seminar_competition_law_presentation

Download Report

Transcript seminar_competition_law_presentation

สรุปและวิเคราะห์
ร่างพระราชบัญญัติ การแข่งขันทางการค้า (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ....
10 ตุลาคม พ.ศ. 2554
1
Thai Law Watch: โครงการปรับปรุงกระบวนการนิติบญั ญัติ
ของประเทศไทยเพือ่ ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชน
ทีม่ า
ปัญหาของ พ.ร.บ.การแข่งขันทางการค้า พ.ศ. 2542 (ปัจจุบนั )
 ไม่เคยบังคับใช้ได้อย่างจริ งจัง
 ไม่ครอบคลุมรัฐวิสาหกิจ
 สานักงานคณะกรรมการการแข่งขันทางการค้าไม่เป็ นอิสระ
 ร่ างพ.ร.บ. การแข่งขันทางการค้า (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... ซึ่ งเสนอโดย
นางอนิก อมระนันทร์ และคณะ ได้รับการรับรองโดยนายอภิสิทธิ์
เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตรี วันที่ 9 เมษายน พ.ศ.2554
 ต้องการประเมินร่ างฯ ว่าสามารถแก้ปัญหาได้หรื อไม่

2
หลักการและเหตุผล 1 (ของกฎหมายแข่งขันทางการค้า)
 ให้เศรษฐกิจบรรลุประสิ ทธิ ภาพสู งสุ ด
 ไม่มีการจากัดปริ มาณ และ/หรื อโก่งราคา
 ไม่ปฏิบตั ิโดยไม่เป็ นธรรมต่อผูบ
้ ริ โภค

เช่น ลดคุณภาพ บังคับจานวนซื้อ บังคับซื้อพ่วง ฯลฯ
 ไม่กีดกันคู่ต่อสู ้ทางการค้า เพื่อคงอานาจผูกขาด
 มีการพัฒนาสิ นค้าบริ การ และลดต้นทุน เพื่อเพิ่ม
ประสิ ทธิภาพ
 ฯลฯ
3
หลักการและเหตุผล 2 (ของกฎหมายแข่งขันทางการค้า)
 การผูกขาด => ความด้อยประสิ ทธิ ภาพ
 นอกจากที่กล่าวไปข้างต้น ยังทาให้เกิดการแทรกแซงทาง
การเมืองด้วย
 กฎหมายแข่งขันทางการค้า
 เป็ นเครื่องมือหนึ่งที่ให้เศรษฐกิจบรรลุประสิ ทธิ ภาพสู งสุ ด
 ป้ องกันการใช้ อานาจเหนื อตลาด (market power) เอาเปรี ยบ
ผูบ้ ริ โภค และ กาจัดคู่แข่งขัน
4
กฎหมายแข่งขันทางการค้าของประเทศไทย
 พ.ร.บ. ป้ องกันการค้ากาไรเกินควร พ.ศ.2480
 พ.ร.บ. กาหนดราคาสิ นค้าและป้ องกันการผูกขาด พ.ศ.2522
 พ.ร.บ. การแข่งขันทางการค้า พ.ศ.2542
 ห้ามใช้อานาจเหนื อตลาดทาการค้าอย่างไม่เป็ นธรรม (มาตรา 25 )
 ห้ามควบรวมกิจการอันก่อให้เกิดการผูกขาด (มาตรา 26)
 ห้ามผูป
้ ระกอบการสมคบกันผูกขาด (มาตรา 27)
 ห้ามกีดกันคู่ต่อสู ท
้ างการค้า (มาตรา 28 และ 29)
5
การบังคับใช้
 พ.ร.บ. การแข่งขันทางการค้า พ.ศ.2542
 ใน 11 ปี ที่ผา่ นมาได้รับเรื่ องร้องเรี ยน 77 เรื่ อง
 ดาเนิ นคดีบริ ษท
ั ฮอนด้าเพียงกรณี เดียว
 ไม่พบความผิด = 66, อยูร่ ะหว่างพิจารณาหรื อตรวจสอบ = 10
6
กฎหมายแข่งขันทางการค้าในต่างประเทศ
ในช่วง 11 ปี เช่นกัน ...
 Federal Trade Commission (FTC) ของสหรัฐอเมริ กา
 บังคับใช้ท้ งั หมดอย่างน้อย 320 กรณี
 Korea Fair Trade Commission ของประเทศเกาหลีใต้
 มีบงั คับใช้อย่างน้อย 1,001 กรณี
ฯลฯ
7
สาระสาคัญของร่างกฎหมาย
ให้ “สานักงานคณะกรรมการการแข่งขันทางการค้า” เป็ นองค์กรอิสระ
 มีการแต่งตั้งคณะกรรมการสรรหาเพื่อคัดเลือกคณะกรรมการฯ
่ ายในบังคับกฎหมายนี้ยกเว้ นรัฐวิสาหกิจทีม่ ีกฎหมาย
 ให้รัฐวิสาหกิจอยูภ
จัดตั้งเป็ นของตนเองเท่ านั้น
 ให้มีการรับฟั งความคิดเห็นจากผูม
้ ีส่วนได้เสี ยและจัดทารายงานประจาปี
 เพิ่มโทษระวางในกรณี ที่มีการร่ วมมือกันระหว่างผูป
้ ระกอบการเพื่อ
ผูกขาดและลดการแข่งขัน

