Transcript QuickChange

LOGO
การปรั บเปลีย่ นเครื่ องจักรอย่ างรวดเร็ ว
จุดประสงค์
SMED : Single Minute Exchange of Die
เป็ นทฤษฎีและเทคนิคที่ช่วยให้ สามารถดาเนินการติดตั้งและปรับ
เครื่องจักรได้ ภายในเวลาอันสั้ น
เป้าหมาย : เพือ่ ทาให้ เวลาทีใ่ ช้ ในการปรับเปลีย่ น เครื่องจักรลดลง
LOGO
ระบบ SMED
พืน้ ฐานของระบบ SMED มี2ประการ
1. การปฏิบัติการติดตั้งเครื่องจักรสามารถแบ่ งออกเป็ น2ประเภท คือ
การติดตั้งเครื่องภายใน (internal setup) : ต้ องทาในขณะที่
เครื่องจักรหยุดทางาน
การติดตั้งเครื่องภายนอก (external setup) : สามารถทาได้ ใน
ขณะทีเ่ ครื่องจักรทางานอยู่
2. เวลาทีใ่ ช้ ในการปรับแต่ งเครื่องจักร (changeover time)
*****แปลงการติดตั้งเครื่องภายในให้ เป็ นการตั้งเครื่องภายนอก*****
LOGO
ทาไม SMED จึงสาคัญ
หลากหลาย
ความต้ องการ
ในปัจจุบัน
ของลูกค้ า
ตามปริมาณที่ต้องการ
ได้ ผลิตภัณฑ์ คุณภาพสู ง
ราคาไม่ แพง
มีการส่ งมอบที่รวดเร็ว
SMED ผลิตในปริมาณทีน่ ้ อยลง หรือผลิตเป็ นlotsทีเ่ ล็กลง
LOGO
ปัญหาทีม่ าพร้ อมกับการผลิตชุดใหญ่
1
ความสู ญเสี ยทีเ่ กิดจากสิ นค้ าคงคลัง
2
ความล่าช้ า
3
คุณภาพลดลง
LOGO
ผลประโยชน์ ที่ได้ รับจาก SMED
ความยืดหยุ่น
การส่ งมอบรวดเร็วขึน
้
คุณภาพดีขน
ึ้
ผลิตภาพสู งขึน
้
การติดตั้งเครื่องจักรทีง่ ่ ายขึน
้
สิ นค้ าคงคลังทีน
่ ้ อยลง
LOGO
การปฏิบัตกิ ารติดตั้งเครื่องจักร
สามารถแบ่งเป็ น2แบบ
การติดตั้งเครื่ องภายใน (internal setup)
การติดตั้งเครื่ องจักรแบบที่สามารถทาได้กต็ ่อเมื่อเครื่ องจักรต้อง
หยุดทางานเพียงเท่านั้น
 การตั้งเครื่ องภายนอก (external setup)
การติดตัง้ เครือ
่ งจักรแบบทีส
่ ามารถ
ทาได้ในขณะที่เครื่ องจักรยังคงทางานอยู่
LOGO
ขั้นตอนพืน้ ฐานในการปฏิบัติการติดตั้งเครื่องจักร
ขั้นตอนพืน้ ฐานในการติดตั้งเครื่องจักรและเวลาที่ต้องหยุดเดินเครือ่ งจักรก่ อนทีจ่ ะมี
การปรับปรุ งด้ วยSMED
LOGO
การจัดเตรียม การจัดให้ เรียบร้ อยหลังกระบวนการ การตรวจเช็ควัตถุดบิ และเครื่องมือ
“ชิ้นส่ วนและเครื่องมือทุกชิ้นอยู่ในทีท่ พี่ วกมันควรอยู่ และพวกมันจะทา
หน้ าทีไ่ ด้ โดยไม่ มีปัญหา”
LOGO
