คลิ๊ก - ประชุมวิชาการระดับชาติและนานาชาติ ประจำปี 2557

Download Report

Transcript คลิ๊ก - ประชุมวิชาการระดับชาติและนานาชาติ ประจำปี 2557

ประชาคม ASEAN :
จุดเปลีย่ นการพัฒนาเศรษฐกิจสังคมไทย
ดร.ณรงค์ชยั อัครเศรณี
มหาวิทยาลัยขอนแก่น
11 มิถุนายน 2557
ขอนแก่น
ประชาคม ASEAN :
จุดเปลีย่ นการพัฒนาเศรษฐกิจสังคมไทย
1. ความเป็ นประชาคม ASEAN (AC)
2. ประวัตค
ิ วามเป็ นมาของประชาคม ASEAN + GMS
3. AC กับจุดเปลีย่ นการพัฒนาเศรษฐกิจสังคมไทย
4. การเข้าสู่ AC ของประเทศไทย
2
1. ความเป็ นประชาคม ASEAN (AC)

จาก SEATO สู่ ASEAN
1954
1997
1995
1997
1967
1999
1967
1967
1967
1984
1954-1977 – SEATO จากการ
ผลักดันโดยสหรัฐ
1967
1967 --- ก่อตัง้ ASEAN โดยเริม
่
จาก 5 ประเทศ แล้วค่อยๆขยาย
เป็ น 10 ประเทศ
3
1. ความเป็ น AC (ต่อ)
ี น
ภาพรวมโครงสร้า งประชาคมอาเซ ย
กฎบัตรอาเซียน (ASEAN Charter)
เปรียบเสมือนธรรมนูญของอาเซียน
“วิสัยทัศนเดี
์ ยว อัตลักษณเดี
์ ยว ประชาคมเดียว”
ประชาคมอาเซียน
ประชาคม
การเมืองและ
ความมัน
่ คง
APSC Blueprint
ประชาคม
เศรษฐกิจ
AEC Blueprint
ประชาคมสั งคม
และวัฒนธรรม
ASCC Blueprint
แผนแมบทว
าด
อ
่ มโยงระหวางกั
นในอาเซียน
่
่ วยความเชื
้
่
(MPAC)
(ดานกายภาพ
ดานสถาบั
น และดานประชาชน)
้
้
้
4
1. ความเป็ น AC (ต่อ)
4 เป้าหมายใน AEC Blueprint เพื่อการเป็นหนึง่ เดียว คือ ASEAN
การเป็ นตลาดและฐานการผลิต
เดียวกัน
1
3
การเป็ นภูมภิ าคทีม่ คี วาม
สามารถในการแข่ งขันสู ง
Single Market and
Production Base
High Competitive
Economic Region
Equitable Economic
Development
Integration into
Global Economy
การเป็ นภูมภิ าคทีม่ กี ารพัฒนา
ทางเศรษฐกิจทีเ่ ท่ าเทียมกัน
2
การเป็ นภูมภิ าคทีบ่ ูรณาการเข้ า
กับเศรษฐกิจโลกได้ อย่างสมบูรณ์ 4
5
1. ความเป็ น AC (ต่อ)
้ ใน AEC ตงแต่
สงิ่ ทีจ
่ ะเกิดขึน
ั้
ปี 2015....
สินค้า
ธุรกิจ
บริการ
ลงทุน
• ภาษีนาเข้าลดมาตัง้ แต่ 1994 ลงเป็นศูนย์ /
อุปสรรคนาเข้าระหว่าง ASEAN ด้วยกันหมดไป
ตลาด 10
ประเทศรวม
เป็นหนึง่
• ทาธุรกิจบริการใน ASEAN ได้อย่างเสรีมากขึน
้
• ลงทุนใน ASEAN ได้อย่างเสรี
แรงงาน
• แรงงานมีฝม
ี อ
ื ทีม
่ ี MRAs เคลือ
่ นย้ายได้อย่างเสรีใน ASEAN
เงินทุน
• เคลือ
่ นย้ายเงินทุนได้อย่างเสรีมากขึน
้ ใน ASEAN
6
2. ประวัตค
ิ วามเป็ นมาของประชาคม ASEAN+GMS
ี
AEC : เป็นหนึง่ ในหลายกรอบความร่วมมือของเอเชย
AC in
2015
APEC
2020
FTAAP
2008
ASEAN Charter
in effect
AKFTA
effective Jan 10
2007
CEBU Concord
ASEAN Community
by 2015
AJCEP
effective Jun 09
1998, AIA
1996, AFAS
ACFTA
effective Oct 03
1993, AFTA
ABMI – Aug 03
1977, PTA
CMI – May 00
SEATO
1954-1977
APEC
1993
ASEAN -10
1967 -1999
ASEM
1995
ASEAN +3
1999
2003
Proposed EAFTA
CEPEA
/ EAC?