8
ประเด็นวิเคราะห์
 เสนอประเด็นวิเคราะห์แบบภาพรวมสาหรับกฎหมายการ
แข่งขันทางการค้า
 เพื่อให้เกิดการบังคับใช้ และ เพิ่มประสิ ทธิ ภาพได้จริ ง
 การวิเคราะห์มาจากมุมมองทางเศรษฐศาสตร์ เป็ นหลัก
9
ประเด็นวิเคราะห์ 1: รัฐวิสาหกิจ
 กฎหมายควรครอบคลุมรัฐวิสาหกิจทั้งหมด ยกเว้นที่มีกลไกกับกับดูแล
เป็ นของตนเอง ไม่ใช่ที่มีกฎหมายจัดตั้งเป็ นของตนเอง
 ปั จจุบน
ั มีรัฐวิสาหกิจที่มีกฎหมายจัดตั้งเป็ นของตนเองอยูท่ ้ งั สิ้ น
38 แห่งที่ยงั ไม่มีกลไกกากับดูแล เช่น
การประปา
การรถไฟฟ้ าขนส่ งมวลชนแห่งประเทศไทย
การรถไฟแห่งประเทศไทย
องค์การขนส่ งมวลชนกรุ งเทพ
10
ประเด็นวิเคราะห์ 2 : ขอบเขตตลาด
 ยังไม่ มีแนวทางการคานวณที่ชดั เจน
การบังคับใช้มาตรา 25 ผูป้ ระกอบการจะต้องมีอานาจเหนือตลาด
ก่อน ดังนั้น ต้องมี guideline ในการคานวณที่ชดั เจน
• ในระยะสั้นอาจจะใช้ขอบเขต 1 ตลาด = สิ นค้า 1 ประเภท, price
correlation test, price difference test.
• ในระยะยาวต้องใช้วิธีการคานวณที่แม่นยา เช่น SSNIP test
(Small but Significant Non-transitory Increase in Price), barriers
to entry ฯลฯ
11

ประเด็นวิเคราะห์ 3 : อานาจเหนือตลาด
 เกณฑ์ในปั จจุบน
ั ค่อนข้างสูง
ในปัจจุบนั ผูท้ ี่มีอานาจเหนือตลาดจะต้อง
1.มีส่วนแบ่งตลาดตั้งแต่ร้อยละ 50 ขึ้นไปและมียอดเงินขายในปี ที่
ผ่านมาตั้งแต่ 1,000 ล้านบาทขึ้นไป หรื อ
2.สามรายแรกที่มีส่วนแบ่งตลาดรวมกันตั้งแต่ร้อยละ 75 ขึ้นไป
และมียอดเงินขายในปี ที่ผา่ นมาตั้งแต่ 1,000 ล้านบาทขึ้นไป
 ควรหาเกณฑ์การคานวณใหม่ อย่ างน้ อยต้ องครอบคลุมห่ วงโซ่
อุปทานของสิ นค้ าจาเป็ น เช่ น นา้ ดื่ม อาหาร ทีอ่ ยู่อาศัย ฯลฯ
12

