การเตรียมความพร้อมเข้าสู่อาเซียน AEC กรมอาเซียน กต.1

Download Report

Transcript การเตรียมความพร้อมเข้าสู่อาเซียน AEC กรมอาเซียน กต.1

การบรรยาย
เรื่อง ประชาคมอาเซียน
สานักงานปลัดสานักนายกรั ฐมนตรี
โดย นางสุทธิลักษณ์ สง่ ามั่งคั่ง
กรมอาเซียน กระทรวงการต่ างประเทศ
3 กุมภาพันธ์ 2555
จุดเริ่มต้ นของอาเซียน
สมาคมแห่ งประชาชาติเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
(Association of Southeast Asian Nations: ASEAN)
ก่ อตัง้ โดยปฏิญญากรุ งเทพ (Bangkok Declaration) เมื่อ 8 สิงหาคม 2510
ASEAN Factsheet
ประชากร – 600.15 ล้ านคน
พืน้ ที่- 4.5 ล้ าน ตาราง กม.
GDP รวม 1,540 พันล้ านดอลลาร์ สหรัฐ
การค้ ารวม 1,800 พันล้ านเหรียญสหรัฐ
การลงทุนจากต่ างประเทศ 39,623 ล้ านเหรียญสหรัฐ
สมาชิกผู้ก่อตัง้
• ไทย
• มาเลเซีย
• อินโดนีเซีย
• ฟิ ลิปปิ นส์
• สิงคโปร์
สมาชิกเพิ่มเติม
+ บรู ไน ดารุ สซาลาม
ปี 1984
+ เวียดนาม ปี 1995
+ ลาว ปี 1997
+ พม่ า ปี 1997
+ กัมพูชา ปี 1999
ธงอาเซียน
เลขาธิการอาเซียน
(Secretary-General of ASEAN)
ดร. สุรินทร์ พิศสุวรรณ
• ดารงตาแหน่ งเลขาธิการอาเซียน
ตัง้ แต่ ปี 2551
• วาระ 5 ปี
สานักเลขาธิการอาเซียน
ตัง้ อยู่ท่ กี รุ งจาการ์ ตา อินโดนีเซีย
ความสาคัญของอาเซียนต่ อไทย
►เป็ นคู่ค้าอันดับหนึ่งของไทย
►มูลค่ าการค้ าระหว่ างกัน 59,250 ล้ าน ดอลลาร์ สหรั ฐ
คิดเป็ นร้ อยละ 21.3 ของมูลค่ าการค้ าทัง้ หมดของไทย
►เป็ นตลาดส่ งออกที่สาคัญ คิดเป็ นร้ อยละ 20.7 ของ
มูลค่ าการส่ งออกทัง้ หมดของไทย
►ไทยได้ เปรี ยบดุลการค้ าถึง 1 หมื่นล้ านดอลลาร์ สหรั ฐ
• สมาชิกอาเซียนเข้ ามาลงทุนในไทย 669.43 ล้ านดอลลาร์
สหรัฐ และไทยไปลงทุนในอาเซียน 1,962.01 ล้ านดอลลาร์
สหรัฐ (ข้ อมูลปี 2552)
• ในปี 2553 มีนักท่ องเที่ยวอาเซียน 4.5 ล้ านคน คิดเป็ น
ร้ อยละ 28.45 ของนักท่ องเที่ยวต่ างชาติทงั ้ หมด
ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community)
► ผู้นาประเทศสมาชิกอาเซียนให้ การรั บรองเอกสารสาคัญคือ
Bali Concord II เมื่อปี 2548 และมีแผนปฏิบัตกิ ารเวียงจันทน์
(Vientiane Action Programme) ซึ่งกาหนดเป้าหมายการสร้ าง
ประชาคมอาเซียนภายในปี 2563
►การประชุมสุดยอดอาเซียน ครั ง้ ที่ 12 ที่เซบู ฟิ ลิปปิ นส์
เมื่อปี 2550 เร่ งรัดเป้าหมายการจัดตัง้ ประชาคมให้ เร็ วขึน้
จากปี 2563 เป็ นปี 2558
ประชาคมอาเซียนประกอบด้ วย 3 เสาหลัก
1. ประชาคมการเมืองและความมั่นคง
(ASEAN Political-Security Community: APSC)
2. ประชาคมเศรษฐกิจ
(ASEAN Economic Community: AEC)
3. ประชาคมสังคมและวัฒนธรรม
(ASEAN Socio-Cultural Community: ASCC)
กฎบัตรอาเซียน
