presentation ที่สถาบันนำเสนอ

Download Report

Transcript presentation ที่สถาบันนำเสนอ

สถาบันวิจ ัยภาษาและวัฒนธรรม
เอเชีย มหาวิทยาลัยมหิดล
นาเสนอต่อ
่
กรรมการสภามหาวิทยาลัยและผู ร้ ว่ มชืน
ชม
๑๓ มกราคม ๒๕๕๔
• เดิมชือ่ “สถาบัน วิจ ยั ภาษาและวัฒ นธรรมเพื่อ
พัฒนาชนบท”
่ งเมื
้ ่อ ปี ๒๕๑๗ ด ว้ ยการเป็ นโครงการฯ
• เริมตั
ปร บ
ั เป็ นสถาบัน มีฐ านะเทีย บเท่ า คณะ เมื่อปี
๒๕๒๔
• ผ่ า น พ้น ม า ๓ ๐ ปี ภ า ร กิ จ ข อ ง ส ถ า บั น ฯ
กว า้ งขวางและครอบคลุ ม งานวิจ ย
ั ภาษาและ
วัฒ นธรรมในระดับ เอเชีย
โดยยัง คงความ
เข ม
้ ขน
้ ในหน้ า ที่ และความร บ
ั ผิ ด ชอบที่ มี ต่ อ
ปร ัชญา (Philosophy)
ภาษาและวัฒนธรรมเป็ นปัจจัยสาคัญในการแก ้ปัญหาและ
พัฒนาสังคม
วิสยั ทัศน์ (Vision)
สถาบันวิจยั และพัฒนาความรู ้ด ้านภาษา วัฒนธรรม
และชาติพน
ั ธุ ์
่
เพือเสริ
มสร ้างปัญญาของเอเชีย
้ั ้าน
สร ้างความรู ้ และนาความรู ้ไปสูก
่ ารใช ้ประโยชน์ทงด
วิชาการและการพัฒนา ในระดับชุมชน สังคม ประเทศ
และระหว่างประเทศ
(เน้นอาเซียน/จีน/อินเดีย)
ด ้วยความเข ้าใจและร่วมใจของชาวสถาบันฯ
เป็ นส่วนหนึ่ งของมหาวิทยาลัยในการเป็ น
Wisdom of the Land
และการก ้าวไปสูก
่ ารเป็ นมหาวิทยาลัย ๑ ใน ๑๐๐
โครงสร ้างการบริหาร
•
•
•
•
่ กษา / กรรมการประจาส่วนงาน
ทีปรึ
กรรมการบริหารหลักสูตร
กลุม
่ วิจยั ๙ กลุม
่
หน่ วยสนับสนุ น ๑ สานักงาน ๔ ศูนย ์
สถาบันวิจ ัยภาษาและ
วัฒนธรรมเอเชีย
กลุ่มวิชาภาษา
วัฒนธรรม
่
การสือสาร
และการ
พัฒนา
(หลักสู ตร / กลุ่มวิจย
ั )
ศู นย ์
ศู นย ์ศึกษาและฟื ้ นฟู
ภาษาและ
วัฒนธรรรมในภาวะ
กฤติ
ศู นย ์บริกวิารวิ
ชาการ
และทานุ บารุง
ศิลปวัฒนธรรม
ศู นย ์การแปลและ
บริการด้านภาษา
ศู นย ์ภารตะศึกษา
สานักงาน
ผู อ
้ านวยการ
งานบริหารงาน
่
ทัวไป
งานคลังและพัสดุ
งานแผน พัฒนา
คุณภาพ และ
ทร ัพยากรบุคคล
่
งานสือสารองค
์กร
งานบริหารงานวิจย
ั
และบริการ
การศึกษา
บุคลากร ( ๙๐ คน )
สาย
สนับสนุ น;
t52; t58%
อาจารย ์;
t31; t34%
นักวิจย
ั ; t7;
t8%
ตาแหน่ งวิชาการ
จานวน
ศาสตราจารย ์
๒
รองศาสตราจารย ์
๕
ผู ช
้ ว
่ ยศาสตราจารย ์
๕
อาจารย ์
๑๙
รวม
๓๑
งบประมาณ
เงินรายได้
๑๑,๙๔๘,๓๐
๕.๑๖
(๒๕.๒๘%)
งบประมาณ
แผ่นดิน
๓๕,๓๐๗,๑๖
๗.๔๙
(๗๔.๗๒%)
การวิจยั
สร ้างองค ์ความรู ้ด ้านภาษาและวัฒนธรรม
่
่
และประยุกต ์ใช ้เพือการสื
อสารและการพั
ฒนา
การวิจยั
• สนับสนุ นให ้มีการวิจยั ข ้ามแดน
