บุคลากรส่งเสริมสุขภาพระดับตำบล

Download Report

Transcript บุคลากรส่งเสริมสุขภาพระดับตำบล

การปฐมนิเทศ
TOHA
Tambol Oral Hygienist and Assistant
27 กค. 2555
ครั้งหนึ่งเมื่อมีคนถามองค์ดาไลลามะว่า อะไร
เป็ นเรื่ องที่ท่านรู ้สึกแปลกใจมากที่สุด เกี่ยวกับ
มนุษยชาติ ท่านตอบว่า
“มนุษย์ เรานึ้ ยอมสูญเสี ยสุ ขภาพเพื่อทาให้ได้
เงินมา แล้วต้องยอมสูญเสี ยเงินตรา เพื่อฟื้ นฟู
รักษาสุ ขภาพ แล้วก็เฝ้ าเป็ นกังวลกับอนาคต จน
ไม่มีความรื่ นรมย์กบั ปั จจุบนั ผลที่เกิดขึ้นจริ งๆ
ก็คือ เขาไม่ได้อยูก่ บั ปั จจุบนั หรื อแม้กระทัง่ อยู่
กับอนาคต เขาดาเนินชีวติ เสมือนหนึ่ งว่าเขาจะ
ไม่มีวนั ตาย และแล้วเขาก็ตายอย่างไม่เคยมีชีวิต
อยูจ่ ริ ง“
หัวข้ อชีแ้ จง
 ความเป็ นมา
 บทบาทภารกิจ
 ตารางการดาเนิ นงาน
 งบประมาณสนับสนุน
 การประเมินผล
 การจัดทาฐานข้อมูลทันตสาธารณสุ ข(ปฏิบต
ั ิ)
ความเป็ นมา
คณะกรรมการพัฒนาทันตสาธารณสุ ข เขต ๑๔
(Node วิชาการทันตสาธารณสุ ข)
ยุทธศาสตร์ ทนั ตสาธารณสุ ข เขต ๑๔
ประชาชนเข้าถึงบริ การทันตสุ ขภาพครอบคลุม
ร้อยละ ๒๐ ภายใน ปี ๒๕๕๕ เพื่อแก้ไขปั ญหาการขาดแคลนทันต
บุคลากร โดยการผลิตบุคลากรส่ งเสริ มทันตสุ ขภาพระดับตาบล
ให้สามารถประยุกต์ใช้ความรู้และทักษะจากการอบรม ไปปฏิบตั ิงาน
ส่ งเสริ มทันสุ ขภาพให้กบั ประชาชนในพื้นที่ได้
บุคลากรส่ งเสริ มทันตสุ ขภาพระดับตาบล
Tambol Oral Hygienist and Assistant
วัตถุประสงค์ การผลิต TOHA
๑. เพื่อแก้ไขปั ญหาการขาดแคลนทันตบุคลากร โดยการผลิต
บุคลากรส่ งเสริ มทันตสุ ขภาพระดับตาบล ให้สามารถประยุกต์ใช้
ความรู ้และทักษะจากการอบรม ไปปฏิบตั ิงานส่ งเสริ มทันสุ ขภาพ
ให้กบั ประชาชนในพื้นที่ได้
๒. เพื่อเพิ่มบุคลากรปฏิบตั ิงานสร้างเสริ มทันตสุ ขภาพ
เพื่อเพิ่มความครอบคลุมของงานสร้างเสริ มทันตสุ ขภาพในพื้นที่
(รพ.สต.)