การใส่ และการถอดใบมีด เครื่องมือ และชิ้นส่ วน
“ประกอบด้ วยการถอดชิ้นส่ วนและเครื่องมือออกหลังจากที่ผลิตเสร็จหนึ่ง
ชุ ด และการใส่ ชิ้นส่ วนและเครื่องมือสาหรับการผลิตชุ ดต่ อไปเข้ าไป”
LOGO
การวัด การตั้งค่ า และการสอบเทียบ
“การวัดและการสอบเทียบ ต้ องทาเพือ่ ให้ สามารถดาเนินการผลิตได้ เช่ น
การตั้งศูนย์ การกาหนดขนาด การวัดอุณหภูมิหรือความดัน”
LOGO
การทดลองเดินเครื่องและการปรับแต่ ง
“การปรับแต่ งเครื่องจักรอย่ างถูกต้ องถือเป็ นงานทีย่ ากทีส่ ุ ดงานหนึ่งในการปฏิบัติการ
ติดตั้งเครื่องจักร สาหรับการติดตั้งแบบเดิมจะกินเวลาถึงครึ่งหนึ่งของเวลา
ทั้งหมดที่ใช้ ในการติดตั้งเครื่องจักร”
LOGO
การวิเคราะห์ การปฏิบัตกิ ารติดตั้งเครื่องจักร
ขั้นที่1
บันทึกวิดโี อการปฏิบัติการติดตั้ง
เครื่องจักรทุกขั้นตอน
ขั้นที่2
เปิ ดวิดโี อให้ พนักงานติดตั้งเครื่ องจักรและ
คนอืน่ ๆทีเ่ กีย่ วข้ องดู
ขั้นที่3
ศึกษาวิดโี ออย่างละเอียด
LOGO
3ขั้นในการทา SMED
1
2
3
แยกแยะระหว่ าง
การติดตั้งเครื่อง
ภายในและการตั้ง
เครื่องภายนอก
แปลงการตั้งเครื่อง
ภายในให้ เป็ นการ
ตั้งเครื่องภายนอก
ปรับปรุ งการติดตั้ง
เครื่องจักรให้ มี
ประสิ ทธิภาพ
มากขึน้
LOGO
ขั้นที1
่ แยกแยะระหว่ างการติดตั้งเครื่องภายในและการตั้งเครื่องภายนอก
“การแยกแยะระหว่ างการตั้งเครื่องภายในและการตั้งเครื่องภายนอกด้ วย
การทาสิ่ งทีเ่ ห็นได้ อย่ างชัดเจน เช่ น การจัดเตรียมและการขนย้ ายใน
ขณะทีเ่ ครื่องจักรกาลังทางานอยู่”
LOGO
ขั้นที2
่ แปลงการตั้งเครื่องภายในให้ เป็ นการตั้งเครื่องภายนอก
เกีย่ วข้ องกับกิจกรรมสาคัญ2อย่ างคือ
พิจารณาการปฏิบัตกิ ารใหม่ อกี ครั้ง
หาทางแปลงขั้นตอนเหล่านีใ้ ห้ เป็ นการตั้งเครื่องภายนอก
LOGO
ขั้นที3
่ ปรับปรุงการติดตั้งเครื่องจักรให้ มีประสิ ทธิภาพ
“เพือ่ ลดเวลาที่ใช้ ในการติดตั้งเครื่องจักรลงไปอีก”
LOGO
รายละเอียดขั้นที่1
ขั้นที1
่ แยกแยะระหว่ างการติดตั้งเครื่องภายในและการตั้งเครื่ องภายนอก
จะต้องแยกงานที่สามารถดาเนินการในขณะที่เครื่ องจักรเดินเครื่ องอยู่
ออกจากงานที่ตอ้ งทาในขณะที่หยุดเครื่ อง
เช่น การเตรี ยมคนที่เกี่ยวข้อง การจัดเตรี ยมชิ้นส่ วนและเครื่ องมือ การ