• สนั บ สนุ นให ส้ ายวิช าการไปเสนอผลงานและ
้
ตีพม
ิ พ ์ผลงานทังในระดั
บชาติ และนานาชาติ
่
• ใช ้กลุม
่ วิจยั เป็ นกลไกหนึ่ งในการขับเคลือนงาน
• มีก ารท างานร่ว มกัน ระหว่ า งอาจารย /์ นั ก วิจ ยั
อาวุโสและอาจารย /์ นั ก วิจ ย
ั รุ น
่ เยาว ์ เพื่อการ
สานต่องานและเครือข่าย
• สร ้างความรู ้ในเชิงพัฒนาแบบ
Grounded
Theory (ใช ้จุดเด่นการทางานชุมชน)
กลุม
่ วิจยั
สังคม วัฒนธรรม และโลกาภิวต
ั น์
ฟื ้ นฟูภาษาและวัฒนธรรมในภาวะวิกฤต
ภาษาและวัฒนธรรมกลุม
่ ชาติพน
ั ธุ ์
พิพธิ ภัณฑ ์
่
่
อการพั
ฒนา
การสือสารเพื
การสนทนาอย่างสร ้างสรรค ์และนวัตกรรมทาง
วัฒนธรรม
• ดนตรี
่
• ภาษาและวัฒนธรรมประเทศเพือนบ
้าน
่ ้องถิน
่
• วิจยั เพือท
•
•
•
•
•
•
จานวนโครงการวิจยั (ข ้อมูล ๓ ปี )
t22
t25
t20
t20
t16
t15
t10
t5
t0
t2551
t2552
t2553
จานวนเงินทุนวิจ ัย (ข้อมู ล ๓ ปี )
t28 082 75
2
t35 000 000
t30 000 000
t25 000 000
t31 645 10
0
t19 892 16
0
t20 000 000
t15 000 000
t10 000 000
t5 000 000
t0
t2551
t2552
t2553
่ พม
ผลงานวิจยั ทีตี
ิ พ ์เผยแพร่ (ข ้อมูล ๓
ปี )
t25
t22
t20
t15
t14
t15
t10
t5
t0
t2551
t2552
t2553
งานวิจยั : ภาษาศาสตร ์ ภาษาศาสตร ์
ประยุกต ์
• ลักษณะความแตกต่างระหว่างภาษาไทยกับภาษา
่ (กะเหรียงโปว,
่
่
ท ้องถิน
กะเหรียงสะกอ,
และมอญ)
่
(กูย และเขมรถินไทย)
• การเปรียบเทียบคาลักษณะนามในภาษาตระกูลไทกะได
่ ดในกรุงเทพฯ
• ไวยากรณ์ภาษาจีนแคะสาเนี ยงทีพู
้ น
• การศึกษาเบืองต
้ ภาษาศาสตร ์ชาติพน
ั ธุ ์ของชาว
ปะหล่ อ งใน เชีย งตุ ง ประเทศพม่ า และในยู น าน
ประเทศจีน
่
• การจัดการเรียนการสอนโดยใช ้ภาษาทอ้ งถิน
่ : กรณี การจัดการศึกษา
และภาษาไทยเป็ นสือ
แบบทวิ ภ าษา (ภาษาไทย-มลายู ถิ่ น) ใน
้ ่สี่จัง หวัด ชายแดนภาคใต ้
โรงเรีย นเขตพื นที
(โครงการวิจยั เชิงปฏิบต
ั ก
ิ าร) โครงการต่อเนื่ อง
9 ปี (2550 - 2558)
• ศึก ษาและฟื ้ นฟู ภ าษาและวัฒ นธรรมในภาวะ
วิกฤต
• พั ฒ นา ภา ษ า แ ละ ฟื ้ นฟู ภู มิ ปั ญญาท อ
้ งถิ่ น
ชายแดนใต ้
งานวิจยั : วัฒนธรรม
ั ธุ ์ในจัง หวัด
• แผนที่วัฒ นธรรมของกลุ่ ม ชาติพ น
่
ชายแดนไทย-กัม พู ช า : เครืองมื
อ การก าหนด
่
นโยบายเพือแก
้ปัญหาชายแดน
• ก า ร บู ร ณ า ก า ร ก า ร แ พ ท ย พ
์ ื ้น บ ้า นไ ท ย แ ล ะ
การแพทย ์
แผนปัจจุบน
ั ฯ
• การตายของเด็กไทยพุทธและไทยมุสลิม : ความ
่ ดจากความไม่เท่าเทียม?