กลวิธีการดาเนินงาน
๕.๑ จัดตั้งคณะกรรมการดาเนินงานเรื่ องบุคลากรส่ งเสริ มทันตสุ ขภาพระดับตาบล
๕.๒ ประชุมคณะกรรมการดาเนินงานเรื่ องบุคลากรส่ งเสริ มทันตสุ ขภาพระดับตาบล
๕.๓ เขียนหลักสูตรการอบรมบุคลากรส่ งเสริ มทันตสุ ขภาพระดับตาบล
๕.๔ จัดการอบรมบุคลากรส่ งเสริ มทันตสุ ขภาพระดับตาบล ทั้งในส่ วนภาคทฤษฎี
และภาคปฏิบตั ิ
๕.๕ ติดตามและประเมินผลการดาเนินโครงการ ประเมินการปฏิบตั ิงานของ
บุคลากรส่ งเสริ มทันตสุ ขภาพระดับตาบล
เป้ าหมายการผลิตบุคลากรส่ งเสริ มทันตสุ ขภาพระดับตาบล เขต
๑๔ ปี งบประมาณ ๒๕๕๕
นครราชสี มา
ชัยภูมิ
บุรีรัมย์
สุ รินทร์
จานวน
จานวน
จานวน
จานวน
๓๕
๓๐
๔๙
๓๑
คน
คน
คน
คน
รวมทั้งเขต
จานวน ๑๔๕ คน
คุณสมบัติบุคลากรส่ งเสริ มทันตสุ ขภาพระดับตาบล เขต ๑๔
คุณสมบัติ
๖.๔.๑ อายุ ๑๘-๓๕ ปี
๖.๔.๒ วุฒิการศึกษาจบชั้น ม. ๖ หรื อเทียบเท่า
๖.๔.๓ เป็ นคนในพื้นที่ที่ปฏิบตั ิงาน
๖.๔.๔ มีความสามารถด้านการสื่ อสารและประชาสัมพันธ์
๖.๔.๕ มีความสามารถด้านการใช้คอมพิวเตอร์
ระยะเวลาการอบรม
ระยะเวลา อบรม ๒ เดือน (หลักสูตรกลาง Oral hygienist เป็ นหลัก) ประกอบด้วย ๒
ซึ่งพิจารณาตามเกณฑ์ ดังนี้
- ภาคทฤษฎี ร้อยละ ๕๐
- ภาคปฏิบตั ิ ร้อยละ ๕๐
ขั้นที่ ๑ อบรมทฤษฎี ระยะเวลา ๓ สัปดาห์แรก ที่จงั หวัดสุรินทร์
ขั้นที่ ๒ ฝึ กภาคปฏิบตั ิ ระยะเวลา ๑ เดือน
ฝึ กปฏิบตั ิงานจริ ง ในจังหวัดต้นสังกัดในการดาเนินงาน ทั้งที่ สสจ. รพช. รพสต. และชุมชน
ขั้นที่ ๓ สรุ ปผลการฝึ กปฏิบตั ิ (ประเมินผล TOHA) ๑ สัปดาห์ ระยะเวลา
๑ สัปดาห์ ที่จงั หวัดสุรินทร์
- แนวทางและการฝึ กอบรม ใช้วิทยากรจาก ๔ จังหวัด ในเขต ๑๔
คือ นครราชสี มา, ชัยภูมิ, บุรีรัมย์ และสุรินทร์ (Node ทันตสาธารณสุข ตามยุทธศาสตร์ทนั ตสาธารณสุข
เขต ๑๔)
หลักสู ตรการอบรม
แบ่งเป็ น 3 หมวด
การส่ งเสริ มและป้ องกันโรคในช่องปาก
ทันตสุ ขศึกษา
ทันตกรรมชุมชน
หลักสู ตรการอบรม
หมวด การส่ งเสริ มและป้ องกันโรคในช่องปาก
 หน่วยการเรี ยนรู ้ที่ ๑ ความรู ้ทวั่ ไปด้านทันตสุ ขภาพ
 หน่วยการเรี ยนรู ้ที่ ๒ การควบคุมและป้ องกันโรคในช่องปาก