แก้ไข่ซ่อมแซม และการนาชิ้นส่ วนและเครื่ องมือไปไว้ใกล้ๆกับเครื่ องจักร
งานเหล่านี้มกั ถูกทาหลังจากหยุดเครื่ องจักรแล้ว แทนที่จะทาตั้งแต่
เครื่ องจักรยังคงผลิตงานชุดก่อนหน้าอยู่
LOGO
รายละเอียดขั้นที่1
การใช้ รายการตรวจสอบ
การตรวจสอบการทางาน
เทคนิคในทางปฏิบตั ิ
3อย่าง
การปรับปรุงการขนย้ ายแม่ พมิ พ์
และชิ้นส่ วนอืน่ ๆ
LOGO
รายการตรวจสอบ
รายการตรวจสอบ (checklist) จะมีรายชื่อสิ่ งของทุกอย่ างที่ต้องใช้ ใน
การติดตั้งและการเดินเครื่องครั้งต่ อไป
LOGO
รายการตรวจสอบ
ในchecklistประกอบด้ วย
 เครื่องมือ เอกสารแสดงข้ อกาหนด และพนักงานทีต
่ ้ องการใช้
 ค่ าทีเ่ หมาะสมสาหรั บสภาวะปฏิบัติงาน เช่ น อุณหภูมิ ความดัน
กระแสไฟฟ้ า และอัตราการป้อน
 การวัดและขนาดทีถ
่ ูกต้ องสาหรับการปฏิบัตกิ ารแต่ ละอย่ าง
LOGO
รายการตรวจสอบ
LOGO
การตรวจสอบการทางาน
“การตรวจสอบการทางานสามารถช่ วยประหยัดเวลาและป้ องกันปัญหาไม่ ให้ เกิดขึ้น”
LOGO
การปรับปรุงการขนย้ ายชิ้นส่ วนและอุปกรณ์
ควรมีการขนย้ ายชิ้นส่ วนตัวใหม่ และเครื่องมือไปยังเครื่องจักร
ก่อนทีจ่ ะมีกหี่ ยุดเครื่องเพือ่ ทาการปรับเปลีย่ น
LOGO
ตัวอย่ าง
การใช้ SMEDกับงานขนย้ ายแม่ พมิ พ์เป็ นการตั้งเครื่องภายนอก
ขั้นตอนการปฏิบัติก่อนการปรั บปรุ ง
LOGO
ตัวอย่ าง

ขั้นตอนการปฏิบตั ิหลังปรับปรุ ง
LOGO
ตัวอย่ าง
ประเด็นสาคัญของจุดนีค้ อื
การทาให้ เวลาทีเ่ ครื่องจักรหยุดทางานสั้ นลง
LOGO
ขั้นที่ 2 : การแปลงการตั้งเครื่องภายในให้ เป็ นการตั้งเครื่องภายนอก
ในขั้นทีส่ องนีจ้ ะมีการทางานอยู่ 2 ขั้นคือ
1. พิจารณาหน้ าทีแ่ ละจุดประสงค์ทแี่ ท้จริงของการปฏิบัตกิ ารแต่ละ
อย่ างทีอ่ ยู่ในส่ วนการตั้งเครื่องภายในแบบปัจจุบัน
2. หาทางแปลงขั้นตอนต่ างๆทีอ่ ยู่ในส่ วนของการตั้งเครื่องภายในให้
เป็ นการตั้งเครื่องภายนอก
LOGO
เทคนิคในทางปฏิบัติ
เทคนิคในทางปฏิบตั ิมีอยู่ 3 อย่าง คือ
1. การจัดเตรี ยมสภาวะการปฏิบตั ิงานไว้ล่วงหน้า
2. การทาหน้าที่การทางานให้เป็ นมาตรฐาน
3. การใช้จิ๊กกลาง
LOGO
การจัดเตรียมสภาวะการปฏิบัติงานล่ วงหน้ า
LOGO
การทาหน้ าทีก่ ารทางานให้ เป็ นมาตรฐาน
วิธีการทาหน้าที่การทางานหรื อฟังก์ชนั่ ให้เป็ นมาตรฐานจะต้องมี