แตกต่าง
ทีเกิ
้
• ศึกษาเปรียบเทียบชนชาติไทลือในสิ
บสองปันนา
่
่ งยื
่ น
และจังหวัดน่ าน : หนทางสูก
่ ารท่องเทียวที
ยั
่
• การส่งเสริมภูมป
ิ ัญญาทอ้ งถินและความหลากหลาย
ท า ง ชี ว ภ า พ เ พื่ อ ค ว า ม มั่ น ค ง ท า ง อ า ห า ร แ ล ะ
โภชนาการในประชากรกลุม
่ ชาติพน
ั ธุ ์
่ นที
้ ภาคกลาง
่
• โครงการยุววิจยั ประวัตศ
ิ าสตร ์ท ้องถินพื
• ภูมิปั ญ ญาในการพึ่งพาตนเองของผู ส้ ู ง อายุในกลุ่ม
ชาติพน
ั ธุ ์
• พหุวฒ
ั นธรรมในประเทศไทยจากมุมมองสตรีนิยม
• การพัฒ นากลไกการขับ เคลื่อนงานด า้ นคุ ณ ธรรม
้
จริยธรรม : ศึกษารูปแบบ เนื อหาและแนวทางความ
เป็ นไปไดใ้ นการจัดตัง้
ศูนย ์เรียนรู ้จริยธรรมแนว
ใหม่
่
งานวิจยั : สือสาร
่
่
่
• การสือสารเพื
อการเปลี
ยนแปลงสั
งคม ภายใต ้
้ ่ เพือ
่
โครงการวิจยั บูรณาการเชิงพืนที
แก ้ปัญหาความยากจนอย่างมีสว่ นร่วมใน
ภูมภ
ิ าคตะวันตก
่
่
• การสือสารสุ
ขภาพท ้องถิน
่ นบ
้ ้านเพือสุ
่ ขภาวะเยาวชน
• สือพื
• สุรามิตท
ิ างสังคมและวัฒนธรรม : บทสะท ้อน
ผ่านบทเพลง*
• โครงการการจัดการความรู ้ในการด ้นเพลงของ
งานวิจยั : สังคม การพัฒนา
• โครงการการวางแผนการจัดการทรพ
ั ยากรชายฝั่ง
่ นโดยชุมชน
อย่างยังยื
่ ้รบั ผลกระทบจาก
• การศึกษาสาหร ับเด็กต่างด ้าวทีได
ภัยพิบต
ั ิ
สึนามิ
• ปฏิบ ต
ั ิก ารเศรษฐกิจ พอเพีย งในมิติก ลุ่ม ชาติ พ น
ั ธุ ์
่
การไตร่ตรอง เชิงวิพากษ ์ และการปฏิบต
ั ก
ิ ารเพือ
่
การเปลียนรู
ป
• สุขภาวะของผูส้ ูงอายุกลุ่มชาติพน
ั ธุ ์ในอนุ ภูมิภาค
ลุ่มน้าโขง : การศึกษาเปรียบเทียบภาคเหนื อของ
• การวิ จ ัย ประเมิ น ผลหมู่ บ า้ นต น
้ แบบอยู่ ดี มี สุ ข
จังหวัดสุรน
ิ ทร ์
่
• อินเดียในประเทศไทย : พลวัตรในการขับ เคลือน
สังคมไทยสูป
่ ระชาคมอาเซียนและเอเชีย
• ศักยภาพชุมชนในการพัฒนาตัวชีวั้ ดความมั่นคง
ทางอาหารและโภชนาการ กรณี ศก
ึ ษา
• การวิจยั กฎหมายคุม้ ครองผูถ
้ ูกกระทาดว้ ยความ
รุนแรงในครอบคร ัว : ฐานคิด โอกาส และอุปสรรค
• อาสาสมัครจีนในลาว
วิเคราะห ์งานวิจยั
่ ้คนเป็ นศูนย ์กลาง (people• งานทีใช
centered)
• งานเชิงประเด็น/ปัญหา (issue based)
่ ้ศาสตร ์เป็ นตัวตัง้ (discipline
• งานทีใช
based)
้ ่ (area based)
• งานเชิงพืนที
เกิดผลในระดับนโยบายและเป็ น
่
ทียอมร
ับ
โครงการวิจยั การจัดการเรียนการสอนระบบทวิ
้ ่ ๕ จัง หวัด ชายแดนภาคใต ้
ภาษาในพื นที
ได ้ร ับเลือกจาก Southeast Asian Ministers of
Education Organization Secretariat
หรือ
SEAMEO และ QITEP กระทรวง ศึกษาธิการ
ประเทศอินโดนี เซีย ใหเ้ ป็ นโครงการตน
้ แบบ
ส าหร บ
ั การจัด การเรีย นการสอน โดยใช ้
