การฝึกอบรมผู้บังคับบัญชาลูกเสือโลกและไทย สมควร เย็นใจ L.T.

Download Report

Transcript การฝึกอบรมผู้บังคับบัญชาลูกเสือโลกและไทย สมควร เย็นใจ L.T.

ประวัติการฝึกอบรมผู้บังคับบัญชา
ลูกเสือโลก-ลูกเสือไทย
ปรีชา กลา่ รัศมี L.T.
ผู้ตรวจการลูกเสื อประจาสานักงานลูกเสื อแห่ งชาติ
วัเมื่อตจบบทเรี
ถุปยนนีระสงค์
แ้ ล้ ว ผู้เข้ ารับการอบรมควรจะสามารถ
1. บอกทีม่ าของการฝึ กอบรมผู้บังคับบัญชาลูกเสื อโลก
และลูกเสื อไทยได้
2. ชี้ให้ เห็นความเหมือนกันและความแตกต่ างกันของการ
ฝึ กอบรมที่เปลีย่ นแปลงจากแบบกิลเวลล์ ปาร์ คเป็ น
แบบสานักงานลูกเสื อโลก
3. บอกแผนการฝึ กอบรมผู้บังคับบัญชาลูกเสื อได้ ถูกต้ อง
Brownsea Island
การฝึ กอบรมแบบกิลเวลล์ ปาร์ ค




ครั้งแรก ค.ศ. 1919 อบรมวูดแบดจ์ สามัญ
ทีก่ ลิ เวลล์ ปาร์ คจัดสาหรับผู้กากับลูกเสื ออังกฤษ
ค.ศ. 1922 อบรมวูดแบจด์ สาหรับผู้กากับสารอง
ค.ศ. 1927 อบรมวูดแบดจ์ สาหรับผู้กากับวิสามัญ
ค.ศ. 1956 อบรมวูดแบดจ์ สาหรับผู้กากับสามัญรุ่นใหญ่
การฝึ กอบรมขั้นผู้ให้ การฝึ กอบรมรุ่นแรก
(The First official Training the Team course)
ระดับการฝึ กอบรมแบ่ งออกเป็ น 2 ระดับ
1. ระดับผู้กากับลูกเสื อ มี 2 ขั้น คือ
 ขั้นความรู้เบือ้ งต้ น หรือ P.T.C.
(Preliminary Training Course)
 ขั้นวูดแบดจ์ แบ่ งเป็ น 3 ภาค
ภาค 1 เป็ นทฤษฎี คือการศึกษาหาความรู้เกีย่ วกับ
การลูกเสื อ มีการตอบคาถาม
เป็ นลายลักษณ์ อกั ษร
ระดับการฝึ กอบรมแบ่ งออกเป็ น 2 ระดับ
ภาค 2 เป็ นการฝึ กภาคปฏิบัติเกีย่ วกับวิชาการ
ลูกเสื อมีการอยู่ค้างแรมคืน
ภาค 3 เป็ นภาคปฏิบัตกิ าร โดยผู้กากับลูกเสื อนา
วิชาทีไ่ ด้ เรียนรู้มาจากภาค 1 และ 2 ไปใช้
ฝึ กอบรมลูกเสื อในกองหนึ่ง กองใด
มีเจ้ าหน้ าที่ไปตรวจและรายงานผล
การปฏิบัติ
ระดับการฝึ กอบรมแบ่ งออกเป็ น 2 ระดับ
2. ระดับผู้ให้ การฝึ กอบรมผู้กากับ มี 1 ขั้น เรียกว่ า
ขั้น Training the Team Course หรือ T.T.C.
