Development of Wire Straightener Machine for Increasing Efficiency (present pre-project)
Download
Report
Transcript Development of Wire Straightener Machine for Increasing Efficiency (present pre-project)
Semester 1/2015
Department of
Industrial Engineering
Faculty of Engineering
Khon Kaen University
194498 การเตรียมโครงการวิศวกรรมอุตสาหการ
นายจักรพงศ์ ชาติสิทธิพฒ
ั น์ 553040305-5
บทที่ 1บทนา
•
•
•
•
•
•
•
1.1 หลักการและเหตุผล
1.2 วัตถุประสงค์
1.3 ขอบเขตการศึกษา
1.4 เครือ่ งมือ อุปกรณ์ทีใ่ ช้
1.5 วิธีการดาเนินงาน
1.6 ผลทีค่ าดว่าจะได้รบั
1.7 ตารางแผนการดาเนินงาน
บทที่ 2 ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง
• 2.1 การวัดประสิทธิผลโดยรวมของเครื่องจักร
• 2.2 ประเภทของเหล็กกล้ า
• 2.3 ระบบเรียกชื่อเหล็กกล้ า
บทที่ 3 การทดสอบเครื่องและการปรับปรุง
•
•
•
•
3.1 การทดสอบการทางานของเครื่อง
3.2 การเก็บข้ อมูลการทดสอบ
3.3 การวิเคราะห์ปัญหาจากการทดสอบเครื่อง
3.4 แนวทางการพัฒนาเครื่อง
3
Globalization
Competition
Cost
4
ลวดที่ใช้ในกระบวนการอบ
ลวดที่เกิดการโค้งงอ
5
ลวดเกิด
การโค้งงอ
ต้องนามา
ดัด
ลวดที่ดดั
ไม่ได้ตอ้ ง
ซื้อใหม่
ต้นทุน
การผลิต
ที่สูงขึ้น
6
ชุดป้อนลวด
ชุดปรับระนาบ
ก่อให้ เกิดการประดิษฐ์
เครื่องดัดลวดร้ อยหู
แหอวนต้ นแบบ
ชุดดึงลวด
ชุดต้นกาลัง
7
เครื่องดัดลวดต้ นแบบนั้นยังไม่ มีการทดสอบการเดิน เครื่อง
จากหลักการและเหตุผลที่ได้ กล่ าวมาจึงทาให้ เกิด แนวทางพั ฒนา
เครื่ องโดยทดสอบการใช้ งานและพัฒนาเครื่องใหม่ เช่ น การปรั บ
ระดับองศาของลูกรีด เพิ่มแรงส่งกาลังและชุ ดขับเคลื่อนพร้ อมกับ
ติดตั้งอุปกรณ์ในด้ านความปลอดภัย เพื่อเป็ นการเพิ่มประสิทธิภาพ
ในการทางาน ส่งผลให้ สถานประกอบการมีผลิตผลที่ดีข้ นึ
8
เพือ่ ออกแบบและพัฒนาเครือ่ งดัดลวด
ร้อยหูแหอวนให้มีประสิทธิภาพการ
ทางานสูงสุด
Objective
เพือ่ ลดจานวนคนงานในการ
ปฏิบตั ิงาน
9
พัฒนาเครือ่ งดัดลวดร้อยหูแหอวน
1.
สิง่ ทีศ่ ึกษา
Scope of study
2.
สถานที่
3.
ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ
คณะวิศวกรรมศาสตร์
มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ระยะเวลา
สิงหาคม 2558-พฤษภาคม 2559
10
เครือ่ งกลึง
เครือ่ งกัด
เครือ่ งมือวัด
ประแจ,ไขควง
ตะไบ
ค้อน
อุปกรณ์
เครื่องมือ/เครื่องจักร
Tool &
Equipment
•
•
•
•
•
•
• เหล็กขนาด/
ประเภทต่างๆ
• โซ่ /สายพาน
• ตลับลูกปื น
• สายไฟ
• เบรกเกอร์
• มอเตอร์
• เฟื อง
11
1.ทดสอบการใช้เครื่องและเก็บข้อมูลเครื่องแบบเดิม
2.วิเคราะห์และประเมินส่วนต่างๆของเครือ่ ง
3.ออกแบบและสังซื้
่ ออุปกรณ์
4.สร้างชิ้ นส่วนต่างๆของเครือ่ งทีต่ อ้ งเปลี่ยนใหม่
5.ประกอบเครือ่ ง
6.ทดสอบเครือ่ งและแก้ไขจุดบกพร่อง
7.สรุปผลการสร้างเครือ่ งจักร
12
สามารถเพิม่ ประสิทธิภาพ
เครื่องดัดลวดร้อยหูแหอวนขนาด
เส้นผ่าศูนย์กลาง 6 มิลลิเมตร เพือ่ ใช้
แก้ไขปั ญหาในกระบวนการดัดลวดร้อย
หูแหอวนได้ดีกว่าวิธีการทางาน
แบบเดิม
ช่วยเพิม่ ประสิทธิภาพในการทางาน
ของพนักงาน
13
เดือน
กิจกรรม
ส.ค.
ก.ย.
ต.ค.
พ.ย.
ธ.ค.
ม.ค.
ก.พ.
มี.ค.
เม.ย
พ.ค.
ทดสอบการใช้เครื่องและ
เก็บข้อมูลเครื่องแบบเดิม
วิเคราะห์และประเมินส่วน
ต่างๆของเครื่อง
ออกแบบและสั ่งซื้ ออุปกรณ์
สร้างชิ้ นส่วนต่างๆของ
เครื่องที่ตอ้ งเปลี่ยนใหม่
ประกอบเครื่อง
ทดสอบเครื่องและแก้ไข
จุดบกพร่อง
สรุปผลการสร้างเครื่องจักร
ทารายงานเพื่อนาเสนอ
นาเสนอ
14
2.1 การวัดประสิทธิผลโดยรวมของเครื่องจักร
การวั ด ประสิ ท ธิ ผ ลโดยรวมของเครื่ อ งจั ก ร
(OEE – Overall Equipment Effectiveness) เป็ น
วิ ธี ก ารที่ ดี วิ ธี ห นึ่ ง ที่ น อกจากท าให้ รู้ ประสิ ท ธิ ผ ลของ
เครื่องจักรแล้ วยังรู้ถึงสาเหตุของความสูญเสี ยที่เกิดขึ้น
ทั้งในภาพใหญ่ คือ สามารถแยกประเภทการสูญเสีย
และรายละเอี ย ดของสาเหตุ น้ั น ท าให้ สามารถที่ จ ะ
ปรับปรุง ลดความสูญเสียที่เกิดขึ้นได้ อย่ างถูกต้ องและ
เป็ นระบบ ประเทศญี่ปุ่นได้ นาไปใช้ เป็ นเกณฑ์ในการให้
รางวัล Productive Maintenance หรือเป็ นรางวัลที่ให้ แก่
โรงงานที่เป็ นที่ยอมรับในการบารุงรักษาแบบทวีผล
15
ข้อแตกต่างระหว่างประสิทธิผลกับประสิทธิภาพ
ประสิทธิผล ให้ดู Output VS Target
• การดาเนิ นกิจการที่บรรลุตามเป้าหมาย
ประสิทธิภาพ ให้ดู Output VS Input
• การเปรียบเทียบทรัพยากรที่ใช้กบั ผลที่ได้
องค์ประกอบพื้นฐานที่ใช้วัดค่า OEE
ความพร้อมใช้งาน
สมรรถนะ
คุณภาพ
16
การวัดค่า OEE
การเก็บรวบรวมข้อมูล OEE
1.ความสูญเสียอันเนื่องมาจาก
เวลาที่ตอ้ งหยุดเดินเครือ่ งจักร
2.ความสูญเสียเนื่องจากความเร็ว