้ ่เป้ าหมายของ
ภาษาแม่ เ ป็ นสื่อในกลุ่ม พืนที
่
่อการเปลียนแปลงสั
่
• โครงการการสือสารเพื
งคม
ในปี ๒๕๕๐
• โครงการวิ จ ัย และพัฒ นาการสื่ อสารสุ ข ภาพ
่ ในปี ๒๕๕๑
ท ้องถิน
้ า้ นเพื่อสุ ข ภาวะเยาวชน ในปี
• โครงการสื่อพืนบ
๒๕๕๒
ทั้ง ๓ โครงการ ได ส้ ร า้ งเครือ ข่ า ยสื่ อสาร
สุขภาพชุมชนและขยายผลในระดับประเทศ
• สร ้าง Change Agent การพัฒนา
่ มไปด ้วย Research Mind โดย
ทีเต็
กลุ่ ม เป้ าหมายที่ ส าคัญ คื อ ผู น
้ า
่ ครู นั กพัฒนา นั กวิช าการ
ทอ้ งถิน
่
สือมวลชน
ผลงานได ้ร ับรางวัล
่ “การจัดการเรียนการสอน
• โครงการวิจ ยั เรือง
โดยใช ภ
้ าษาท อ้ งถิ่ นและภาษาไทยเป็ นสื่ อ:
ก ร ณี ก า ร จั ด ก า ร ศึ ก ษ า แ บ บ ท วิ ภ า ษ า
้ ่
(ภาษาไทย – มลายูถน)
ิ่ ในโรงเรียนเขตพืนที
่ งหวัดชายแดนภาคใต”้ โดย ศ.สุวไิ ล เปรม
สีจั
ศรีร ัตน์
และคณะ
่
ได ้ร ับรางวัลงานวิจยั เด่น ประเภทงานวิจยั เพือ
พัฒนา (R&D)
๓ ผลงานได ้ร ับรางวัล
จากสภาวิจยั แห่งชาติ (วช.) ประจาปี
๒๕๕๓
กาหนดเข ้าร ับรางวัล ๒ กุมภาพันธ ์
๒๕๕๔
่ ้ร ับรางวัล ๑๙ เรือง
่
ผลงานทีได
่
เป็ นผลงานในสายสังคม ๖ เรือง
่
เป็ นของมหาวิทยาลัยมหิดล ๓ เรือง
• โครงการวิจยั “การเปรียบเทียบคาลักษณะนาม
ในภาษาตระกูลไท-กะได” โดย ศ.สมทรง บุรุษ
พัฒน์ และคณะ ไดร้ บั รางวัลงานวิจยั ระดับดีเด่น
(สาขาปร ัชญา)
่
่ โดย
• โครงการวิจยั “การสือสารสุ
ขภาพทอ้ งถิน”
รศ.ดวงพร ค านู ณ วัฒ น์ และคณะ ไดร้ บ
ั รางวัล
ง า น วิ จ ั ย ร ะ ดั บ ดี
( ส า ข า เ ท คโ นโ ล ยี
สารสนเทศและนิ เทศศาสตร ์)
้ ่
• โครงการวิจยั “โครงการวิจยั บูรณาการเชิงพืนที
เพื่อแก ป้ ั ญ หาความยากจนอย่ า งมี ส่ ว นร่ว มใน
ภู มิ ภ าคตะวัน ตก”
โดย รศ.ดวงพร
จุดเด่น
่ ค วามเป็ น
• สถาบัน ฯ มี ก ารจัด กลุ่ ม วิ จ ัย ซึงมี
เอกลักษณ์ (ถือว่าเป็ น ภูมป
ิ ัญญาของไทย)
มีก ารประยุ ก ต ส์ ู่ ท อ้ งถิ่น เพื่อใช ้ในการแก ไ้ ข
ปั ญ หา และมี ก ารพัฒ นาต่ อ ยอด จนเป็ นที่
้
ยอมร บ
ั และถือ เป็ นต น
้ แบบ ทังระดั
บ ชาติแ ละ
นานาชาติ โดยเฉพาะการวิจยั ดา้ นกลุ่มภาษา
ในภาวะวิกฤต กลุม
่ ชาติพน
ั ธุ ์ และพิพธิ ภัณฑ ์
• สถาบัน ฯ เป็ นแหล่ง ผลิต และเป็ นแหล่ง อ า้ งอิง
ทางวิช าการด า้ นภาษา วัฒ นธรรม และกลุ่ ม
ชาติ พ ั น ธุ ์ ที่ เป็ นที่ ยอมร บ
ั ของนั ก วิ ช าการ
สถาบั น ฯ จั ด กลุ่ ม วิ จ ั ย ตามควา ม
เ ชี่ย ว ช า ญ ข อ ง อ า จ า ร ย อ์ า วุโ ส
ผนวกกับความชอบ/สมัครใจของ
อาจารย ์รุน
่ กลางและรุน
่ ใหม่ ถือเป็ น
่ งผ่านประสบการณ์ทสั
กลยุทธ ์ทีส่
ี่ ่ ง
สมมานานจากรุ ่น สู่ รุ ่น ที่ แยบยล