 หน่วยการเรี ยนรู ้ที่ ๓ งานเฝ้ าระวังด้านทันตสุ ขภาพในแต่ละกลุ่มวัย
หลักสู ตรการอบรม
หมวด ทันตสุขศึกษา
ประกอบด้ วย ๔ หน่ วยการเรียนรู้คือ
หน่วยการเรี ยนรู้ที่ ๑ พฤติกรรมด้านทันตสุ ขภาพ
หน่วยการเรี ยนรู้ที่ ๒ กลยุทธ์การสื่ อสารและการให้ทนั ตสุ ขศึกษา
หน่วยการเรี ยนรู้ที่ ๓ การวางแผนและการประเมินผล
หน่วยการเรี ยนรู้ที่ ๔ เทคโนโลยีและสื่ อทันตสุ ขศึกษา
หลักสู ตรการอบรม
หมวด ทันตกรรมชุมชน
ฝึ กปฏิบตั ิในพื้นที่ตนเอง เก็บข้อมูลนาเสนอแก่อาจารย์พี่เลี้ยง ทารายงาน และนาเสนอผลงานเป็ นการสอบ
ภาคปฏิบตั ิ ประกอบด้วย ๕ หน่วยการเรี ยนรู้คือ
- หน่วยการเรี ยนรู้ที่ ๑ ระบบงานทันตสาธารณสุ ขในโรงพยาบาลส่ งเสริ มสุ ขภาพตาบล
- หน่วยการเรี ยนรู้ที่ ๒ การตรวจสุ ขภาพช่องปาก
- หน่วยการเรี ยนรู้ที่ ๓ การสารวจพฤติกรรมทันตสุ ขภาพ
- หน่วยการเรี ยนรู้ที่ ๔ การให้ทนั ตสุ ขศึกษา
- หน่วยการเรี ยนรู้ที่ ๕ การวางแผนและการประเมินผลการดาเนินงานทัน
ความครอบคลุมบุคลากรทันตสาธารณสุ ขชัยภูมิใน รพสต
 ปี
2555
 จานวนทันตาภิบาล ใน รพสต. 40 แห่ ง
 จานวน TOHA 28 แห่ ง 12 อาเภอ
ความครอบคลุมงานทันตสาธารณสุ ขจังหวัดชัยภูมิ
จานวนTOHA ชัยภูมิ 28 แห่ ง
1บ้านเขว้า
2จัตุรัส
3แก้งคร้อ
4ภูเขียว
5บาเหน็จณรงค์
6เมืองชัยภูมิ
7เทศบาลเมืองชัยภูมิ
8เกษตรสมบูรณ์
9เทพสถิต
10บ้านแท่น
11คอนสาร
12หนองบัวแดง
13ภักดีชุมพล
3
1
3
2
2
3
3
2
2
1
2
3
1
บทบาทหน้ าที่
1.สร้างเสริ มทันตสุ ขภาพในกลุ่มเป้ าหมาย(ตามเกณฑ์กิจกรรมของ
รพสต.ที่ไม่มีทนั ตาภิบาล)
กลุ่มเป้ าหมายหลัก
หญิงมีครรภ์ เด็ก 0-5 ปี เด็กประถมศึกษา
กลุ่มเป้ าหมายรอง
ผูพ้ ิการ ผูป้ ่ วยเรื้ อรัง ผูส้ ู งอายุ
2.จัดเก็บข้อมูลและประเมินผลงานสร้างเสริ มทันตสุ ขภาพ ได้แก่
งานเฝ้ าระวัง ตรวจฟัน ให้ความรู ้ แปรงฟัน
สารวจปัจจัยเสี่ ยงในกลุ่มเป้ าหมาย
ประสานงานเครื อข่ายส่ งเสริ มทันตสุ ขภาพในพื้นที่
ร่ วมผลิตสื่ อ รณรงค์ทนั ตสาธารณสุ ขในพื้นที่
3.เป็ นผูช้ ่วยงานรักษาทันตกรรมในกรณี ที่มีทนั ตาภิบาลประจา