3.ความสูญเสียอันเนื่องมาจากของเสีย
คือ การสูญเสียคุณภาพ จะถูกวัดหน่ วยหน่ วย
ผลผลิตซึ่งรวมไปถึงผลิตภัณฑ์ที่สามารถซ่อมแซม
แก้ไขได้และของเสียรอทาลาย
1.การเก็บ
รวบรวม
ข้อมูล
2.การ
ประมวลผล
ข้อมูล
3.การรายงานผล
การรายงานผลค่า OEE
- เรามีการปรับปรุงอยูต่ ลอดเวลาหรือไม่
- ปั ญหาใหญ่สุดเกี่ยวกับเวลาที่ตอ้ งหยุดเดินเครื่องจักรคืออะไร
- มีอบุ ตั ิการณ์เกิดขึ้ นเมื่อไรบ้าง
- คุณภาพในช่วงเดือนที่แล้วเป็ นอย่างไรบ้าง
- เราสามารถใช้เครื่องจักรได้เป็ นประโยชน์มากน้อยแค่ไหน
17
18
2.2 ประเภทของเหล็กกล้า
เหล็ ก กล้า เป็ นเหล็ ก ที่ ถู ก น าไปใช้ใ น
งานต่ า งๆมากมาย ทั้ ง นี้ เนื่ องจาก
เหล็ ก กล้า นั้ น มี คุ ณ สมบัติ ใ นการรับ
แรงต่ า งๆได้ ดี เช่ น แรงกระแทก
(Impact Strength) แรงดึง
(Tensile Strength) แรงอัด
(Compressive Strength) และ
แรงเฉือน (Shear Strength) ซึ่ง
ธาตุ ผสมส่วนใหญ่จะเป็ นทั้งโลหะและ
อโลหะ เช่ น โมลิ บ ดิ นั่ ม ทั ง สเตน
วาเนเดียม เป็ นต้น
19
20
2.3 ระบบเรียกชื่อเหล็กกล้า
เหล็กกล้ามีอยูม่ ากมายหลายชนิ ด ซึ่งขึ้ นอยูก่ บั การผสมธาตุ และกรรมวิธีการ
ผลิต ดังนั้ นเรามีความ จาเป็ นที่จะต้องจาแนกเหล็กออกเป็ นชื่อเรียกต่ าง ๆ กัน ซึ่งใน
ปั จจุบนั มีสถาบันที่ทางานเกี่ยวกับโลหะมากมาย ยกตัวอย่างเช่น
21
องค์ก รเหล่ า นี้ ก าหนดรายละเอี ย ดของเหล็ ก กล้า เอาไว้ แตกต่ า งกัน ไป
การจ าแนกเหล็ ก ออกเป็ นประเภทเราเรี ย กว่ า ระบบเรี ย กชื่ อ เหล็ ก กล้า (Steel
number system) คือระบบการแบ่งเหล็กกล้าออกเป็ นประเภทต่าง ๆ โดย
เหล็กกล้าจะถูกเรียกเป็ นตัวเลข เช่น
22
23
24
จากรูปด้ านบน แสดงการทางานของชุดดัดลวด ซึ่งลวดก่อนดัดจะมีความโค้ งงอมาก
เส้ นลวดจะผ่านชุดดัดลวดตามลาดับและจะถูกดัดด้ วยลูกรีดจากด้ าน in ไป out
การทดสอบจะแบ่งเป็ นเงื่อนไข(คอนดิช่ัน)ของระนาบ 9 คอนดิช่ัน ใช้ ลวดคอนดิช่ันละ
3 เส้ น และดัดเส้ นละ 3 ครั้ง
25
1)0,0 องศา
6)0,45 องศา
7)90,45
องศา
2)0,90 องศา
5)45,135
องศา
8)45,0 องศา
3)90,0 องศา
4)90,90
องศา
9)45,90
องศา
26
27
0,0 องศา ของลวดเส้นที่ 1
จุดอ้างอิงความ
สูงของส่วนโค้ง ก่อนดัด ดัดครั้งที่1 ดัดครั้งที่2 ดัดครั้งที่3
(mm.) (mm.)
(mm.) (mm.)
ลวด (mm.)
0
0
0
0
0
100
19.21
9.4
9.3
9.2
200
26.1
12.7
11.7
9.1
300
21.6
8.8
7.8
6.2
400
4.7
3.5
0
0
500
0
0
0
0
600
8.9
-4.6
-3.3
0
700
6
-10.5
-4.9
-3.3
800
-6.9
-18.8
-11.9
-9.9
900
-33.8
-30.6
-25.4
-20.4
ความยาวรวม
927
935.6
935
937.6
ค่าเฉลีย่
(mm.)