น่ าจะเป็ นต ้นแบบได ้
สถาบัน ฯ ควรพิ จ ารณาก าหนด
นโยบายใหค้ ุณค่าผลงานวิจยั ใน
รู ป แ บ บ อื่ นๆ นอ กเ ห นื อ จ า ก
ผลงานตีพิ ม พ ใ์ ห ช
้ ด
ั เจน เพื่ อ
เป็ นการให ค
้ ุ ณ ค่ า กับ งานวิ จ ัย
ส่วนใหญ่ของสถาบันฯ
การเรียนการสอน
่ ความรู ้ ความสามารถ และมี
ผลิตบุคลากรทีมี
คุณธรรม
หลักสูตร
• หลักสูตรปร ัชญาดุษฎีบณ
ั ฑิต
o สาขาวิชาภาษาศาสตร ์
• หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต
o สาขาวิชาภาษาศาสตร ์
o สาขาวิชาวัฒนธรรมและการพัฒนา
่
่
อสารและ
o สาขาวิชาภาษาและวัฒนธรรมเพือการสื
การพัฒนา
• อยู่ระหว่างการร่าง หลักสูตรปร ัชญาดุษฎี
บัณฑิต
สาขาวิชาพหุวฒ
ั นธรรมศึกษา
สถานการณ์(ข ้อมูล ๓ ปี ) จานวนนักศึกษาในแต่
ละปี
t260
t258
t254
t250
t240
t223
t230
t220
t210
t200
t2551
t2552
t2553
สถานการณ์(ข ้อมูล ๓ ปี ) จานวนนักศึกษาจบ
t56
t60
t50
t40
t33
t32
t30
t20
t10
t0
t2551
t2552
t2553
จุดเด่น
่
• ภาษาศาสตร ์มี ล ก
ั ษณะเฉพาะเชือมโยงกั
บ
กลุม
่ ชาติพน
ั ธุ ์
• การแปล พิพิธภัณฑ ์ เป็ นแห่งแรกและยังมี
เปิ ดอยู่ไม่มาก
่ อสาร
่
• ภาษาเพือสื
การบริหารองค ์กร มีความ
แตกต่าง โดยใช ้ภาษาและวัฒนธรรมเป็ นแกน
การศึกษา
จุดเด่น
• คณาอาจารย ์ ของสถาบัน ฯ มีศ ก
ั ยภาพสู ง มี
ความรู ้ ความเชี่ยวชาญเฉพาะด า้ น เป็ นที่
่ ยวข
่
ยอมรบั ของหน่ วยงานทีเกี
อ้ ง ในระดับชาติ
และนานาชาติ
ศ . ส ม ท ร ง บุ รุ ษ พั ฒ น์ ไ ด ้ ร ั บ ร า ง วั ล The
Distinguished Alumni Award จาก The University of
Texas at Arlington ประเทศสหรฐั อเมริกา และ
ไดร้ บั ยกย่อ งจากสานั ก งานกองทุน สนั บ สนุ น
การวิจยั (สกว.) ใหเ้ ป็ นเมธีวิจยั อาวุโส สาขา
ภาษาศาสตร ์
• ศ.สุ ว ิไ ล เปรมศรีร ต
ั น์ ได ร้ บ
ั การคัด เลือ กให เ้ ป็ น
Resource
Person
ของการประชุม
“Enhancing Awareness and Building the
Capacity of SEAMEO in Establishing
Mother
Tongue-based
Multilingual
Education (MLE) Programs in Southeast
Asia”
นักศึกษา
คณะกรรมการกิจการ
การดูงาน การออกภาคสนาม
เสริมสร ้าง core values
ร่ ว มเป็ นคณะท างาน และร่ ว มการ
ป ร ะ ชุ ม วิ ช า ก า ร ร ะ ดั บ ช า ติ แ ล ะ
นานาชาติ
• มี ค ลิ นิ ก ภ า ษ า อั ง ก ฤ ษ ส า ห ร ั บใ ห ้
คาปรึกษา
•
•
•
•
• ด ร . ศิ ริ เ พ็ ญ อึ ้ง สิ ท ธิ พู น พ ร ไ ด ้ร ั บ ร า ง วั ล
วิ ท ยานิ พนธ ช
์ มเชย ระดับ ป ริญ ญาเอก จาก
บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล
• น . ส . สุ กั ญ ญ า เ ส รี น น ท ์ช ั ย ไ ด ้ร ับ ร า ง วั ล
วิทยานิ พนธ ์ดีเด่น ระดับปริญญาโท จากบัณฑิต
วิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล
• ม น ช ย า ดุ ลิ ย า ก ร นั ก ศึ ก ษ า ส า ข า ภ า ษ า แ ล ะ
่
่
วัฒนธรรมเพือการสื
อสารและพั
ฒนา ไดร้ บั คัดเลือก
เป็ นตัวแทนเยาวชนประเทศไทยเขา้ ร่วมโครงการเรือ
เยาวชนเอเชียอาคเนย ์ (The Ship for Southeast
Asian Youth Program SSEAYP)
้
• หลักสูตรทังหมดเป็
นหลักสูตรเชิงประยุกต ์
มี ก ารวิ จ ัย เป็ นหลัก มี ก ารฝึ กปฏิ บ ัติ ใ น
ชุม ชนและท อ้ งถิ่ น
แม้ต ลาดใน
ประเ ทศเ ป็ นที่ นิ ยมไม่ มาก แต่ ก็ แสดง
เอกลักษณ์ของสถาบันได ้อย่างดี
่ นชมของผู
่
• บัณฑิตจากสถาบันฯ เป็ นทีชื
ใ้ ช ้
ว่า ดี ทางานเก่ง สามารถทางานกับชุมชน
ได ้ และทาวิจยั เป็ น
• ส ถา บั น ฯมี นั กศึ ก ษา ป ริญ ญา โท แล ะ
้ ่ที่มีก ารท าวิจ ยั
ปริญ ญาเอกมาจากพืนที
ท าให น
้ ั ก ศึก ษาเกิด ความภาคภู มิใ จ ร ก
ั
่
่
และเกิดผลงานวิจยั คืนสูท
่ ้องถิน
ถินฐาน
• หลักสูตร ของสถาบันฯ เป็ นหลักสูตรดา้ น
ภ า ษ า แ ล ะ วั ฒ น ธ ร ร ม ที่ ช ั ด เ จ น เ ป็ น
เอกลัก ษณ์โ ดดเด่ นไม่ เ หมือ นใคร ท าให ้
นั ก ศึ ก ษ า ใ ช พ
้ ิ จ า ร ณ า เ ป็ น ตั ว เ ลื อ ก
ตัดสินใจมาศึกษาแตกต่างจากหลักสูต รที่
่ ้ดี
อืนได
การบริการวิชาการ
ร่วมสร ้างสังคมแห่งการเรียนรู ้ด ้วยทุน/ศักยภาพ
การบริการวิชาการ
• จัด ประชุม สัม มนา แลกเปลี่ยนและเพิ่มพู น
้
ความรู ้และประสบการณ์ ทังในระดั
บชาติและ
นานาชาติ
• อบรม ถ่ายทอดความรู ้ให ้แก่ผูส้ นใจ
• เป็ น วิ ท ยากรในการประชุ ม สัม มนา เป็ น
อาจารย พ
์ ิ เ ศษ กรรมการสอบ ผู พ
้ ิ จ ารณา
่ กษาให ้ แก่
โครงการวิจยั /หลักสูตร
ทีปรึ
สถาบันการศึกษาต่างๆ
• ร่ว มเป็ นกรรมการ/คณะท างาน หน่ วยงาน
การอบรม
่
• ภาษาและวัฒนธรรมเพือนบ
้าน
่
่ กว่า
• สัทศาสตร ์ปฏิบต
ั เิ พือการออกเสี
ยงทีดี
่
• การอบรมเรืองการจั
ด การและอนุ รกั ษว์ ต
ั ถุ
พิพธิ ภัณฑ ์
้
• การอบรมภาษาลาวหลักสูตรระยะสัน
• ภาษาไทยแก่ชาวต่างประเทศ
• การเขียนสารคดีเชิงปฏิบต
ั ก
ิ าร
• การจัดการและอนุ ร ักษ ์วัตถุพพ
ิ ธิ ภัณฑ ์
• ฯลฯ
การสัมมนา/ประชุมวิชาการ
• The Fourth International Conference on
Austroasiatic Linguistics
• Language, Education and the Millennium
Development Goals (MDGs)
• อายุรเวช: มรดกโบราณในยุคโลกาภิวต
ั น์
่ ฒนาท ้องถิน
่ และ
• มหกรรมฟื ้ นฟูภาษาเพือพั
่
นวัตกรรมการสอนภาษาไทยเพือแก
้ปัญหาจังหวัด
ชายแดนภาคใต ้
• Thai Studies ๒๖-๒๘ กรกฎาคม ๒๕๕๔
ภารกิจเป้ าหมาย ร่วมเตรียมความพร ้อม
สังคมไทยสูก
่ ารเป็ นประชาคมอาเซียนใน
ปี ๒๕๕๘
• มีแผนรองร ับในทุกยุทธศาสตร ์ วิจยั การเรียนการ
สอน .....