 การฝึ กอบรมเกีย่ วกับวิชาเฉพาะเรียกว่ า Specialist
Course เช่ น Camp Fire Course Pioneering
Course หรืออบรมบุคคลรุ่นพิเศษ เช่ น
Commissioners Course เป็ นต้ น
การฝึ กอบรมตามแบบสานักงานลูกเสื อโลก

กิลเวลล์ปาร์ คได้ เป็ นศูนย์ การฝึ กอบรมระหว่ าง
ประเทศ ตลอดจนการประชุมสมัชชาลูกเสื อโลก
ครั้งที่ 22
ที่นครเฮลซิงกิ เมื่อปี ค.ศ. 1929
ทีป่ ระชุมได้ มมี ติให้ มกี ารเปลีย่ นแปลงระบบการ
ฝึ กอบรมผู้บังคับบัญชาลูกเสื อ
1. ได้ มีการขยายกิจการลูกเสื อในปริมาณและ
อาณาเขตทางภูมิศาสตร์ กว้ างขวางออกไปมาก
2. ความต้ องการในการฝึ กอบรมผู้บังคับบัญชาลูกเสื อของ
แต่ ละประเทศแตกต่ างกัน
3. เจตคติและความต้ องการ (Needs) ของผู้บังคับบัญชา
ลูกเสื อก็แตกต่ างกัน
4. เพราะความเปลีย่ นแปลงดังกล่ าว ทาให้ ความเป็ นเอกภาพ
ทีม่ ีต่อศูนย์ ฝึก ระหว่ างประเทศเกิดมีจุดอ่ อน
แผนการฝึ กอบรม 2 ระดับ
(2 – Stage Training Scheme)
ระดับที่ 1 สาหรับผู้กากับลูกเสื อ มี 2 ขั้น
 ขั้นความรู้ เบือ
้ งต้ น (Basic unit Leader
Training Course หรือ B.T.C.)
 ขั้นความรู้ ช้ ั นสู ง (Advance unit Leader
Training Course หรือ A.T.C.)
หมายเหตุ ก่ อนทีบ่ ุคคลจะเข้ าเป็ นผู้กากับลูกเสื อ คณะกรรมการฝึ กอบรมลูกเสื อโลก
แนะนาให้ เข้ ารับการฝึ กอบรมความรู้ ทวั่ ไป
(Introductory Course) ซึ่งใช้ เวลา 8 - 12 ชั่วโมง หรือ 1 วันก่อน
ระดับที่ 2 เป็ นการให้ การฝึ กอบรมแก่ ผ้ ูทผี่ ่ านการฝึ กอบรม
วิชาผู้ กากับลูกเสื อมาแล้ วมี 2 ขั้น
 ขั้นผู้ให้ การฝึ กอบรมระดับชาติ หรือ N.T.C การ
ฝึ กอบรมขั้นนี้ คณะลูกเสื อแห่ งชาติเป็ นผู้ดาเนินการโดย
ในระยะแรกต้ องขออนุญาต
ไปยังสานักงานลูกเสื อโลกเขตเอเชีย-แปซิฟิก ก่ อน
แต่ ต่อมาสามารถดาเนินการเองได้ โดยรายงานผลไปให้
เขตเอเชีย-แปซิฟิก ทราบ
ใช้ เวลาฝึ กอบรมประมาณ 6 - 7 วัน
2. ขั้นผู้ให้ การฝึ กอบรมระดับนานาชาติ (International
Training the Team Course) หรือ I.T.T.C. ให้ ฝึกอบรม
ผู้บังคับบัญชาลูกเสื อทีจ่ ะไปเป็ นผู้อานวยการฝึ กอบรม ผู้กากับ
ลูกเสื อ
ขั้นความรู้ ช้ันสู ง (A.T.C.) การฝึ กอบรมขั้นนี้ เมื่อระยะแรก
ประเทศใดจะจัดให้ มีขนึ้ ต้ องขออนุญาตไปยังสานักงานลูกเสื อ
โลกเขตเอเชีย-แปซิฟิก ก่ อนสานักงานลูกเสื อโลกจะส่ งวิทยากรมา
ช่ วยให้ การอบรมร่ วมกับประเทศเจ้ าภาพ แต่ ต่อมาสามารถ
ดาเนินการ ได้ เอง โดยรายงานผลไปให้ เขตเอเชีย-แปซิฟิก ทราบ
ใช้ เวลาฝึ กอบรมประมาณ 6 - 7 วัน
วิธีและเทคนิคในการฝึ กอบรม
1.
2.
3.
4.
5.