ลงนามเมื่อ 20 พ.ย. 2550 เพื่อเป็ นธรรมนูญของอาเซียน
และมีผลบังคับใช้ ตงั ้ แต่ 15 ธ.ค. 2551
- มีกฎกติกาในการทางาน
- มีประสิทธิภาพมากขึน
้
- มีประชาชนเป็ นศูนย์ กลาง
- เป็ นการวางรากฐานสาหรั บการรวมตัวเป็ นประชาคมอาเซียน
ภายในปี 2558
ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน
(ASEAN Political-Security Community: APSC)
วัตถุประสงค์
► ส่ งเสริ มสันติภาพและความมั่นคงของภูมิภาค
► อยู่ร่วมกันโดยสันติสุข
► สามารถแก้ ไขปั ญหาข้ อขัดแย้ งโดยสันติวิธี
แผนงานการจัดตัง้ ประชาคมการเมืองและความมั่นคงมีเป้าหมายหลัก
► มีกฎกติกาเป็ นพืน
้ ฐานภายใต้ ค่านิยมร่ วมกัน
► มีความรั บผิดชอบร่ วมกันในการรั กษาความมั่นคงสาหรั บ
ประชาชนที่ครอบคลุมอย่ างรอบด้ าน เช่ น ภัยพิบัติ
► มีปฏิสัมพันธ์ กับโลกภายนอก
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community: AEC)
1. เป็ นตลาดและฐานการผลิตเดียว
เคลื่อนย้ ายสินค้ าเสรี
เคลื่อนย้ ายบริการอย่างเสรี
เคลื่อนย้ ายการลงทุนอย่างเสรี
เคลื่อนย้ ายแรงงานมีฝีมืออย่างเสรี
เคลื่อนย้ ายเงินทุนอย่างเสรีมากขึ้น
2. มีความสามารถในการแข่งขัน
ปี 2015
3. มีการพัฒนาเศรษฐกิจอย่างเสมอภาค
ลดช่องว่างการพัฒนา
ระหว่างสมาชิกเก่า-ใหม่
สนับสนุนการพัฒนา SMEs
e-ASEAN
นโยบายภาษี
นโยบายการแข่งขัน
สิทธิทรัพย์สนิ ทางปัญญา
การคุ้มครองผู้บริโภค
พัฒนาโครงสร้ างพื้นฐาน
4. สามารถบูรณาการเข้ากับเศรษฐกิจโลก
ปรับประสานนโยบายเศรษฐกิจ
สร้ างเครือข่ายการผลิต จาหน่าย
จัดทา FTA กับประเทศนอกภูมิภาค
13
การเคลื่อนย้ายแรงงานฝี มืออย่างเสรี
1. การจัดตัง้ กรอบทักษะฝี มือแรงงานระดับประเทศ
2. การจัดทาข้ อตกลงยอมรับร่ วม (MRA)
เป้าหมายหลัก
- บูรณาการมาตรฐานและระบบการให้ การรับรองฝี มือ
แรงงานอาเชียนเข้ าด้ วยกัน
- ดาเนินการอย่ างเป็ นรูปธรรมเพื่อบรรลุมาตรฐานฝี มือและ
แนวปฏิบัตทิ ่ สี อดประสานกัน
- บรรลุการเป็ นตลาดแรงงานอาเซียนที่มีฝืมือและคุณภาพ
เพื่อก้ าวไปสู่การเป็ นประชาคมอาเซียนในปี ค.ศ. 2015
การจัดทาร่ างข้ อตกลง MRA
(Mutual recognition Arrangement)
► ส่ งเสริ มการเคลื่อนย้ ายแรงงานภายใต้ กรอบความตกลงด้ านการค้ า
บริการของอาเซียน (ASEAN Framework Agreement on Service AFAS)
► เป็ นพันธกรณีให้ อาเซียนยอมรั บร่ วมกันในเรื่ อง
 คุณสมบัตแิ รงงานฝี มือ
 ประวัตกิ ารศึกษา
 ประสบการณ์ การทางาน
ซึ่งเป็ นปั จจัยสาคัญในการขอรั บใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ เพื่ออานวย
ความสะดวกในขัน้ ตอนการขอใบอนุญาต
การจัดทาร่ างข้ อตกลง MRA (ต่ อ)
► ข้ อตกลง MRA ได้ มีการลงนามจัดทามาแล้ วทัง้ หมด








บริการด้ านวิศวกรรม