่
• เปิ ดสอนภาษาเพือนบ
้านแก่ นักศึกษา บุคลากร
และบุคคลภายนอก
• เผยแพร่ความรู ้ความเข ้าใจแก่สงั คม ( สภา
การศึกษา กระทรวงต่างประเทศ
กระทรวงศึกษาธิการ)
จุดเด่น
• สถาบันฯ มีรูปแบบ การบริการวิชาการ
ที่หลากหลาย เป็ นประโยชน์ต่ อ สัง คม
่ ของชุมชน ทังนี
้ ้
และเป็ นแหล่งเรียนรู ้ทีดี
่ ดจาก
ได ้มาจากการแปรองค ์ความรู ้ทีเกิ
่
การ เช่น พิพธ
ิ ภัณฑ ์
งานวิจยั มาเพือบริ
ก า ร จั ด อ บ ร ม ร ะ ย ะ สั้ น ก า ร จั ด ค่ า ย
วัฒ นธรรมเยาวชน การอนุ ร ก
ั ษ เ์ พลง
เก่า ในรูป แบบ Digital ที่เข า้ ถึงได ง้ ่ า ย
ฯลฯ
สถาบัน ฯ น่ าจะพิ จ ารณาเพิ่มการ
บ ริ ก า ร วิ ช า ก า ร ที่ เ กิ ด จ า ก
ท ร ั พ ย ์ สิ น ท า ง ปั ญ ญ า อั น
ทรงคุณค่าของสถาบันฯ สู่สงั คม
วงกว า้ งและจัด หามื อ อาชีพ มา
ช่ ว ยจั ด การในเชิง ธุ ร กิ จ และ
ป ร ะ ช า สั ม พั น ธ ์ ใ ห ้ ต ร ง
่
กลุม
่ เป้ าหมาย เพือสร
้างรายได ้
การทานุ บารุง
ศิลปวัฒนธรรม
สังคมตระหนักรู ้คุณค่าวัฒนธรรม
• ด า เ นิ น กิ จ ก ร ร ม ศิ ล ป วั ฒ น ธ ร ร ม บ น
ฐานความรู ้
• สั ง ค ม ต ร ะ ห นั กใ น คุ ณ ค่ า ข อ ง ค ว า ม
หลากหลายทางวัฒนธรรม
• ส่ ง เสริม ผู น
้ าทางภู มิ ปั ญ ญาหรือ ปรา ชญ ์
ชาวบ ้านให ้ได ้ร ับการยกย่อง
• ข ย า ย เ ค รื อ ข่ า ย ง า น ด ้ า น ท า นุ บ า รุ ง
ศิ ล ปวัฒ นธรรม ทั้งในระดับ มหาวิท ยาลัย
ชุมชน และประเทศ
• สนับสนุ นงานศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัย
และหน่ วยงานต่างๆ
๑)ง า น ส่ ง เ ส ริ ม แ ล ะ บ ริ ก า ร
ศิลปวัฒนธรรม
• กิจกรรมประเพณี เทศกาล วันสาคัญ
• โ ค ร ง ก า ร ธ ร ร ม ะ กั บ ก า ร พั ฒ น า
ศักยภาพนักศึกษาและบุคลากร
• โครงการประกวดเพลงกล่อมลูก ๔
ภาค
• โครงการร ักษ ์ดนตรีไทย
• โครงการอบรมเชิงปฏิบต
ั ก
ิ ารปี่ ใน
• โครงการอบรมเชิงปฏิบต
ั ก
ิ ารทานอง
๒) ศูนย ์ข ้อมูลวัฒนธรรมดนตรีไทย
และ
เอเชียอาคเนย ์
• พัฒนาศูนย ์การเรียนรู ้
• นิ ทรรศการดนตรี
• โครงการเสวนาดนตรีไทยและเอเชีย
อาคเนย ์
• โครงการสังคีตศาลายา
• โครงการไหว ้ครูดนตรีไทย
๓) พิพธิ ภัณฑ ์มานุ ษยวิทยา
วัฒนธรรม
จุดเด่น
• ส ถ า บั น ฯ มี ก า ร ท า นุ บ า รุ ง / ร ัก ษ า
ศิ ล ปวัฒ นธรรมสอดแทรกอยู่ ใ นงาน
บริการของสถาบันอย่างแยบยล
มี
กลุม
่ เป้ าหมายหลายระดับ
่
้
• จานวนกิจกรรมทีสถาบั
นจัดมีมาก ทังๆ
่ านวนบุคลากรมีนอ
ทีจ
้ ย แสดงถึงความ
ทุ่มเท เสียสละและ ร ักองค ์กร
ความร่วมมือ
• ส่วนงาน และมหาวิทยาลัย : MU
Memories,
Creative
Economy
กลุ่มภารกิจวิจยั
ชุมชน งานวิจยั จัดประชุมวิชาการ
งานด ้านศิลปวัฒนธรรม .....
