศัพท์ได้ประมาณ ๒,๕๐๐-๒,๘๐๐ คา
๓.ใช้คาสรรพนาม คากริ ยา คาบุพบท ได้ถูกต้อง
๔.พูดประโยคยาว ๕-๖ คาขึ้นไป ประโยคมีความซับซ้อน
มักใช้ประโยคคาสัง่
๕.พูดคุยแลกเปลี่ยนข้อมูลต่างๆกับผูอ้ ื่นได้อย่างสัมพันธ์กบั เรื่ องที่
พูด
พัฒนาการด้ านการอ่ าน(HOLDAWAY.1979)
ขั้นที่ ๑ การอ่ านขั้นเริ่มแรก ( Emergent Readind )
- ดูหนังสื อ/นิทานที่ชอบ
-พูดข้อความในหนังสื อด้วยภาษาของตน
-ทาท่าเหมือนอ่านหนังสื อ
-ตอบเรื่ องราวจากประสบการณ์เดิม
-อ่านและเขียนตัวขีดเขี่ย
-พยายามคัดลอกหรื อเขียนทับตัวอักษรของผูใ้ หญ่
พัฒนาการด้ านการอ่ าน (ต่ อ )
ขั้นที่ ๒ การอ่ านขั้นแรกเริ่มในระยะก้ าวหน้ า (Advanced
Emergent Reading )
- กวาดสายตาตามข้อความ ตามบรรทัด
- ดูขอ้ ความที่มีตวั หนังสื อตัวใหญ่
- ตอบคาถามจากการคาดเดาและสิ่ งชี้แนะ
- อ่านคา ข้อความที่เห็นเป็ นประจา
- หาคาที่มีตวั อักษรคล้ายคลึงกัน
พัฒนาการด้ านการอ่ าน (ต่ อ )
ขั้นที่ ๓ การอ่านในระยะก้าวสู่ การอ่านขั้นต้ น
(Emergent to Early Reading)
- รู้จกั คาในชีวิตประจาวัน
-รู้จกั คาดเดาคาใหม่ โดยดูจากประโยคและความหมาย
- กวาดสายตาถูกทิศเมื่อมองหาคา/ข้อความที่คุน้ เคย
- ชี้และบอกชื่อตัวอักษรส่ วนใหญ่ได้
- พิจารณาตัวอักษรและบอกได้วา่ คือตัวอะไร
- พยายามคัดเลือก-ตกแต่งรู ปร่ างตัวอักษร
- จาคาที่มีพยัญชนะต้นเหมือนกัน
พัฒนาการด้ านการอ่ าน ( ต่ อ )
ขั้นที่ ๔ การอ่ านขั้นต้ น ( Early Reading )
- ชี้หรื อกวาดสายตามองจุดเริ่ มต้น-จุดจบของคา
- ใช้เสี ยงพยัญชนะต้นที่รู้จกั ในการคาดเดาและตรวจสอบ
คาที่อ่าน
- คัดลอกคา/เขียนสื่ อความหมายโดยใช้ภาษาง่ายๆของตน
- ใช้รูปประโยคที่ถูกต้อง
- กลับมาอ่านข้อความของตนได้
พัฒนาการด้ านการอ่ าน ( ต่ อ )
ขั้นที่๕การอ่ านขั้นต้ นในระยะก้ าวหน้ า(Advanced Early Reading)
- คาดเดาข้อความจากสิ่ งชี้แนะ ( ตัวพยัญชนะแรกของคา
ความสัมพันธ์ระหว่างรู ป-ตัวอักษร-เสี ยงตัวอักษร )
- จาและตรวจสอบตัวอักษรที่สมั พันธ์กบั เสี ยงคา
- ชี้ตวั อักษรในคาพร้อมกับอ่านออกเสี ยงไปด้วย
- ใช้รูปและเสี ยงตัวอักษรเป็ นหลักในการสะกดคาใหม่ที่
ไม่รู้จกั หรื อคาที่ไม่แน่ใจ
พัฒนาการด้ านการเขียน
ขั้นที่ ๖ เขียนโดยคิดวิธีสะกดเอง
ขั้นที่ ๑ วาดแทนเขียน
( รู ้วา่ ตัวอักษรมีเสี ยงเฉพาะ)
ขั้นที่ ๒ ขีดเขี่ยแทนเขียน