รายงานผลการปฏิบัติงานทันตสาธารณสุ ข
สาหรับบุคลากรส่ งเสริมทันตสุ ขภาพระดับตาบล (TOHA
 หญิงมีครรภ์ได้รับการตรวจสุ ขภาพช่องปาก
 เด็ก 0 – 2 ปี
ได้รับการทาพลูออไรด์วานิช
 ผูป
้ กครองเด็กอายุ 9 – 12 เดือน ได้รับการสาธิตการแปรงฟัน
 เด็กอายุ 0 – 5 ปี ได้รับบริ การทันตกรรม (การเข้าถึงบริ การสุ ขภาพช่องปาก)
 เด็ก ป.1 ได้รับการตรวจฟั น
 เด็ก 6-14 ปี ได้ได้รับบริ การทันตกรรม (การเข้าถึงบริ การสุ ขภาพช่องปาก)
ผลงานให้บริ การ ใน 21 files
รายงานผลการปฏิบัติงานทันตสาธารณสุ ข
สาหรับบุคลากรส่ งเสริมทันตสุ ขภาพระดับตาบล (TOHA











จานวนศูนย์พฒั นาเด็กเล็กที่มีกิจกรรมแปรงฟันด้วยยาสี ฟันผลมฟลูออไรด์หลังอาหาร
กลางวัน
จานวนศูนย์พฒั นาเด็กเล็กที่มีการจัดผลไม้เป็ นอาหารว่างให้เด็ก 3-5 วัน /สัปดาห์
จานวนโรงเรี ยนประถมศึกษาที่จดั กิจกรรมแปรงฟันหลังอาหารกลางวันทุกวัน โดย
ครอบคลุมเด็กทุกชั้นเรี ยน
จานวนโรงเรี ยนที่จดั กิจกรรมส่ งเสริ มสุ ขภาพช่องปากในชั้นอนุบาล
จานวนโรงเรี ยนปลอดน้ าอัดลม
จานวนโรงเรี ยนประถมศึกษาที่มีกิจกรรมตรวจสุ ขภาพช่องปากโดย ครู /จนท. ปี ละ 2 ครั้ง
จานวนโรงเรี ยนประถมศึกษาที่ไม่มีการขายขนม / เครื่ องดื่ม เสี่ ยงต่อฟันผุ
จานวนโรงเรี ยนประถมศึกษาที่มีบริ การน้ าดื่มสะอาด
จานวนโรงเรี ยนประถมศึกษาที่มีการจัดการเรี ยนรู ้ทนั ตสุ ขภาพตามหลักสู ตร
ผูส้ ู งอายุที่มีการแปรงฟันก่อนนอนทุกวันด้วยตนเองหรื อผูด้ ูแล
จานวนชมรมผูส้ ู งอายุที่จดั กิจกรรมส่ งเสริ ม ดูแลสุ ขภาพช่องปากตนเองของสมาชิก
การสารวจสภาวะทันตสุ ขภาพ
ร้อยละเด็กอายุ 3 ปี มีฟันผุ
ร้อยละเด็กอายุ 5 ปี มีฟันผุ
ร้อยละเด็กอายุ 12 ปี (ป.6) มีฟันผุ
เด็กอายุ 12 ปี (ป.6) ไม่มีเหงือกเลือดออก
ตารางการปฏิบัติงาน
1.ให้ครอบคลุมงานเชิงรุ กและเชิงรับในหน่วยบริ การ
2. ปี แรก ให้ทาแผนอยูป่ ฏิบตั ิงานใน รพ. อย่างน้อย 1 วัน/สัปดาห์
3. CUP ส่ งตารางการปฏิบตั ิงานให้จงั หวัด
วัน
จันทร์
อังคาร
พุธ
พฤหัส
ศุกร์
เช้ า
บ่ าย
การควบคุมกากับประเมินผล
 ระดับรพสต.