การอภิปรายกลุ่ม (Group Discussion)
การประชุมกลุ่มย่ อย (Buzz Group)
การระดมสมอง (Brainstorming)
การบรรยาย (Lecture)
การสาธิต (Demonstration)
วิธีและเทคนิคในการฝึ กอบรม
6. การสอนแบบฐาน (Base Method)
7. การสวมบทบาท (Role Playing)
8. การแบ่ งกลุ่มเพือ่ ปฏิบัตติ ามโครงการ
(Project Work Group)
9. การศึกษารายกรณี (Case Study)
10. การอภิปรายเป็ นคณะ (Panel )
 ประชุ มสมัชชาลูกเสื อโลกครั้ งที่
26 ณ นครมอนตริออล
ประเทศแคนาดา เมื่อ พ.ศ. 2520 (ค.ศ. 1979) ทีป่ ระชุม
ได้ มมี ติให้ เปลีย่ นชื่อใหม่ ดังต่ อไปนี้
National Trainers Course (N.T.C.) ให้ เปลีย่ นเป็ น
Assistant Leader Trainers Course (A.L.T.C)
และ International Training the Team Course
(I.T.T.C.) ให้ เปลีย่ นเป็ น
Leader Trainers Course (L.T.C.)
การฝึ กอบรมผู้กากับลูกเสื อในประเทศไทย
สมัย ร.6 มีโรงเรียนฝึ กอบรมผู้กากับลูกเสื อ หลักสู ตร
2 เดือน ต้ องไปซ้ อมรบอีก 1 เดือนได้ รับประกาศนียบัตรพิเศษ
พ.ศ. 2470 ส่ งหลวงกวี จรรยาวิโรจน์ และ
หลวงปราโมทย์ จรรยาวิภาค ไปอบรมทีป่ ระเภทอังกฤษ
พ.ศ. 2500 ส่ ง นายเชาว์ ชวานิช
นายสมรรถไชย ศรีกฤษณ์
นายเพทาย อมาตยกุล นายกมล พันธุ์มีเชาวน์
และ นายสว่ าง วิจกั ขณะ ไปอบรมที่ประเทศอังกฤษ
การฝึ กอบรมผ้ ูกากับลูกเสื อในไทย
แบบกิลเวลล์ ปาร์ ค
พ.ศ. 2503 เปิ ดอบรมวิชาผู้กบั ลูกเสื อสารอง
ขั้นวูดแบดจ์ ครั้งแรกทีอ่ ่ างศิลา จังหวัดชลบุรี
พ.ศ. 2504 เปิ ดอบรมวิชาผู้กบั ลูกเสื อสามัญ
ขั้นวูดแบดจ์ ครั้งแรกทีค่ ่ ายวชิราวุธ จังหวัดชลบุรี
พ.ศ. 2521
เปลีย่ นแบบการฝึ กอบรมจากแบบ
กิลเวลล์ ปาร์ ค มาเป็ นแบบสานักงานลูกเสื อโลก
คุณวุฒทิ างลูกเสื อ
สมัยก่ อน พ.ศ. 2520
C.W.B. Cub Wood Badge ประเภทสารอง
S.W.B. Scout Wood Badge ประเภทสามัญ
SS.W.B. Senior Scout Wood Badge
ประเภทสามัญรุ่นใหญ่
R.W.B. Rover Wood Badge ประเภทวิสามัญ
ปัจจุบัน
ไม่ ระบุประเภทลูกเสื อ ใช้ W.B. เหมือนกันหมด
คุณวุฒิทางลูกเสื อ
สมัยก่ อน พ.ศ. 2520
A.AK.L. Assistant Akela Leader
A.D.C.C Assistant Deputy Camp Chief
AK.L.