ขั้นที่ ๓ เขียนโดยทาเครื่ องหมาย ขั้นที่ ๗ เขียนสะกดคาได้ใกล้เคียง
หรื อเหมือนวิธีสะกดของ
คล้ายตัวหนังสื อ (ที่คิดเอง)
ผูใ้ หญ่
ขั้นที่ ๔ เขียนตัวอักษรที่รู้จกั ด้วย
วิธีการที่คิดเอง(สลับอักษร)
ขั้นที่ ๕ คัดลอกตัวอักษร
แนวการจัดประสบการณ์ ทางภาษาสาหรับเด็กปฐมวัย
เน้ นทักษะทางภาษา
( Skills Approach )
การสอนภาษาแบบธรรมชาติ
( Whole Language )
 ให้รู้จก
ั ส่ วนย่อยทางภาษา
 การจัดสภาพแวดล้อม
 ทักษะที่สอนเน้นการรู ้จก
ั
 การสื่ อสารที่มีความหมาย
อักษรเสี ยงกับอักษร แจกลูก
สะกดคเขียนเครื่ องหมาย
โครงสร้าง-ประโยค
 ครู มีบทบาทในการเตรี ยม
การสอนตามลาดับทักษะ
เป็ นการถ่ายทอดความรู ้
 การเป็ นแบบอย่าง
 การตั้งความคาดหวังการคาดคะเน
 การใช้ขอ
้ มูลย้อนกลับ
 การยอมรับนับถือ
 การสร้างความรู ้สึกเชื่อมัน
่
แนวการจัดประสบการณ์ ทางภาษาสาหรับเด็กปฐมวัย(ต่ อ)
การจัดประสบการณ์ ทางภาษาแบบสมดุล ( Balanced Approach)
๑. ความรับผิดชอบ
๒. การใช้ภาษาอย่างมีจุดมุ่งหมาย
๓. การมีส่วนร่ วมกิจกรรมการเรี ยนรู้ทางภาษา
๔.การสาธิต
๕. การทดลองกับภาษา
๖. การสอนบทเรี ยนย่อย ๗.การตอบสนอง
๘.การเลือกกิจกรรม ๙. เวลาสาหรับการทากิจกรรมทางภาษา
๑๐. การประเมินแบบมีส่วนร่ วมและเพื่อความก้าวหน้าของแต่
ละคน
๑.การจัดศูนย์ การเรียนรู้ ด้านภาษา ( Literacy Centers )
๒.การอ่ านออกเสี ยงให้ เด็กฟัง ( Reading Alouds )
๓.การสนทนา ( Conversations )
๔.การสร้ างประสบการณ์ การอ่ านและเขียนในทุกกิจกรรม
( Build Literacy into Every Activities and Lesson )
๕.การจัดประสบการณ์ สร้ างสั ญลักษณ์ ภาษาเขียน
( Alphabetic Principle Experiences )
๖.การอ่ านออกเสี ยงทีถ่ ูกต้ อง
๗.การเล่ าเรื่องในกลุ่มย่ อย ( Group Stories )
๘.การใช้ หนังสื อเล่ มใหญ่ ( Big Book )
๙.การใช้ เพลงและกิจกรรมนิว้ มือประกอบเพลง
( Songs and Fingerplay )
๑๐.การสอนคาศัพท์ (Teach Vocabulary )
๑๑.การใช้ สื่อ/อุปกรณ์ ประกอบการเรียนรู้ ภาษา
( Literacy Props )
กลยุทธ์ และเทคนิคการจัดประสบการณ์
เพือ่ ส่ งเสริมการเรียนรู้ ภาษาสาหรับเด็กปฐมวัย
๑.การเล่ านิทาน
๒.การเล่ าเรื่องซ้า
๓.การสนทนาข่ าวและเหตุการณ์
๔.การอ่ านออกเสี ยงให้ เด็กฟัง
๕.การอ่ านร่ วมกัน
๖.การอ่ านอิสระ
๗.การอ่ านตามลาพัง
๘. การเขียนร่ วมกัน
๙. การเขียนอิสระ