AANZFTA
effective
Jan 10
AIFTA
ASEAN +6
EAS
2005
ASEAN + 8
signed Aug 09
Trade in goods
effective Jan 10
ASEAN+6
2010
7
2. ประวัตค
ิ วามเป็ นมาของ AC + GMS (ต่อ)
 ASEAN – Association of Southeast Asian Nations
 1954 SEATO (South east Asia Treaty Organization – US initiative)
 1967 ASEAN 5 (อินโดนีเซีย, มาเลเซีย, ฟิ ลิปปิ นส์, สิงคโปร์, ไทย) บรูไนเข้าร่วม
ในปี 1984
 1978 จีนเริม
่ ใช้ระบบเศรษฐกิจตลาดบางส่วน
 1989 สิน
้ สุดสงครามเย็น
 1991 สหภาพโซเวียต แยกตัว
การแผ่ขยายของระบบเศรษฐกิจตลาด + ประชาธิปไตย
 1995 อาเซียนเริม
่ ขยายตัวจาก ASEAN 6 เป็ น ASEAN 10 (เวียดนาม, 1995;
ลาว, 1997; พม่า, 1997; กัมพูชา, 1999)
 2008 มีกฎบัตรอาเซียนทีน
่ าไปสูก
่ ารเป็ นประชาคม ASEAN (ASEAN
Community)
 2015 ASEAN Community
– เศรษฐกิจ
Free flow of goods and services + investment and
professionals
– สังคม
Social harmony
– มั่นคง
Common security policy
8
2. ประวัตค
ิ วามเป็ นมาของ AC + GMS (ต่อ)
 จาก ASEAN – 6 สู่ ASEAN -10 และผลกระทบต่อ ประเทศไทย
• ประเทศไทยใกล้ ชิ ด กับ CLMV มากกว่ า
o ภู มิ ศ าสตร์ เป็ นแผ่ น ดิ น ใหญ่ ด้ ว ยกัน
o วัฒนธรรม รับอิทธิพลจากอินเดียและจีนใกล้เคียงกัน
o ประวัตศ
ิ าสตร์ เศรษฐกิจ / การเมือง ทาให้หา่ งกัน
้ ฝรั่งเศส (1850 – 1946 + สงครามอินโดจีน –
- เวียดนาม ลาว เขมร เป็ นเมืองขึน
1954)
้ อังกฤษ ((1855 -1888) – 1948))
- พม่าเป็ นเมืองขึน
- สงครามเวียดนาม 1955 – 1975
- สงครามเย็น ทุนนิยม VS สังคมนิยม (คอมมิวนิสต์) 1964 – 1989
CLMV มีธุรกิจกับนานาชาติน้อยจนสงครามเย็นยุติ
• CLMV เริ่ ม เปลี่ ย นเป็ นเศรษฐกิ จ ระบบตลาด ตั้ง แต่ 1990 จึ ง เริ่ ม เข้ า เป็ น
สมาชิ ก ASEAN
• เมื่ อ รวม Y UNNAN กับ G UANGXI กลุ่ ม นี้ เ ป็ น GMS เริ่ ม 1992
9
2. ประวัตค
ิ วามเป็ นมาของ AC + GMS (ต่อ)
GMS -- Greater Mekong Subregion (1992)
กัมพูชา, ลาว, พม่า, เวียดนาม,
CLMV
ไทย, ยูนนาน + กวางสี - จีน
• ความร่วมมือในการพัฒนาเศรษฐกิจโดยใช้แนวทาง
ของเศรษฐกิจระบบตลาด --- มี 9 สาขา
– คมนาคมขนส่ง
– โทรคมนาคม
– พลังงาน
มุง่ เน้นการเชือ
่ มโยง
(Connectivity) เป็ น
กลยุทธ์หลัก
– การค้า
– การลงทุน
– การเกษตร
– สิง่ แวดล้อม
The 3rd Thai-Lao Bridge, opened on 11/11/2011
– การท่องเทีย่ ว
– การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