Akela Leader
D.C.C
Deputy Camp Chief
3 ท่ อน สารอง
3 ท่ อน สามัญ
4 ท่ อน สารอง
4 ท่ อน สามัญ
ปัจจุบัน
A.L.T. Assistant Leader Trainers
3 ท่ อน
L.T. Leader Trainers
4 ท่ อน
การฝึ กอบรมคณะผู้ให้ การฝึ กอบรม
มีข้นั เดียว คือ Training the Team Course : T.T.C ได้ 3 ท่ อน
เมื่อมีผลงานมากขึน้ ได้ 4 ท่ อน
จาก พ.ศ. 2512
N.T.C. National Trainers Course อบรม 3 ท่ อน
I.T.T.C. International Training the Team Course อบรม 4 ท่อน
จาก พ.ศ. 2526
A.L.T.C. Assistance Leader Trainers Course อบรม 3 ท่ อน
L.T.C. Leader Trainers Course อบรม 4 ท่ อน
หลักทั่วไปในการฝึ กอบรม
1. เนือ้ หาวิชา วิธีการฝึ กอบรม ให้ เป็ นไปตาม
ความต้ องการของแต่ ละประเทศ
2. ให้ เกิดความเข้ าใจในภาระหน้ าที่ที่จะต้ องทา รวมถึง
เข้ าใจหลักสาคัญของการลูกเสื อและหน้ าทีข่ อง
ผู้กากับลูกเสื อ
3. ให้ เข้ าใจถึงความต้ องการของเด็กและคนหนุ่ม และ
เข้ าใจถึงทักษะที่จะสนองความต้ องการของเขา
หลักทั่วไปในการฝึ กอบรม
4. สาธิตให้ เห็นถึงความจาเป็ นทีจ่ ะต้ องมีผู้ใหญ่ เป็ นผู้นาต่ อ
เด็ก และให้ เห็นวิธีที่จะพัฒนาตนเอง เพือ่ หาความรู้เพิม่
5. ให้ มีทักษะ 5 ประการ คือ Understanding,
Relationship Skills, Scouting Skills,
Planning Skills และImplementing Skills
การส่ งเสริมความร้ ู ความเข้ าใจ 5 ประการ
ความเข้ าใจในเรื่องลูกเสื อ (Understanding)
หลักการสาคัญของลูกเสื อรวมทั้งคาปฏิญาณและกฎ
ลักษณะนิสัย และการพัฒนาของเด็กและคนหนุ่ม
โครงสร้ างของลูกเสื อ รวมทั้งการขยายงานด้ วย
บทบาทของผู้กากับลูกเสื อ รวมทั้งความรับผิดชอบ
ในการเป็ นผู้นา
 กิจการลูกเสื อและชุมชนรวมทั้งความสั มพันธ์ กบั หน่ วยเยาวชนอืน่
1.




การส่ งเสริมความร้ ู ความเข้ าใจ 5 ประการ
2. ทักษะเกีย่ วกับมนุษยสั มพันธ์
(Relationship Skills)




ความสามารถในการเป็ นผู้นา เช่ น การทางานร่ วมกับ
กลุ่มเล็ก ๆ
การใช้ วธิ ีการทีเ่ หมาะสมเกีย่ วกับประเภทลูกเสื อ เช่ น
ระบบหมู่
การติดต่ อกับคนวัยรุ่นและคนหนุ่ม
การให้ คาแนะนา
การส่ งเสริมความร้ ู ความเข้ าใจ 5 ประการ
3. ทักษะเกีย่ วกับเทคนิคของการลูกเสื อ
(Scouting Skills)


การกาหนดการฝึ กอบรม รวมทั้งระบบ
กาหนดการฝึ กอบรมของลูกเสื อแต่ ละประเภท
การฝึ กอบรมทักษะต่ าง ๆ ของลูกเสื อ
การส่ งเสริมความร้ ู ความเข้ าใจ 5 ประการ
4.




ทักษะเกีย่ วกับการวางแผน (Planning Skill)
ความสามารถทีจ่ ะเกิดขึน้ และปรับปรุง
การวางแผนกาหนดการฝึ กอบรมทั้งระยะยาว และระยะสั้ น
การวางแผนความเจริญก้ าวหน้ ารายบุคคลของคนหนุ่ม
การวางแผนความเจริญก้ าวหน้ าของกองลูกเสื อ
การส่ งเสริมความร้ ู ความเข้ าใจ 5 ประการ
5. ทักษะเกีย่ วกับการปฏิบัติงาน(Implementing Skills)
 กิจกรรมต่ าง ๆ
 วิธีการฝึ กอบรมและวิธีการสอน
 การแสวงหา และการใช้ อป
ุ กรณ์ และวิทยากร
 การกาหนดและรั กษามาตรฐานของกองลูกเสื อ
 การบริ หารกองลูกเสื อ
 การประเมินผล
 การรับผิดชอบงานในหน้ าที่
การฝึ กอบรมขั้นความรู้ เบือ้ งต้ น (B.T.C.)