บริการด้ านพยาบาล
บริการด้ านสถาปั ตยกรรม
วิชาชีพสารวจ
วิชาชีพการท่ องเที่ยว
วิชาชีพแพทย์
วิชาชีพทันตแพทย์
บริการด้ านการบัญชี
8 ฉบับ ได้ แก่
(ลงนามในเดือนธันวาคม ค.ศ. 2005)
(ลงนามในเดือนธันวาคม ค.ศ. 2003)
(ลงนามในเดือนพฤษจิกายน ค.ศ. 2007)
(ลงนามในเดือนพฤษจิกายน ค.ศ. 2007)
(ลงนามในเดือนมกราคม ค.ศ. 2009)
(ลงนามในเดือนกุมภาพันธ์ ค.ศ. 2009)
(ลงนามในเดือนกุมภาพันธ์ ค.ศ. 2009)
(ลงนามในเดือนกุมภาพันธ์ ค.ศ. 2009)
ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน
(ASEAN Socio-Cultural Community: ASCC)
วัตถุประสงค์
มุ่งหวังเป็ นประชาคมที่มีประชาชนเป็ นศูนย์ กลาง มีสังคมที่เอือ้ อาทรและ
แบ่ งปั น ให้ ประชาชนมีการกินดีอยู่ดี ปราศจากโรคภัย มีส่ งิ แวดล้ อมที่ดี
มีความรู้สกึ เป็ นอันหนึ่งอันเดียวกัน
แผนการจัดตัง้ ประชาคมฯ ประกอบด้ วยความร่ วมมือ 6 ด้ าน ได้ แก่
► การพัฒนาทรั พยากรมนุษย์
► การคุ้มครองและสวัสดิการสังคม
► ความยุตธ
ิ รรมและสิทธิ
► ส่ งเสริ มความยั่งยืนด้ านสิ่งแวดล้ อม
► การสร้ างอัตลักษณ์ อาเซียน
► การลดช่ องว่ างทางการพัฒนา
ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community)
ปี 2558 (2015)
ประชาคม
การเมืองและ
ความมั่นคง
อาเซียน
(APSC)
ประชาคมเศรษฐกิจ
(AEC)
ประชาคม
สังคมและ
วัฒนธรรม
อาเซียน
(ASCC)
โครงสร้ างอาเซียนภายใต้ กฎบัตรอาเซียน
การประชุมสุดยอดอาเซียน
คณะมนตรีประสานงานอาเซียน
คณะมนตรี ประชาคม
การเมืองและความมั่นคง
คณะมนตรี ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
คณะมนตรี ประชาคมสังคมและ
วัฒนธรรมอาเซียน
องค์ กรระดับรั ฐมนตรี อาเซียน
เฉพาะสาขา
เช่ น การประชุมรั ฐมนตรี กลาโหม
องค์ กรระดับรั ฐมนตรี อาเซียน
เฉพาะสาขา
เช่ น การประชุมรั ฐมนตรี อาเซียน
ด้ านการคลัง
องค์ กรระดับรั ฐมนตรี อาเซียน
เฉพาะสาขา
เช่ น การประชุมรั ฐมนตรี อาเซียน
ด้ านสวัสดิการสังคมและการพัฒนา
ความเชื่อมโยงระหว่ างกันในอาเซียน(Connectivity)
การประชุมสุดยอดอาเซียน ครัง้ ที่ 19 ที่บาหลี อินโดนีเซีย
เมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน 2554
ความเชื่อมโยงระหว่ างกันในอาเซียน
(ASEAN Connectivity)
► เป็ นผลจากความริ เริ่ มของไทยในช่ วงที่ไทยเป็ นประธานอาเซียน
เมื่อปี 2552
► แผนแม่ บทฯ ระบุการเชื่อมโยง 3 ด้ าน คือ ด้ านโครงสร้ างพืน
้ ฐาน
ด้ านกฎระเบียบ และด้ านประชาชน
► ในการประชุมสุดยอด ครั ง้ ที่ 18 ผู้นาอาเซียนได้ สนับสนุนข้ อเสนอ
ของไทยที่จะให้ มีการเชื่อมโยงที่ขยายไปถึงภูมิภาคอื่นด้ วย
(Connectivity Plus)
แผนแม่ บทความเชื่อมโยงระหว่ างกันในอาเซียน
Master Plan on ASEAN Connectivity
1. ด้ านโครงสร้ าง
พืน้ ฐาน