• การเปลีย่ นแปลงในพม่าตัง้ แต่ปี 2010 ช่วยเร่งการ
รวมตัวใน GMS (และ ASEAN)
10
3. AC กับจุดเปลีย่ นการพัฒนาเศรษฐกิจสังคมไทย
 ASEAN 10 จัดได้เป็ น
 Mainland ASEAN
–C L M
 Maritime ASEAN
–B I
V
T
Ma Ph S
 ไทยเป็ นศูนย์กลางของ Mainland ASEAN / GMS
 ภูมศ
ิ าสตร์เศรษฐกิจ / สังคมของไทย เปลีย่ นแปลง
 ประเทศไทยเป็ นภาคกลางของ ASEAN
– ภาคอีสาน / ภาคเหนือของไทย เป็ นภาคกลางของ GMS
้
 ใกล้ชด
ิ กับ CLMV และจีนตอนใต้มากขึน
– ภาคใต้ตอนล่างของไทย เป็ นภาคเหนือของมาเลเซีย
 รับผลกระทบของเศรษฐกิจ สังคมมาเลเซีย (มุสลิม)
11
3. AC กับจุดเปลีย่ น (ต่อ)
 เกิดการขยายตัวของเมือง (Urbanization) ใกล้ชายแดน ห่างไกล กทม.อย่าง
รวดเร็ว
 เกิดการเคลือ
่ นย้ายประชากร (migration) ทีส
่ ร้างโอกาสและปัญหา
 เกิดการพัฒนาและปัญหาเศรษฐกิจ / สังคม เหมือน / คล้ายกันทั่วประเทศไทย
– การทางาน / อยูอ
่ าศัย / จราจร
– การศึกษา / สาธารณสุข
– สิง่ แวดล้อม / ขยะ
– อาชญากรรม / ยาเสพย์ตด
ิ
ฯลฯ ฯลฯ ...
 จาก หนึ่งสัญชาติ / น้อยเชื้อชาติ
เป็ นสิบสัญชาติ / มากเชื้อชาติ
 ประชากร จาก 65 ล้านคน
เป็ นกว่า 600 ล้านคน
 GDP จาก US$ 400 B
เป็ น US$ 2400 B (ปี 2013)
 การเมือง จากมีพรมแดน (Bordered) เป็ นไร้ / น้อยพรมแดน (Borderless,
Less Border)
12
3. AC กับจุดเปลีย่ น (ต่อ)
 ประเทศไทยกับ AC มีมต
ิ ท
ิ างยุทธศาสตร์ คือ
– ความสามารถทางการแข่งขัน (Competitiveness)
– ความสามารถทางการแบ่งปัน (Compassionateness)
 ส่วนทีเ่ ป็ น ASEAN แผ่นดินใหญ่ (Mainland)
– ไทยต้องให้ความสาคัญต่อการแบ่งปันมากกว่าการแข่งขัน
 ส่วนทีเ่ ป็ น ASEAN ทางทะเล (Maritime)
– ไทยต้องให้ความสาคัญต่อการแข่งขันมากกว่าการแบ่งปัน
13
3. AC กับจุดเปลีย่ น (ต่อ)
 ภาคอีสาน / ภาคเหนือ
– เชือ
่ มโยงกับ ASEAN แผ่นดินใหญ่ (CLMV)
– ต้องมีบทบาทต่อการแบ่งปันมากกว่าแข่งขัน
– ต้องให้ความสาคัญต่อภาคสังคม มากกว่าหรือไม่น้อยกว่าภาค
เศรษฐกิจ
 ภาคกลาง
– ต้องมีบทบาทในการสร้างความสามารถทางการแข่งขันของ
ประเทศ
– พัฒนาอุตสาหกรรมและภาคบริการ โดยมี ASEAN เป็ น
เครือข่าย เป็ นฐาน ฯลฯ
14
3. AC กับจุดเปลีย่ น (ต่อ)
 ลาดับความสาคัญของภาควิชาการ
– กลุม
่ ภาควิชา
การศึกษา
มนุษยศาสตร์ / สังคมศาสตร์
ศิลปกรรม / สถาปัตยกรรม และสิง่ แวดล้อม
– กลุม
่ ภาควิชา
การแพทย์และพยาบาล / สาธารณสุข เภสัชกรรม
– กลุม
่ ภาควิชา
การเกษตร เทคโนโลยีและวิทยาศาสตร์ และบริหารจัดการ
 กิจกรรมเพือ