0
9.3
11.17
7.6
1.17
0
-2.63
-6.23
-13.53
-25.47
936.07
28
0
0
1
เส้ นที่ 1
936.0667 mm.
3
เส้2นที่ 2
951 mm.
เส้ นที่ 3
1.คอนดิชนั ่ 0 º,0 º
เส้นที่ 1 ความยาวเฉลีย่ 936.0667 mm
เส้นที่ 2 ความยาวเฉลีย่ 951 mm
เส้นที่ 3 ความยาวเฉลีย่ 966 mm
966 mm.
29
0,90 องศา ของลวดเส้นที่ 1
จุดอ้างอิงความสูง
ของส่วนโค้งลวด ก่อนดัด
(mm.)
(mm.)
0
0
100
-5.8
200
-9
300
-7.3
400
-5.7
500
0
600
12.2
700
24.8
800
40
900
5.43
ความยาวรวม
960.3
ดัดครั้งที่1
(mm.)
0
0
0
0
0
0
2.6
2.4
2.5
9.6
962.4
ดัดครั้งที่2 ดัดครั้งที่3 ค่าเฉลีย่
(mm.)
(mm.)
(mm.)
0
0
0
0
0
0
0
0
0
0
0
0
0
0
0
0
0
0
3.1
0
1.9
0.8
0
1.066666667
0
1
1.166666667
3.2
2.8
5.25
963.6
968.7
964.9
30
90
1
90
เส้ นที่ 1
964.9 mm.
3
เส้2นที่ 2
943.6667 mm.
เส้ นที่ 3
คอนดิชนั ่ 90,90 องศา
เส้นที่ 1 ความยาวเฉลีย่ 964.90 mm
เส้นที่ 2 ความยาวเฉลีย่ 943.667 mm
เส้นที่ 3 ความยาวเฉลีย่ 973.1667 mm
973.1667 mm.
31
เมื่อทาการเฉลี่ยค่าส่วนที่โค้งงอ ในแต่ คอนดิชนั แล้ว
สรุปผลได้ดงั นี้
เงือ่ นไข
0,0
0,90
90,0
90,90
เส้นที่ 1
37
31
11
6
เส้นที่ 2
13
19.5
14
2.6
เส้นที่ 3
23
9
10.5
8
ค่าเฉลีย่ ความโค้งงอ
24.33
19.83
11.83
5.53
45,135
0,45
90,45
45,0
45,90
16
15.6
38
9.5
7.5
4
12
2.5
16
9
13
2.5
28
5.5
35
11
10.03
22.83
10.33
17.17
32
• เส้นลวดที่นาไปดัดโค้งงอ
• ระยะห่างของลูกรีดที่ห่างมากเกินไป
• การเยื้ องศูนย์ระหว่างร่องของลูกรีด
แต่ละตัวพอดี
• ไม่มีตวั ประคองเส้นลวดขณะทา
การรีด
• การกลึงลูกรีดที่ไม่ได้มาตรฐาน
• บางส่วนของเครือ่ งดัดลวด
อาจก็ให้เกิดอันตรายต่อ
ผูป้ ฏิบตั ิงานได้
• วางลูกรีดเยื้ องกันทาให้แรงขับ
ส่งลวดไม่พอ
• การวางจุดขับเส้นลวดไม่
เพียงพอ
1
การติดขัด
การเสียหาย
ของเส้นลวด
2
แรงส่งเส้น
ลวดไม่พอ
4
3
ด้านความ
ปลอดภัย
ลวดที่ผ่าน
การดัดยังไม่
ตรงเท่าที่ควร
• การปรับองศาของลูกรีด
• จานวนของลูกรีดน้อย
เกินไป
33
34
35
*แก้ไขให้มีลกั ษณะเป็ นแผ่นเดียวกัน
* ในครั้งแรกตั้งใจจะปรับปรุงทั้ง 3 ชุด แต่ติด
เงื่อนไขที่งบประมาณ
36
37
การทางาน
38
ชิ้นงานที่ได้จาการ machine
39