2. ด้ านกฎระเบียบ
3. ด้ านประชาชน
• คมนาคม
• เทคโนโลยี ส ารสนเทศ
และการสื่อสาร
• พลังงาน
• การเปิ ดเสรี การอานวย
ความสะดวกทางการค้ า
การบริการและการลงทุน
• ความตกลง/ข้ อตกลง
ยอมรั บร่ วมกัน
• ความตกลงการขนส่ งใน
ภูมิภาค
• พิธีการในการข้ าม
พรมแดน
• โครงการเสริมสร้ าง
ศักยภาพ
• การศึกษาและวัฒนธรรม
• การท่ องเที่ยว
 เพิ่มพูนการรวมตัวและความ
ร่ วมมือของอาเซียน
 เพิ่มความสามารถการแข่ งขันของอาเซียน
จากเครื อข่ ายการผลิตในภูมิภาคที่เข้ มแข็ง
 วิถีชีวติ ของประชาชนดีขนึ ้
 ปรั บปรุ งกฎระเบียบและ
ธรรมาภิบาลของอาเซียน
 เชื่อมต่ อศูนย์ กลางเศรษฐกิจ
และลดช่ องว่ างการพัฒนา
 ส่ งเสริมการพัฒนาเศรษฐกิจ
และสังคมของท้ องถิ่น
 เพิ่มพูนความพยายามในการ
จัดการ/ส่ งเสริมการ
พัฒนาอย่ างยั่งยืน
 สามารถจัดการกับผลกระทบ
ทางลบที่เกิดจากความเชื่อมโยง
ประชาคมการเมืองและความมัน่ คงอาเซียน
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน
การสร้ างประชาคมอาเซียน
เพิ่มพูนกฎระเบียบ
และธรรมมาภิบาล
ในอาเซียน
เพิ่มพูนการรวมกลุ่มและ
ความสามารถในการ
แข่ งขันของอาเซียน
ลดช่องว่างการพัฒนา
เพิ่มพูนการรวมกลุ่มและ
ความสามารถในการ
แข่ งขันของอาเซียน
ความเชือ่ มโยงด้านประชาชน
การท่องเทีย่ ว
การศึกษา
วัฒนธรรม
ความเชื่อมโยงด้านโครงสร้างพืน้ ฐาน
โครงสร้างพืน้ ฐานแบบแข็ง
การขนส่ง : อากาศ ถนน รถไฟ ทะเล ท่าเรือ การบริการขนส่ง
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร : เครือข่ายใยแก้วนาแสง
พลังงาน : การเชื่อมโยงระบบส่งไฟฟ้าอาเซียน
การเชื่อมโยงท่อส่งก๊าซอาเซียนเขตเศรษฐกิจพิเศษ
ความเชื่อมโยงด้านกฎระเบียบ
โครงสร้างพืน้ ฐานแบบอ่อน
การเปิดเสรีทางการค้า : ความตกลงการค้าสินค้าในอาเซียนมาตรฐาน
การบริการศุลกากร ณ จุดเดียว การรวมศุลกากร
การเปิดเสรีการลงทุน : ความตกลงด้านการลงทุนอาเซียน
การเปิดเสรีบริการ ข้อตกลงยอมรับร่วมความตกลงการขนส่งในภูมภิ าค
โครงการเสริมสร้างศักยภาพ
การระดมทรัพยากร
ทรัพยากรของอาเซียน ธนาคารเพือ่ การพัฒนาพหุภาคี
ประเทศคูเ่ จรจา ภาคเอกชน
ความสัมพันธ์ระหว่างความเชื่อมโยงระหว่างกันของอาเซียนกับประชาคมอาเซียน
ความสัมพันธ์ ระหว่ างอาเซียนกับประเทศ/กลุ่มประเทศนอกภูมิภาค
U.S.A.
Australia
Canada
Russia
New
Zealand
China
ASEAN
South
Korea
EU
Japan
India
อาเซียนกับสหประชาชาติ
วันที่ 27 กันยายน 2550 เลขาธิการอาเซียนและเลขาธิการสหประชาชาติ
ได้ ลงนามในบันทึกความเข้ าใจเพื่อส่ งเสริมความร่ วมมือระหว่ างกัน
ให้ เข้ มแข็งยิ่งขึน้
China
ASEAN
Japan
South
Korea
ASEAN + 3
การประชุมสุดยอดเอเชียตะวันออก
(East Asia Summit : EAS)
China
Japan
South
Korea
U.S.A.