่ ส่งเสริมบทบาท
– การเรียนการสอน เพือ
่ สร้างความรูค
้ วามเข้าใจใน ASEAN เน้นประเทศ CLMV + ให้
ทุนการศึกษา
– การขยายขอบข่ายบริการทางการแพทย์ และสาธารณสุข
– งานวิจยั ทีม
่ ีมต
ิ ท
ิ างพื้นที่ (Area Study) ใน CLMVT+ โดยมีการร่วมงานกับนักวิจยั ใน
และนอกพื้นที่
– งานให้คาปรึกษาและร่วมพัฒนาพื้นที่ (Area / Community Development) ทัง้ มิติ
ทางสังคมและเศรษฐกิจ
– งานพิทกั ษ์ สงิ่ แวดล้อม
15
4. การเข้าสู่ AC ของประเทศไทย
สรางความร
วมมื
อแบบหุ้นส่วนการพัฒนา
้
่
เพือ
่ ความมัน
่ คงทางเศรษฐกิจและสั งคม
ยุทธศาสตรสาม
์
วงเศรษฐกิจ
Sub-regional
(GMS, IMT-GT,
ACMECS,
BIMSTEC)
1
For Expanded
Economic Bases
ความร่วมมือกับ
GMS
2
ASEAN
For Better
Resources
Allocation
การเตรียมความพร้อมเรือ
่ ง
• NTBs / NTMs
• AFAS
• MRA
Asia Pacific
ASEAN+3
ASEAN+6
~APEC
3
For Global
Participation
การเผยแพร่ความรู้ /
ความเข้าใจเรือ
่ ง
ASEAN
16
4. การเข้าสู่ AC ของประเทศไทย (ต่อ)
•ความเชื่อมโยง
•ความสามารถในการรองรับ
•กฎ ระเบียบการขนส่ งสิ นค้า/ผูโ้ ดยสาร
•การคุม้ ครอง
แรงงาน
•สวัสดิการสังคม
•สภาพแวดล้อม
2.การพัฒนา
คุณภาพชีวิต
และการ
คุม้ ครอง
ทางสังคม
3. การพัฒนา
โครงสร้าง
พื้ นฐานและ
โลจิสติกส์
ั ัศน์
วิสยท
1. การเสริม
สร้างความสามารถ
ในการแข่งขัน
ของสินค้า บริการ
•ศักยภาพภาคการผลิต
า และ
•มาตรฐานสิ นค้าและบริ การ การค้
การลงทุน
•ตลาดและฐานการผลิตเดียว
•เมืองหลวง
•เมืองอุตสาหกรรม
•เมืองท่องเที่ยวบริ การ
•เมืองการค้าชายแดน
8. การเพิ่ม
ศักยภาพของ
เมืองเพื่อ
เชื่อมโยงโอกาส
จากอาเซียน
ประเทศไทยเป็น
ิ ทีเ่ ข้มแข็ง
สมาชก
และสน ับสนุน
คุณภาพชวี ต
ิ ทีด
่ ี
ของประชาชน
ี นร่วมก ัน
อาเซย
7. การ
เสริมสร้าง
ความมัน่ คง
4. การ
พัฒนา
ทรัพยากร
มนุ ษย์
•ทักษะภาษาอังกฤษ
•ทักษะฝี มือแรงงาน / ผูป้ ระกอบการ
•มาตรฐานฝี มือ
•หลักสู ตรการศึกษา
•เครื อข่ายความร่ วมมือกับประเทศ
สมาชิก
5. การ
พัฒนา
กฎหมาย กฎ
และระเบียบ
6. การ
สร้างความรู้
ความเข้าใจและ
ความตระหนัก
ถึงการเป็ น
ประชาคม
อาเซียน
•พันธกรณี
•อานวยความสะดวก
การค้า การลงทุน
•ปกป้ องผลประโยชน์
ของประเทศ
•ตระหนักรู ้ทุกกลุ่มทุกวัย
•องค์ความรู้อาเซียน
•วัฒนธรรมระหว่างประเทศ
สมาชิก
•ความร่ วมมือระหว่างประเทศเพื่อนาไปสู่ ภูมิภาคที่มี
บรรทัดฐาน เอกภาพ และสันติภาพร่ วมกัน
ยุ ท ธศาสตร์ก ารเข้า สู่ ป ระชาคมอาเซี ย น ปี 2558
17