การดาเนินการ 2 ขั้นตอน ดังนี้
1 พิจารณาดูแต่ ละหน้ าที่
การทางานในกระบวนการ
ติดตั้งเครื่องจักรย่ างละเอียด
และตัดสินใจว่าหน้ าที่การ
ทางานใดทาให้ เป็ นมาตร
ฐานได้
2พิจารณาหน้าที่การ
ทางานอีกครั้งและดู
ว่าหน้าที่การทางาน
ใดบ้างที่สามารถทา
ให้ประสิ ทธิภาพ
เพิ่มขึ้นได้
LOGO
การทาหน้ าที่การทางานให้ เป็ นมาตรฐาน
LOGO
การใช้ จกิ๊ กลาง
จิ๊กกลาง คือ แผ่นหรื อกรอบที่มีขนาดมาตรฐานซึ่ งสามารถถอดออกจากเครื่ องจักร
ได้ ซึ่งเราสามรถใช้จิ๊กกลางเพื่อเปลี่ยนงานที่เป็ นการตั้งเครื่ องภายในให้เป็ นงานที่เป็ นการตั้ง
เครื่ องภายนอกได้
LOGO
ขั้นที่ 3 : การปรับปรุ งการติดตั้งเครื่องจักรในทุกๆแง่ มุมให้ มปี ระสิ ทธิภาพ
เทคนิคในทางปฏิบัตสิ าหรับการปรับปรุงในขั้นที่ 3 สามารถ
แบ่ งออกเป็ น
การปรับปรุงการตั้งเครื่องภายนอก
การปรับปรุงการตั้งเครื่องภายใน
LOGO
การปรับปรุงการตั้งเครื่องภายนอก
LOGO
การปรับปรุงการตั้งเครื่องภายใน
เมือ่ เราพูดถึงการปรับปรุ งการดาเนินการตั้งเครื่องภายใน ก็จะรวมไปถึงการ
 ปฏิบัตกิ ารแบบขนาน
 การใช้ ตัวจับแม่พมิ พ์ตามหน้ าที่งาน
 การกาจัดการปรับแต่ ง
 การทาให้ เป็ นกลไก
LOGO
การปฏิบัตกิ ารแบบขนาน
LOGO
การใช้ ปากกาจับแม่ พมิ พ์ตามหน้ าที่งาน
 ปากกาจับแม่พมิ พ์ตามหน้ าที่งาน (Function Clamp) เป็ นอุปกรณ์ จับยึดซึ่งยึด
วัตถุให้ อยู่กบั ทีโ่ ดยใช้ แรงน้ อยทีส่ ุ ด โดยมันอาจจะใช้ สลักเกลียวทีถ่ ูกดัดแปลงหรือ
อาจเป็ นปากกาจับยึดชนิดอืน่ ที่แตกต่ างออกไปแต่ สามารถ ทาให้ แน่ นหรือคลาย
ออกได้ อย่างรวดเร็ว
 ระบบจับแม่พมิ พ์ตามหน้ าทีง่ านมีท้งั วิธีการแบบหมุน 1 รอบ , แบบเคลือ่ นไหว
2 ครั้ง และแบบจับยึดระหว่ างกัน
LOGO
วิธีการแบบหมุน 1 รอบ
LOGO
วิธีการเคลือ่ นไหวแบบ 1 ครั้ง
LOGO
วิธีการแบบจับยึดระหว่ างกัน
LOGO
การกาจัดการปรับแต่ ง
มีเทคนิคในทางปฏิบัตสิ าหรับการกาจัดการปรับแต่ งอยู่ 3 อย่ าง คือ
1. การใช้ สเกลแบบตัวเลข
2. การทาให้ มองเห็นเส้ นกึง่ กลางสมมติ
3. การใช้ ระบบตัวคูณร่ วมน้ อย
LOGO
การใช้ สเกลแบบตัวเลข
LOGO
เส้ นกึง่ กลางและระนาบอ้ างอิงที่มองเห็นได้
LOGO
ระบบตัวคูณร่ วมน้ อย
LOGO
LOGO