Cellular Manufacturing

Download Report

Transcript Cellular Manufacturing

Cellular Manufacturing
การผลิตแบบเซลลูล่าร์
คืออะไร?
ข้ อบกพร่ อง (Defect)
การรอคอย (Waiting)
กระบวนการผลิต (Processing)
การผลิตมากเกินไป (Overproduction)
8
Waste
การเคลือ่ นไหว (Movement)
สิ นค้ าคงคลัง (Inventory)
การขนส่ ง (Transport)
ความคิดสร้ างสรรค์ ของพนักงานที่ไม่ ได้ ถูกนามาใช้ (Unused Employee Creativity)
ความสาคัญของการจัดเรียงคนและอุปกรณ์ในเซลล์การผลิต
การไหลแบบ
ทีละชิ้น
การผลิตแบบ
มีความ
หลากหลายสูง
เป้าหมาย
ของการผลิต
แบบลีน
การป้อนชิ้นงานใส่เครื่องจักรโดยมีช้ ินงานระหว่างทาเพียงหน่่งชิ้น
การผลิตแบบเป็ นชุดใหญ่ๆ ก่อให้เกิดความสูญเปล่า
การผลิตที่มีความหลากหลายสูง
การผลิตแบบเซลลูล่าร์ช่วยปรับปรุงความสามารถในการแข่งขัน
การทางานในเซลล์การผลิต
การปฏิบัตกิ ารในเซลล์ รูปตัว U
การเปลี่ยนมาเป็ นพนักงานควบคุมเครือ่ งจักรหลายๆ
เครื่องที่มีทกั ษะความรูค้ วามสามารถที่หลากหลาย
การเปลี่ยนมาเป็ นพนักงานควบคุมเครื่องจักรหลายๆ
เครื่องที่มีทกั ษะความรูค้ วามสามารถที่หลากหลาย
การฝึ กอบรมข้ามสายงานเพื่อให้เกิด
ความยืดหยุน่ สูงสุด
การเคลื่อนไปพร้อมกับงาน
 เพราะเป้ าหมายคือเพื่อดาเนิ นการผลิตชิ้นงานเพียงหนึ่ งชิ้นหรื อ
2-3 ชิ้น ณ ช่วงเวลาหนึ่ง
 ช่วยประหยัดเนื้ อที่การปฏิบตั ิงาน
 ช่วยลดระยะทางในการเดินเมื่อจัดวางเครื่ องจักรไว้ติดๆ กัน
 เนื้ อที่เหลือสาหรับ WIP ลดน้อยลง
 เครื่ องจักรสามารถติดตั้งได้อย่างรวดเร็ ว
 เคลื่อนที่ได้สะดวก
การใช้เครือ่ งจักรที่มีความยืดหยุน่ และมีขนาดเล็ก
การใช้ เทคนิคการควบคุมตัวเองโดยอัตโนมัติ (Jidoka)
เพือ่ ขจัดการคอยเฝ้ าดูเครื่องจักร
องค์ ประกอบเบือ้ งต้ นในการออกแบบเซลล์
จะอธิ บายถึงช่วงพื้นฐาน 3 ช่วงที่เกี่ยวข้องกับการ
เปลี่ยนแปลงพื้นที่ทางานไปเป็ นเซลล์การผลิตคือ :
1. การทาความเข้าใจในสภาวะปัจจุบนั
2. การเปลี่ยนแปลงไปเป็ นการวางผังตาม “กระบวนการ
ผลิต” (Process-based Layout)
3. การปรับปรุ งการผลิตอย่างต่อเนื่อง
ช่ วงที่ 1 : การทาความเข้ าใจในสภาวะปัจจุบัน
- Process ใดบ้ างทีจ่ ะต้ องเปลีย่ นแปลงเปลีย่ นแปลง
1. เก็บรวบรวมข้ อมูลเกีย่ วกับผลิตภัณฑ์ และการผลิต
-ส่ วนผสมผลิตภัณฑ์ (Product Mix)
แผนภูมิการวิเคราะห์แบบ PQ ที่แสดงให้เห็นอัตราส่ วน PQ
20:80 (ความหลากหลายต่า)
แผนภูมิการวิเคราะห์แบบ PQ ที่แสดงให้เห็นอัตราส่ วน PQ
40:60 (ความหลากหลายต่า)
- ทรัพยากรที่ใช้ในการผลิต
- จานวนกะต่อวัน
- จานวนชัว่ โมงกะต่อเวลาหยุดพัก
- จานวนวันทางานต่อเดือน
- อัตราส่วนพนักงานต่อการทางาน
- ปริมาณความต้องการผลิตภัณฑ์ประจาเดือนของลูกค้า
- วิธีการมอบหมายงาน
- การหมุนเวียนของสินค้าคงคลังของสินค้าสาเร็จรูปต่อ
เดือน
2. จัดทาเอกสารที่เกี่ยวกับแผนผังการไหลในปั จจุบนั
-การวิเคราะห์เส้นทางของการบวนการ