ASEAN
2554
Russia
India
Australia
New
Zealand
สถาปัตยกรรมในภูมิภาค (Regional Architecture)
ARF/ APEC
EAS/ ADMM-Plus
ASEAN+3
ASEAN
เขตการค้ าเสรี อาเซียนกับประเทศคู่เจรจา
ASEAN-Russia
ASEAN-EU FTA
ASEAN-Canada
ASEAN-China FTA
ASEAN-US TIFA
ASEAN-Korea FTA
ASEAN-Japan CEP
ASEAN-Pakistan
ASEAN-India FTA
AEC: 600.15 ล้ านคน
EAFTA: 2129 ล้ านคน
ASEAN-AustraliaNew Zealand FTA
CEPEA: 3365 ล้ านคน
ผลกระทบจากการเป็ น
ประชาคมอาเซียน
ประเด็นท้ าทายของอาเซียน
โครงสร้ างความสัมพันธ์
ในภูมภิ าค
การแข่ งขันของมหาอานาจ
สหรั ฐ รั สเซีย จีน
อินเดีย ญี่ปุ่น
วิกฤตเศรษฐกิจ
และการเงินโลก
สิ่งแวดล้ อม
การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมอิ ากาศ
และภัยพิบัติ
ประชาคมอาเซียน:
ผลกระทบทางลบ
ของการเชื่อมโยงในภูมภิ าค
ความตระหนักรู้ และ
การมีส่วนร่ วมของประชาชน
ผลกระทบจากการรวมตัวเป็ นประชาคมอาเซียน
ผลกระทบด้ านการเมืองและความมั่นคง
► การควบคุมตรวจสอบการดาเนินงานของภาครั ฐที่เข้ มข้ นยิ่งขึน
้
► ปั ญหาอาชญากรรมข้ ามชาติ การลักลอบค้ ามนุษย์ การค้ าอาวุธยา
เสพติดและสารตัง้ ต้ น การลักลอบเข้ าเมืองผิดกฎหมาย
► ช่ องว่ างในการพัฒนาอาจนามาซึ่งความขัดแย้ งทางสังคม
► การส่ งเสริ มความเป็ นประชาธิปไตยและสิทธิมนุษยชน
ด้ านการเมือง
►ปรั บการดาเนินการในภาครั ฐให้ สอดคล้ องกับหลักเกณฑ์
ของการเป็ นประชาคม โดยเฉพาะในด้ านความเป็ น
ประชาธิปไตย ธรรมาภิบาล และความโปร่ งใส
►ต้ องมีท่าทีท่ ใี กล้ เคียงหรื อร่ วมกันมากขึน
้ ในประเด็น global
issues ต่ างๆ
►ต้ องร่ วมมือกันจัดการกับปั ญหาความมั่นคงรู ปแบบใหม่
อย่ างมากขึน้ เช่ น อาชญากรรมข้ ามชาติ การค้ ามนุษย์
การค้ าอาวุธและยาเสพติด
ผลกระทบจากการรวมตัวเป็ นประชาคมอาเซียน
ผลกระทบทางเศรษฐกิจ
► สมาชิกอาเซียนเดิม 6 ประเทศ ลดภาษีเป็ น 0 ตัง้ แต่ 1 ม.ค. 53
► ประเทศสมาชิกใหม่ 4 ประเทศ ลดภาษีเหลืออัตราร้ อยละ 0 - 5
► สาขาที่ได้ รับผลกระทบจากการเปิ ดเสรี ทางเศรษฐกิจ ได้ แก่
ยางพารา มะพร้ าว (นา้ มัน เนือ้ มะพร้ าวแห้ ง) กาแฟ ปาล์ มนา้ มัน
► สาขาที่ได้ ประโยชน์ ได้ แก่ สินค้ าอุตสาหกรรม ยานยนต์ และชิน
้ ส่ วน
อุปกรณ์ electronics อาหารสาเร็จรูป เสือ้ ผ้ าสาเร็จรูป วัสดุก่อสร้ าง
สินค้ าอุปโภคบริโภค
► การเคลื่อนย้ ายแรงงานมีฝีมือ 8 สาขา
ด้ านเศรษฐกิจ
►ปรั บตัวเพื่อให้ ได้ ประโยชน์ สูงสุดและลดผลกระทบจากการ
เปิ ดเสรีด้านการค้ า การลงทุน บริการ การเงิน และแรงงาน
►ปรั บตัวให้ เข้ ากับการเชื่อมโยงในอาเซียน โดยจะต้ องมี