๑๐. การใช้ คาถาม
๑๑.การใช้ เพลง คาคล้ องจอง บทร้ อยกรอง และปริศนาคาทาย
๑๒. การใช้ หนังสื อภาพ
๑๓. การใช้ หนังสื อเล่ มใหญ่
๑๔. ความรู้ และทักษะเกีย่ วกับหนังสื อ
ตัวอย่างกิจกรรม
ส่ งเสริ มการเรี ยนรู้ภาษาเด็กปฐมวัย
การสนทนาข่ าวและเหตุการณ์
( MORNING MESSAGE )
ข้อคิด
-เครื่ องมือต้นในการพัฒนาการพูด
-ไม่เน้นการพูดตามรู ปแบบ
-เป็ นการสนับสนุนการรู ้คาศัพท์
-เด็กพูดอย่างอิสระและสบายใจ
-เป็ นการรู ้จกั เด็กรายบุคคล
-ครู แลกเปลี่ยนประสบการณ์กบั
เด็ก
-ส่ งเสริ มมารยาทในการพูด-การฟัง
หลักการสาคัญ
๑.ครู ใช้ภาษาที่เป็ นแบบอย่าง
๒.เปิ ดโอกาสให้เป็ นทั้งผูพ้ ดู -ผูฟ้ ัง
๓.อธิบายคาศัพท์ใหม่ๆระหว่างพูด
๔.เปิ ดโอกาสให้เล่าเรื่ องและ
แลกเปลี่ยนความเห็นให้มาก
๕.การให้เด็กตั้งคาถาม-ตอบคาถาม
๖.ไม่ตดั สิ นการพูดของเด็ก และไม่
บังคับเด็กพูด
การอ่ านออกเสี ยงให้ เด็กฟัง
( READING ALOUDS )
ข้อคิด
หลักการสาคัญ
-เป็ นการเรี ยนรู ้ชีวิต/เรื่ องราว
ผ่านการอ่านของผูใ้ หญ่
-กระตุน้ จินตนาการเด็ก
-เพิ่มทักษะการฟัง การสังเกต
การแก้ปัญหา เพิ่มคาศัพท์
-ส่ งเสริ มการอยูร่ ่ วมกันในสังคม
-ส่ งเสริ มนิสยั รักการอ่าน ใฝ่ รู ้
๑.เรื่ องสั้นๆ(ในระยะแรก)
๒.เรื่ องมีโครงสร้าง(Polt)
๓.เรื่ อง-ภาพมีความเหมาะสมและ
หลากหลายทางวัฒนธรรม
๔.เด็กมีส่วนเลือกเรื่ อง
๕.จัดเป็ นกลุ่มเล็ก
๖.เปิ ดโอกาสให้เด็กตั้งคาถาม
การใช้ คาถาม ( QUESTIONS )
ประเภทคาถามสาหรับเด็กปฐมวัย
๑. คาถามระดับตา่ ได้แก่
๑.๑ ให้สงั เกตสิ่ งต่างๆหรื อเหตุการณ์ที่กาหนด
๑.๒ ให้ทบทวนความจา/ประสบการณ์เดิม
๑.๓ ให้บอกความหมาย/คาจากัดความ
๑.๔ ให้เลือกข้อมูลที่กาหนดว่าข้อใดเป็ นคาตอบที่ตอ้ งการ
๑.๕ คาถามถามนา
๑.๖ คาถามเร้าความสนใจ
๒.คาถามระดับสู ง ได้แก่
๒.๑ คาถามให้อธิบาย “ทาไม อย่างไร เพราะเหตุใด”
๒.๒คาถามให้เปรี ยบเทียบสิ่ งของสองสิ่ ง
( คล้ายกัน-แตกต่างกัน คุณสมบัติ/ลักษณะ )
๒.๓คาถามให้ยกตัวอย่าง เพื่อใช้ประสบการณ์เดิม
๒.๔ คาถามให้วิเคราะห์ เพื่อค้นหาความจริ ง แยกแยะ
เรื่ องราวหาสาเหตุและผลของปัญหา
๒.๕ คาถามให้สงั เคราะห์ เพื่อคิดสรุ ปความสัมพันธ์
มาเป็ นความคิดใหม่
๒.๖ คาถามให้ประเมินค่า เพื่อพิจารณาคุณค่าของ
สิ่ งของ และตัดสิ นใจอย่างมีเหตุผล เช่น
“เด็กๆชอบผลไม้ ชนิดใดมากทีส่ ุ ด..............เพราะอะไร......