(Process Route Analysis)
จะช่วยให้สามารถระบุกระบวนการ
ผลิตที่คล้ายคลึงกันระหว่างผลิตภัณฑ์
ต่างๆได้ Product Family
การวิเคราะห์เส้นทางของกระบวนการ
-การเขียนผังกระบวนการ (Process Map)
ทาให้ เห็นถึง
- Equipment Layout
- Standard Work Sheet
สิ่ งที่ต้องบันทึกเพิม่
- ระยะทางที่ผลิตภัณฑ์ เดินทางไปในช่ วงที่ดาเนินการผลิต
- ปริมาณในระหว่ างกระบวนการผลิต (WIP) ณ เวลาหนึ่งที่
กาหนด
- จานวนพนักงานที่ต้องใช้ ในการดาเนินกระบวนการผลิต
ในปัจจุบัน
แผ่นแสดงงานที่เป็ นมาตรฐาน
3. จับเวลาในกระบวนการผลิต
Cycle Time หามาแล้ว
นามาเฉลี่ยของในแต่
ละกระบวนการ
แผ่นจับเวลา
หลังจากที่ไปจับเวลาแต่ละจุดปฏิบตั ิการมาแล้ว ทีมงานต้องมาคานวณหา
เวลานาของกรบวนการตัวอย่าง สาหรับกระบวนการโดยรวมทั้งหมด เวลานาของ
กระบวนการจะประกอบด้วยรอบเวลาในการผลิตของแต่ละจุดปฏิบตั ิการ พร้อม
ด้วยเวลาที่ตอ้ งการใช้ในการขนส่ งชิ้นงา WIP และเครื่ องมือระหว่างจุดปฏิบตั ิการ
ต่างๆ
อัตราส่วนการเพิ่มคุณค่า
4. คานวณกาลังการผลิตของกระบวนการและค่ า Takt Time
ตารางกาลังการผลิตของกระบวนการ
Takt Time
5. สร้ างแผ่ นงานเชื่อมโยงการทางานที่เป็ นมาตรฐาน (Standard Work
Combination Sheet)
แผ่นงานเชื่อมโยงการทางานที่เป็ นมาตรฐาน
หัวข้อวิเคราะห์หลัก
ช่ วงที่ 2 : การเปลีย่ นแปลงไปเป็ นการวางผังตาม “กระบวนการผลิต”
1. ประเมินทางเลือก
องค์ประกอบ 4 อย่างของการผลิต
2. ออกแบบผังใหม่ที่อาจเป็ นไปได้
- วางผังเครื่ องจักรตามลาดับ
- วางติดกันโดยให้มีที่วา่ งสาหรับปริ มาณ WIP
ที่นอ้ ยที่สุด
- วางเครื่ องจักรเป็ นรู ปตัว U,C โดยให้เครื่ อง
แรกและสุ ดท้ายอยูใ่ กล้กนั ที่สุด
- ทาการไหลให้ทวนเข็มนาฬิกา (คนส่ วนใหญ่
ถนัดขวา)
3. เคลื่อนย้ายเครื่องจักร
การเคลื่อนย้ายเครื่องจักรเพื่อสร้างเซลล์
4. จัดทาเอกสารวิธีการปฏิบตั งิ านแบบใหม่
Standard
Operating
Procedure :
SOP
แผนแสดงงานที่เป็ นมาตรฐานที่แก้ไขแล้ว
5. ทดสอบเพือ่ รับรองผลการปรับปรุง
ทันตาม
Takt Time หรือไม่
ช่ วงที่ 3 : การปรับปรุงกระบวนการผลิตอย่ างต่ อเนื่อง
การเปลี่ยนผังให้เป็ นเซลล์ใหม่เป็ นเพียงการเริ่มต้น
1. ทาให้รอบเวลาในการผลิตสั้นลง
สามารถมองเห็นคอขวดที่เกิดข่้นในเซลล์ได้อย่างชัดเจน
2. ทาให้ เวลาทีใ่ ช้ ในการเปลีย่ นเครื่องจักรลดลง
ขั้นตอนการทา SMED
3. ขจัดข้ อบกพร่ องของผลิตภัณฑ์
องค์ประกอบ 4 อย่างของการทา ZQC
ตัวอย่างของ Poka-Yoke
4. ลดการเกิดเหตุขัดข้ องของอุปกรณ์
นิยามของคาว่า TPM
เครื่องมือในการทางานเป็ นทีม
สาหรับการผลิตแบบเซลลูลาร์
1. การทาให้สภาพที่ทางานเป็ นมาตรฐานด้วยระบบ 5ส
ระบบ 5 ส
2. การใช้ เทคนิคการจัดการด้ วยสายตาเพือ่ ควบคุมการผลิตและความปลอดภัย
กระดานอันดง
3. การดาเนินกิจกรรมบารุงรักษาด้ วยตนเอง
การบารุงรักษาด้วยตนเองเกี่ยวข้องกับทุกๆคน
4. การใช้ กระดานกิจกรรม
กระดานกิจกรรม