- โดยทัว่ ไปจะฝึ กอบรมขั้นความรู้ทวั่ ไปรวมอยู่ด้วย
ใช้ เวลา 4 วัน 3 คืนจัดเลีย้ งอาหาร ผู้อานวยการฝึ กต้ อง
มีคุณวุฒิ A.L.T. ขึน้ ไป
- สมาคมสโมสร เขตพืน
้ ที่การศึกษา จังหวัด กรม
เป็ นฝ่ ายขออนุญาตจากสานักงานลูกเสื อจังหวัด
หรือสานักงานลูกเสื อแห่ งชาติ
- แยกฝึ กอบรมเป็ นประเภท สารอง สามัญ
สามัญรุ่นใหญ่ วิสามัญ
การฝึ กอบรมขั้นความรู้ ช้ันสู ง (A.T.C.)
 จะต้ องผ่ านการฝึ กอบรมขั้นความรู้ เบือ
้ งต้ น
มาแล้ วไม่ น้อยกว่ า 4 เดือน และตรงตามประเภท
ทีอ่ บรมมา
 การฝึ กอบรมใช้ เวลา 7 วัน
 จัดเลีย้ งอาหารบางมือ
้ นอกนั้นประกอบเอง
การฝึ กอบรมขั้นความรู้ ช้ันสู ง (A.T.C.)
แต่ งกายตามประเภททีอ
่ บรม เปลีย่ นหน้ าที่
ภายในหมู่ทุกวัน
ผู้อานวยการฝึ กต้ องมีคุณวุฒิ L.T.
สมาคมสโมสร เขตพืน
้ ทีก่ ารศึกษา จังหวัด
กรม เป็ นฝ่ ายขออนุญาตจากสานักงานลูกเสือ
จังหวัดหรือสานักงานลูกเสื อแห่ งชาติ
การฝึ กอบรมขั้นผู้ช่วยผู้ให้ การฝึ กอบรม (A.L.T.C.)
 จะต้ องได้ รับเครื่ องหมายวูดแบดจ์ 2 ท่ อนมาแล้ วไม่ น้อยกว่ า
2 ปี และเคยเป็ นผู้ช่วยวิทยากรในการฝึ กอบรมมาแล้ ว 3 ครั้ง
 เป็ นการฝึ กอบรมรวมทุกประเภท แต่ งกายตามตาแหน่ ง
ทางลูกเสื อ
 ฝึ กอบรม 7 วัน จัดเลีย้ งอาหาร มีอาหารว่ างทั้งเช้ า-บ่ าย
 ผู้อานวยการฝึ ก ต้ องมีคุณวุฒิ L.T. และเป็ นผู้ทส
ี่ านักงาน
คณะกรรมการบริหารลูกเสื อแห่ งชาติได้ จัดเตรียมไว้
การฝึ กอบรมขั้นผู้ช่วยผู้ให้ การฝึ กอบรม (A.L.T.C.)
 สานักงานลูกเสื อจังหวัด กรม และสมาคม
สโมสรบางแห่ ง
เป็ นฝ่ ายจัด โดยได้ รับอนุญาตจากสานักงานฯ
เพือ่ กาหนดเลขรุ่น
 อบรมแล้ วอย่ างน้ อย 1 ปี และเป็ นวิทยากร ขั้น
ความรู้ เบือ้ งต้ น (B.T.C.) และเป็ นวิทยากรขั้น
ความรู้ ช้ันสู ง (A.T.C.) อย่ างน้ อย 6 ครั้ง
การฝึ กอบรมขั้นหัวหน้ าผู้ให้ การฝึ กอบรม(L.T.C.)