...............เด็กๆควรเลือกซื้อผลไม้ ที่มีลกั ษณะอย่ างไร..........
ลองบอกเหตุผลประกอบ”
ความรู้ และทักษะเกีย่ วกับหนังสื อ
สาหรับครู
๑.ชื่อเรื่ อง ( Title )
๒.คานา ( Preface )
๓.สารบัญ(Table of Contents )
๔.บทนา( Introduction )
๕.หัวข้อ ( Heading )
๖.ลักษณะการพิมพ์(เอน หนา )
สาหรับเด็กปฐมวัย
๑.การถือหนังสื อ
๒.การเปิ ดหนังสื อ
๓.การอ่านจากซ้ายไปขวา
๔.ปกหน้า-ปกหลัง
๕.ชื่อเรื่ อง
๖.ผูแ้ ต่ง
ความรู้และทักษะเกีย่ วกับหนังสื อ
สาหรับครู
สาหรับเด็กปฐมวัย
๗.รู ปภาพ แผนภูมิ ตาราง กราฟ
๘.บทสรุ ป(Summary/Conclusion)
๙.ภาคผนวก (Appendix )
๑๐.ดัชนี ( Index )
๑๑.อภิธานศัพท์ ( Glossary )
๗.ผูว้ าดภาพประกอบ
๘.แนวคิดเกี่ยวกับ ตัวหนังสื อและ
สิ่ งพิมพ์(ตัวเลข-ภาพ)
๙.ตัวหนังสื อ( ความหมาย )
๑๐.รู ปภาพ(สื่ อแทนตัวหนังสื อ)
๑๑.คาที่ควรรู ้ ตัวหนังสื อและ
อื่นๆ
การพูดคุยกับเด็กและฟังเด็ก....จะช่ วยให้ เกิด
ความใกล้ชิดกันมากขึ้น
การพัฒนาการสื่ อสารเด็กดีข้ ึน
ช่วยให้เด็กอ่านเก่งและเขียนเก่งขึ้น
ผลการวิจัย ๑
การได้ยนิ เสี ยงสัมผัสนาไปสู่การสร้างคาศัพท์ใหม่
ผลการวิจยั เด็กที่รู้จกั การหาคาคล้องจองก่อนเรี ยน
หนังสื อเมื่อเริ่ มอ่านหนังสื อจะไม่มีปัญหา แต่เด็กที่มี
แนวโน้ม “ภาวะเสี ยการอ่านเข้าใจ” มักมาจาก
ครอบครัวที่มีปัญหาในการอ่าน อาการอย่างหนึ่งของ
ภาวะเสี ยการอ่านเข้าใจคือ จับสัมผัสไม่เป็ น
ผลการวิจัย ๒
เด็กเล็กๆจับประเด็นเรื่ องได้ครั้งละ ๑-๒ เรื่ องเท่านั้น
ผลวิจยั ผูใ้ หญ่คิดในใจได้ครั้งละ ๖-๗ เรื่ อง แต่เด็ก
คิดในใจได้ไม่เกิน๒เรื่ อง ดังนั้นเด็กจึงพูดยาวๆไม่ได้
และเปรี ยบเทียบของในหลายมิติไม่ได้
การจัดกิจกรรม “ค้นหาและบอกลักษณะ
สิ่ งของ” จะช่วยฝึ กเด็กใช้ความสามารถอย่างเต็มที่
ผลการวิจัย ๓
การแยกแยะประเภทสิ่ งของเป็ นเรื่ องยากสาหรับเด็กเล็ก
ต้องอาศัยการฝึ กฝนบ่อยๆ ผลวิจยั สมองเด็กทารกยังพัฒนา
ไม่เต็มที่ยกเว้น ส่ วนที่ทางานอัตโนมัติ เช่น การหายใจ
การย่อยอาหาร การนอนหลับ แต่ ส่ วนที่เกี่ยวกับการจดจา
การคิด และการใช้เหตุผลจะค่อยๆพัฒนาในช่วงต้นของชีวติ
การฝึ กฝนจะช่วยให้เกิดการพัฒนา โดยเฉพาะเครื อข่ายของ
นิวโรน(เซลล์ประสาท)