 ระดับCUP
รายงานใน 21 Files
 ระดับจังหวัด
 ระดับเขต
รายงานใน
www.identdata.com
แบบ ประเมินผล ทุก 6 เดือน
ระดับ CUP,จังหวัด
การสนับสนุน
งบประมาณ
1.ค่าจัดฝึ กอบรมระดับเขต คนละ 15,000 บาท
(สปสช เขต9)
2.สนันสนุนค่าทาสื่ อและกิจกรรมรณรงค์ทนั ตสาธารณสุ ข
ในพื้นที่
รพสต.ขนาดใหญ่ 12,0000 บาท
รพสต.ทัว่ ไป 10000 บาท
(กองทุนทันตกรรมระดับจังหวัด)
3.ค่าจ้างรายเดือน /วัสดุทนั ตกรรม
(กองทุนทันตกรรมระดับอาเภอ)
การเริ่มต้ นจัดระบบงาน
สร้ างเสริมทันตสุ ขภาพในกลุ่มเป้าหมาย
ให้ สารวจและจัดทาฐานข้ อมูลกลุ่มเป้าหมายในพืน้ ทีด่ ังนี้
1.1 รวบรวมข้ อมูลพืน้ ฐานในพืน้ ทีฝ่ ึ กปฏิบัติ
1.2 รวบรวมข้ อมูลหญิงมีครรภ์ ในความรับผิดชอบของสถานบริการ
1.3 รวบรวมข้ อมูลเด็ก 0-2 ปี ทีม่ ารับบริการทีค่ ลินิกเด็กดีในสถานบริการ
1.4 รวบรวมข้ อมูลเด็ก 3-5 ปี ในศูนย์ พฒ
ั นาเด็กเล็ก
1.5 รวบรวมข้ อมูลเด็ก 6-12 ปี ในโรงเรียนประถมศึกษา
1.6 รวบรวมข้ อมูลผู้สูงอายุ 60 ปี ขึน้ ไปในชมรมผู้สูงอายุ/ในชุ มชน
การจัดทาฐานข้ อมูล
สร้ างเสริมทันตสุ ขภาพในกลุ่มเป้าหมาย
การจัดทาฐานข้ อมูลทันตสุ ขภาพเด็ก 0-5 ปี
Dentalmis,dentalmis2
192.168.2.200/dentalit
การจัดทาฐานข้ อมูลทันตสุ ขภาพเด็กประถมศึกษา
ในระบบ เฝ้ าระวังทันตสุ ขภาพในโรงเรียน
การจัดทาฐานข้ อมูล
สร้ างเสริมทันตสุ ขภาพในกลุ่ม 0-5 ปี
ในการจัดทาฐานข้อมูลทันตสุ ขภาพเด็ก 0-5 ปี
มุ่งเน้นการดูแลสุ ขภาพช่องปากเชิงรุ กในการ
แก้ไขปั ญหาโรคฟันผุในพื้นที่
ฐานข้ อมูลเด็ก 0-2 ปี
กลุ่มเป้ าหมาย คือเด็กที่มารับบริ การ ฉีดวัคซีนตามกาหนด ช่วง
อายุ
ระบบฐานข้อมูลที่จดั เก็บต้องสามารถติดตาม พฤติกรรมสภาวะ
ทันตสุขภาพรายบุคคลได้ ประกอบด้วย
1.การเฝ้ าระวังพฤติกรรม
พฤติกรรมที่ตอ้ งเฝ้ าระวังคือ
1.1 พฤติกรรมที่เกี่ยวกับการบริ โภคอาหารที่มีน้ าตาล และการใช้
ขวดนม
1.2 พฤติกรรมการดูแลของผูป้ กครอง ได้แก่ การดูแลการแปรงฟัน
ก่อนนอน ,ความถี่ในการแปรงฟันใน 1 วัน และการใช้ยาสี ฟัน
ผสมฟลูออไรด์
2.การเฝ้ าระวังโรค ได้แก่ การตรวจคราบฟันและ ฟันผุ
3.การเข้าถึงบริ การทันตสุขภาพ
หมายถึงบริ การ 4 รายการคือ การตรวจช่องปาก,การสอน
ผูป้ กครองแปรงฟัน,การได้รับการทาฟลูออไรด์และการได้รับการ
รักษาทางทันตกรรม