 ต้ องได้ รับเครื่ องหมายวูดแบดจ์ 3 ท่ อน มาแล้ วไม่ น้อยกว่ า
1 ปี และเคยเป็ นผู้อานวยการฝึ ก ขั้นความรู้ เบือ้ งต้ น
(B.T.C.) อย่ างน้ อย 2 ครั้ง
เป็ นวิทยากรขั้นความรู้ ช้ันสู ง (A.T.C.)อย่ างน้ อย 2 ครั้ง
 เป็ นการฝึ กอบรมรวมทุกประเภท แต่ งกายตามตาแหน่ ง
ทางลูกเสื อ
 ฝึ กอบรม 7 วัน จัดเลีย้ งอาหาร มีอาหารว่ างทั้งเช้ า-บ่ าย
การฝึ กอบรมขั้นหัวหน้ าผู้ให้ การฝึ กอบรม (L.T.C.)
 ผู้ตรวจการลูกเสื อฝ่ ายพัฒนาบุคลากร เป็ นผู้อานวยการฝึ ก
อนุกรรมการฝ่ ายฝึ กอบรมและผู้ทรงคุณวุฒิ เป็ นวิทยากร
 เปิ ดอบรมปี ละ 1-2 รุ่ น รุ่ นละ 40-45 คน
ณ ค่ ายลูกเสื อวชิราวุธ
 อบรมแล้ วอย่ างน้ อย 1 ปี และเป็ นผู้อานวยการฝึ ก
ขั้นความรู้ เบือ้ งต้ น (B.T.C.) อย่ างน้ อย 2 ครั้ง และเป็ น
วิทยากรขั้นความรู้ ช้ันสู ง (A.T.C.) อย่ างน้ อย 2 ครั้ง
1.
2.
3.
4.
5.
6.
การฝึ กอบรมให้ เป็ นไปตามความต้ องการของผู้เข้ า
อบรม
มีจุดมุ่งหมายของหลักสู ตร
ฝึ กตามเนือ้ หาวิชาของหลักสู ตร
การฝึ กต้ องแบ่ งออกเป็ นชั่วโมง
ต้ องรู้วตั ถุประสงค์ ของแต่ ละบทเรียน
ให้ ใช้ เทคนิคการฝึ กอบรมและสื่ อประกอบการฝึ กอบรม
ครั้งที่ 1 9 -11 พ.ค. 2546
ครั้งที่ 2 16-18 พ.ค. 2546
ครั้งที่ 3 4 พ.ค. 2547
ครั้งที่ 4
ครั้งที่ 5
ครั้งที่ 6
ครั้งที่ 7
ค่ ายลูกเสื อวชิราวุธ
ค่ ายลูกเสื อวชิราวุธ
โรงแรมเดอะทวินทาวเวอร์
กรุงเทพฯ
6-10 ก.ย. 2547
โรงแรมเดอะเลกาซี่ริเวอร์ แคว
จ. กาญจนบุรี
10-14 มี.ค. 2548 โรงแรมอมรพันธ์ วลิ ล่ า
จ.ระยอง
2 ก.พ. 2548
ศาลาวชิราวุธ
6-10 ก.ย. 2553 สวนนงนุช จ.ชลบุรี
1. มีการศึกษาข้ อมูลพืน้ ฐาน
- สารวจสภาพปัญหา ความต้ องการ และความจาเป็ น
ในการสร้ างหลักสู ตร
2. การพัฒนาหลักสู ตร
- กาหนดจุดมุ่งหมาย
- กาหนดเนือ้ หาสาระ
- กาหนดกิจกรรม
3. การทดลองใช้ หลักสู ตร
4. การประเมินและติดตามผลหลักสู ตร
- เพือ่ ตรวจสอบว่ าหลักสู ตรทีไ่ ด้ พฒ
ั นาขึน้ มีความ
เหมาะสมเพียงใด
- ควรจะปรับปรุงแก้ ไขเพือ่ ให้ ได้ หลักสู ตร
ทีส่ มบูรณ์ ขนึ้
1. ลดจำนวนวัน
C.B.T.C.
S.B.T.C.
SS.B.T.C.
R.B.T.C.
3 วัน
C.A.T.C.
S.A.T.C.
SS.A.T.C.
R.A.T.C.
2. ปรับปรุงเนือ้ หาให้ เป็ นปัจจุบัน
3. จัดทาเป็ นแผ่ น C.D. แทนพิมพ์ เป็ นคู่มอื
7 วัน