ทิศทาง การพัฒนาที่ชัดเจน เพื่อรองรับผลประโยชน์ ท่ ีจะ
เกิดขึน้ จากการเชื่อมโยง
ผลกระทบจากการรวมตัวเป็ นประชาคมอาเซียน
ผลกระทบทางสังคม
► ปั ญหาด้ านสาธารณสุขที่อาจเกิดจากการเคลื่อนย้ ายแรงงาน และ
นักท่ องเที่ยวโดยเสรี
► การสร้ างอัตลักษณ์ ร่วมกันของอาเซียน และการสร้ างความรู้ สึกร่ วม
ของประชาชนให้ ตระหนักถึงหน้ าที่ในการเป็ นประชากรของอาเซียน
► การช่ วยเหลือเมื่อมีภย
ั พิบัติ
► การคุ้มครองแรงงานต่ างด้ าวของประเทศอาเซียน
► การช่ วยเหลือด้ านกงสุลแก่ ประชาชนอาเซียนในประเทศที่ 3
ด้ านสังคมและวัฒนธรรม
►ปรั บตัวเพื่อรั บกับการที่ประชาชนจะใกล้ ชิดกันมากขึน
้
การแลกเปลี่ยนวัฒนธรรม การสร้ างอัตลักษณ์ ร่วมกัน
►ร่ วมมือใกล้ ชิดขึน
้ เพื่อบริหารจัดการกับปั ญหาที่จะกระทบ
ต่ อความมั่นคงของมนุษย์ อาทิ การจัดการกับภัยพิบัติ
การแก้ ปัญหาให้ กับผู้ด้อยโอกาสในสังคม และการเชื่อมโยง
ระบบการศึกษาระหว่ างกัน
►สร้ างความตระหนักรู้ เรื่ องอาเซียน และต้ องให้ ความสนใจ
กับสิ่งที่เกิดขึน้ ในประเทศสมาชิกอื่นมากขึน้ เนื่องจากจะมี
ความเชื่อมโยงผูกพันกันมากขึน้ ในทุกด้ าน
ผลกระทบจากการรวมตัวเป็ นประชาคมอาเซียน
การรักษาความเป็ นแกนกลางของอาเซียน (ASEAN Centrality)
► สามารถแก้ ไขปั ญหาความขัดแย้ งระหว่ างสมาชิก
► มีท่าทีร่วมกันเป็ นเสียงเดียวในเวทีระหว่ างประเทศ
► รั กษาบทบาทการเป็ นผู้ขับเคลื่อนกรอบความร่ วมมือในภูมิภาค
► การรั กษาความเป็ นประธานจัดการประชุมต่ าง ๆ ในภูมิภาค
► มีส่วนร่ วมสนับสนุนความพยายามในระดับโลก (global efforts) ใน
เรื่องต่ าง ๆ อาทิ การรักษาสันติภาพ การปราบปรามโจรสลัด การ
ตอบสนองต่ อภัยพิบัติ
การเตรี ยมความพร้ อมของไทย
ในการก้ าวสู่ประชาคมอาเซียน
“นำประเทศไทยไปสู่กำรเป็ นประชำคมอำเซียนในปี
2558 อย่ ำงสมบูรณ์ โดยสร้ ำงควำมพร้ อมและควำม
เข้ มแข็ง ทั้งทำงด้ ำนเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม
และกำรเมืองและควำมมั่นคง”
(นโยบายของรัฐบาลปั จจุบันที่แถลงต่ อรัฐสภา)
การเตรียมความพร้ อมของไทย
►กรมอาเซียนในฐานะสานักเลขาธิการอาเซียนแห่ งชาติทา
หน้ าที่ประสานงาน สนับสนุน และส่ งเสริมการดาเนินการ
ของทุกหน่ วยงานราชการ ภาคเอกชน และภาคประชาสังคม
เพื่อขับเคลื่อนความร่ วมมือของอาเซียนทัง้ 3 เสา
►มติ ครม. เมื่อวันที่ 24 ส.ค. 2553 ให้ ความเห็นชอบจัดตัง้
คณะกรรมการอาเซียนแห่ งชาติ โดยมีรัฐมนตรีว่าการ
กระทรวงการต่ างประเทศเป็ นประธาน และมีหน่ วยงาน
ภาครัฐและเอกชนที่เกี่ยวข้ องเป็ นกรรมการ
การเตรียมความพร้ อมของไทย