สถาบันการศึกษา
• SIL (Summer Institute of Linguistics
International) USA
จัดทา Mon-Khmer
Studies : A Journal of Southeast Asian
Languages and Cultures
• University of California at LA และ at
่
Berkeley
ส่งผูเ้ ชียวชาญมาบรรยาย
และให ้
คาปรึกษาวิทยานิ พนธ ์
• Macquarie University ประเทศออสเตรเลีย
ร่วมมือในการดาเนิ นงานด ้านการแปล
• Central University for Nationalities
People ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน
• Yuxi Normal University ประเทศ
สาธารณร ัฐประชาชนจีน
• Xishuangbanna Vocational and
Technical Institute ประเทศสาธารณรฐั
ประชาชนจีน
องค ์การต่างๆ
• ก ร ะ ท ร ว ง วั ฒ น ธ ร ร ม ก ร ะ ท ร ว ง ก า ร
ต่ า ง ป ร ะ เ ท ศ ก ร ะ ท ร ว ง ศึ ก ษ า ธิ ก า ร
กรุงเทพมหานคร สถานทูตอินเดีย
• UNESCO, UNICEF, Save the
Children, CARE, Asia Pacific Basic
and Adult Education, มูลนิ ธ ิ Jim
Thompson, มู ล นิ ธิ SEASREP,
SEAMEO
แหล่งทุนวิจยั
• สภาวิจยั แห่งชาติ (วช.)
• สานักงานกองทุนสนับสนุ นการวิจยั (สกว.)
• สานักงานกองทุนสนับสนุ นการสร ้างเสริม
สุขภาพ (สสส.)
• สถาบันวิจยั ระบบสาธารณสุข (สวรส.)
• UNICEF
ความภาคภูมใิ จ
บุคลากรร่วมสร ้างสรรค ์สังคม
ด ้วยความรู ้ความสามารถและความเป็ น
คนดี
• ผศ.เอี่ ยม ทองดี ได ร้ บ
ั รางวัล “อาจารย ท
์ ี่
ปรึกษากิจ กรรมนั กศึกษาดีเด่น ” จากสมาคม
ศิษ ย ์เก่า บัณ ฑิต วิท ยาลัย และบัณฑิตวิ ทยาลัย
มหาวิทยาลัยมหิดล
• สุ ก ั ญ ญ า เ ปี ย ธัญ ญา ไ ด ร้ บ
ั คั ด เ ลื อ กเ ป็ น
บุคลากรดีเด่นของมหาวิทยาลัยมหิดล ประจาปี
๒๕๕๓ จากมหาวิทยาลัย
• จิตก
ิ านต ์ จินารกั ษ ์ ไดร้ บั มอบเกียรติบต
ั รจาก
กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของ
มนุ ษย ์ เป็ นผู ไ้ ด ร้ บ
ั การคั ด เลื อ กเข า้ รอ บ
สุดทา้ ยในการสรรหาและเชิดชูเด็กและเยาวชน
• อาจารย ์นรเศรษฐ ์ พิสฐิ พันพร ใช ้ความสามารถ
่ นศาล
้
ภาษาเขมรเป็ นล่ามใหก้ บ
ั ชาวกัมพูชาทีขึ
ไ ท ย เ ป็ น ก า ร ร ับ เ ชิ ญ จ า ก ก ร ะ ท ร ว ง ก า ร
ต่างประเทศ
• นายวาทิตต ์ ดุรยิ อังกูร เป็ นผูแ้ ทนประเทศไทย
ร่ ว ม แ ล ก เ ป ลี่ ย น วั ฒ น ธ ร ร มใ น ง า น Asia
Culture Festival 2010 ณ กรุงโซล ประเทศ
เกาหลีใต ้