ประเด็นวิเคราะห์ 4 : การควบรวมกิจการ
 ยังไม่ มีหลักเกณฑ์เพื่อการให้อนุญาตที่ชดั เจน
มาตรา 27 (กระทาการผูกขาด หรื อลดการแข่งขันตามที่กฎหมาย
ระบุ) ให้ขออนุญาตคณะกรรมการฯ และสามารถได้รับการอนุญาต
ได้หากคณะกรรมการเห็นว่า

“เป็ นประโยชน์ ต่อการส่ งเสริ มการประกอบธุรกิจ โดยไม่ ก่อให้ เกิดการแข่ งขันที่ ไม่
เสรี และไม่ เป็ นธรรม ไม่ เกิดความเสี ยหายต่ อเศรษฐกิจอย่ างร้ ายแรง และไม่ กระทบ
ประโยชน์ สาคัญอันควรมีควรได้ ของผู้บริ โภคส่ วนรวม”
13
ประเด็นวิเคราะห์ 5 : การปกป้ องสิ ทธิผบู้ ริ โภค
 บทบัญญัติ และการปฏิบตั ิยงั มิได้มุ่งเน้นเท่าที่ควร
ผูบ้ ริ โภคได้รับผลกระทบจากการละเมิดกฎหมายนี้โดยตรง
ปั จจุบน
ั สานักงานคณะกรรมการการแข่งขันทางการค้ารับเรื่ อง
ร้องเรี ยนจากผูป้ ระกอบการเท่านั้น
สานักงานฯ ควรใช้เกณฑ์การกระทาผิดกฎหมาย พ.ร.บ.แข่งขันทาง
การค้าเป็ นเกณฑ์รับเรื่ องร้องเรี ยน ไม่ใช่ใช้ผรู ้ ้องเป็ นเกณฑ์

14
ประเด็นวิเคราะห์ 6 : บทลงโทษ
 ค่าปรับไม่น่าจะสู งพอ
พ.ร.บ. แข่งขันทางการค้า พ.ศ. 2542 จาคุกไม่เกิน 3 ปี หรื อปรับไม่
เกิน 6 ล้านบาทหรื อทั้งจาทั้ง ปรับ
 ร่ าง พ.ร.บ. จาคุกไม่เกิน 6 ปี หรื อปรับไม่เกิน 12 ล้านบาทหรื อทั้งจา
ทั้งปรับ
 น่ าจะปรับแบบสัดส่ วน - ในอเมริ กา ปรับ 3 เท่าของมูลค่าความ
เสี ยหาย แต่ไม่เกิน ร้อยละ 10 ของรายได้บริ ษทั จากทัว่ โลก

 ไม่ควรใช้บทลงโทษทางอาญา
15
ประเด็นวิเคราะห์ 7 : องค์ประกอบของคณะกรรมการ
 การที่ร่างกฎหมายฯ ให้ความเป็ นอิสระแก่สานักงานฯ นั้นควร
แล้ว
 แต่องค์ประกอบของคณะกรรมการน่าจะยังไม่เหมาะสม
มาตรา 10 วรรคสอง ของร่ างกฎหมายฯ ระบุวา่ กรรมการต้องเป็ นผูเ้ ชี่ยวชาญ
หรื อ มีประสบการณ์ไม่นอ้ ยกว่าสิ บห้าปี ในสาขานิติศาสตร์ พาณิ ชยศาสตร์
เศรษฐศาสตร์ การเงิน อุตสาหกรรม การบริ หารธุรกิจหรื อการบริ หารราชการ
แผ่นดิน
 เสนอให้มาจาก สาขานิ ติศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ และ การคุม
้ ครองผูบ้ ริ โภค
อย่างละ 3 คน รวมทั้งหมด 9 คน
16

ขอบคุณค่ะ
17