►ประชาคมการเมืองและความมั่นคง : กระทรวงการ
ต่ างประเทศเป็ นหน่ วยงานประสานงานหลัก
►ประชาคมเศรษฐกิจ : กระทรวงพาณิชย์ เป็ นหน่ วยงาน
ประสานงานหลัก
►ประชาคมสังคมและวัฒนธรรม : กระทรวงการพัฒนาสังคม
และความมั่นคงของมนุษย์ เป็ นหน่ วยงานประสานงานหลัก
►คณะอนุกรรมการติดตามแผนแม่ บทว่ าด้ วยความเชื่อมโยง
ของอาเซียน (รองปลัดฯ กต. เป็ นประธาน)
►แผนการจัดตัง้ คณะอนุกรรมการด้ านการประชาสัมพันธ์
การเตรียมความพร้ อมของไทย
►การปรั บโครงสร้ างหน่ วยราชการ
: การผลักดันให้ มีการ
จัดตัง้ ASEAN Unit (สานักอาเซียน กรมเจรจาฯ พณ และ
กองอาเซียน กห)
►การเสริ มสร้ างความตระหนักรั บรู้ ของประชาชน
 การพัฒนาความรู้และความเข้ าใจเกี่ยวกับอาเซียนและ
ผลประโยชน์ ของไทย
 การพัฒนาสมรรถนะ อาทิ ความรู้ด้านภาษาและ
เทคโนโลยี
การเตรียมความพร้ อมของไทย
►การเตรี ยมความพร้ อมแรงงาน ที่จะรองรั บการรวมตัวของ
อาเซียน โดยเฉพาะการที่ประชาคมอาเซียนจะก่ อให้ เกิดการ
ขยายการลงทุน และกิจกรรมทางเศรษฐกิจอื่นๆ
►การเตรี ยมโครงสร้ างพืน้ ฐานด้ านกายภาพและกฏระเบียบ
เพื่อเตรียมความพร้ อมกับการเชื่อมโยงในอาเซียน
การเตรียมความพร้ อมของไทย
- “คณะกรรมการระดับชาติเพื่อขับเคลื่อนความร่ วมมือด้ าน
การศึกษาในอาเซียนสู่การบรรลุเป้าหมายการจัดตัง้
ประชาคมอาเซียนภายในปี 2558” : หลักสูตรอาเซียนศึกษา
- โครงการ “Spirit of ASEAN” : สานักงานคณะกรรมการ
การศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน (สพฐ.) ได้ จัดตัง้ อาเซียนศึกษาใน
สถานศึกษา สังกัด สพฐ. 54 โรงเรียน (24 Buffer School
และ 30 Sister School)
การเตรียมความพร้ อมของไทย
การสร้ างศูนย์ ท่ ใี ห้ ความรู้เกี่ยวกับอาเซียน
- การจัดกิจกรรมเผยแพร่ เกี่ยวกับอาเซียน
- การฝึ กอบรมครู ท่ วั ประเทศ (“train the trainers”)
- ความร่ วมมือระดับอุดมศึกษาในการจัดตัง้ ศูนย์ กลาง
ฐานข้ อมูลและเครื อข่ ายของนักวิชาการ
- การเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์
- นโยบายการพัฒนาข้ าราชการส่ วนท้ องถิ่น
-
การเตรียมความพร้ อมของไทย
-
การจัดตัง้ สมาคมอาเซียน-ประเทศไทย (พ.ย. 2551)
การจัดทาสื่อความรู้ประชาสัมพันธ์ เกี่ยวกับอาเซียน
การจัดอาเซียนสัญจร (บัวแก้ วสัญจรและกงสุลสัญจร)
วิทยากรบรรยายเกี่ยวกับอาเซียน
สื่อประชาสัมพันธ์ อ่ นื ๆ อาทิ โทรทัศน์ วิทยุ เว็บไซต์
Q&A
www.mfa.go.th/asean
[email protected]
รายการวิทยุ “เราคืออาเซี ยน”
AM 1575 Khz วิทยุสราญรมย์
One Vision
One Identity
One Community
ทุกวันศุกร์ 06.30 – 07.00 น.