(Public Private Partnership) ในการวิจัยพัฒนาและผลิตวัคซีน

Download Report

Transcript (Public Private Partnership) ในการวิจัยพัฒนาและผลิตวัคซีน

การแปรรูปกรรมสิทธิ์ดงั กล่าว
มีท้ งั การโอนกรรมสิทธิ์ให้ท้ งั หมด
หรือการโอนสิทธิบางส่วนให้แก่
เอกชนเป็ นผูด้ าเนินการเช่น สิทธิการลงทุน
หรือสิทธิการดาเนินงานบางอย่าง
การร่วมมือระหว่างภาครัฐและเอกชน
(Public-Private Partnership: PPP)
เป็ นส่วนหนึง่ ของการแปรรูปกรรมสิทธิ์ของรัฐ
ให้เป็ นเอกชน (Privatization)
อะไรคือ PPP
แม้รฐั บาลจะมีหน้าที่สร้าง
และให้บริการสินค้าสาธารณะ
เช่น ถนน สะพาน โรงเรียน โรงพยาบาล
และสาธารณู ปโภคต่างๆ
แต่รฐั ก็มีขีดจากัดของตัวเองอยู่
ทั้งด้านประสิทธิภาพ การดาเนินการ
และด้านการลงทุน
ขณะที่ภาคเอกชน
จะมีประสิทธิภาพมากกว่า
ในส่วนของ การออกแบบ การก่อสร้าง
การดาเนินการ และดูแลรักษา
รวมถึงความเป็ นมืออาชีพในงานเฉพาะด้าน
การให้เอกชนเข้ามามีส่วนร่วม
จึ งสามารถช่วยสร้างงาน
ให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด
ความเสีย่ งด้านการเงินนั้นภาคเอกชน
จะเป็ นผูร้ บั ไปดาเนินการเอง
เนือ่ งจากทางเอกชนต้องเป็ นผูเ้ สนอ
มาในสัญญาอยู่แล้ว
กระบวนการประมูลที่มี
ประสิทธิภาพยังสะท้อนให้เห็นถึง
มูลค่าของเงินลงทุนที่ให้ประโยชน์
สูงสุด และการที่เอกชนสามารถส่ง
มอบงานที่มีประสิทธิภาพได้ใน
ราคาที่ตา่ จะช่วยให้สามารถแบ่ง
เบาภาระของภาครัฐ ได้มาก
โครงการจะได้รบั การประกันเงินลงทุนในระยะ
ยาวและจะไม่มีการเปลีย่ นแปลง
แม้จะมีการเปลีย่ นแปลงทางการเมืองเกิดขึ้ นก็
ตาม อีกทั้งยังสามารถเบิกจ่ ายเงินในระยะสั้น
ได้ ทาให้เอกชนมีกรอบการใช้จ่ายเงินที่ดีขึ้น
ภาครัฐสามารถมุ่งความสนใจของตนเอง
เฉพาะเรื่องการให้บริการสาธารณะได้
ซึ่งจะทาให้ภาครัฐสามารถวางแผนและ
ดาเนินนโยบายได้อย่างมีประสิทธิภาพ
มากขึ้ น ด้านเอกชนเองก็มีความ
น่าเชื่อถือทางการเงินดีขึ้น
การริเริม่ โครงการ
และการวางแผน
การแบ่งประเภทของ PPP สามารถแบ่งได้
ตามหน้าที่และความรับผิดชอบต่างๆของ
ภาครัฐและเอกชน โดยทัว่ ไปหน้าที่และ
ความรับผิดชอบจะแบ่งเป็ น
การดาเนินการและ
การจัดเก็บรายได้
การออกแบบ
การเงิน
ความเป็ นเจ้าของ
การก่อสร้าง
โดยลักษณะของการร่วมมือกันจะถูกกาหนดจากบทบาทต่างๆดังกล่าว
การร่วมมือในลักษณะนี้
เปรียบเสมือนภาครัฐ
ได้ว่าจ้างให้เอกชนเป็ นผูก้ ่อสร้างโครงการ
โดยภาครัฐจะเป็ นผูจ้ ดั สรรเงินทุน
ให้ภาคเอกชนและรัฐจะเป็ นผูด้ าเนินการเอง
ขณะที่ภาคเอกชนจะเป็ นผูอ้ อกแบบ
ก่อสร้างและจัดสรรต้นทุนการก่อสร้าง
Build-Transfer
(BT)
Build-Own-OperateTransfer (BOOT)
หรือ Build-Own-Operate
(BOO)
ความร่วมมือนี้ นับได้ว่า
มีความเป็ นเอกชนสูงมาก
ผูพ้ ฒ
ั นาโครงการจะเป็ นเสมือนเจ้าของโครงการ
แทนที่จะเป็ นภาครัฐ
โครงการจะดาเนินงานตามลักษณะของเอกชน
และเมือ่ โครงการสิ้ นสุดลง โครงการจะ
ถูกโอนให้ภาครัฐหรือไม่น้นั
ขึ้ นอยู่กบั ความตกลงของทั้งสองฝ่ าย
Build-Operate-Transfer
(BOT)
ภาครัฐจะให้ภาคเอกชน
ทาการพัฒนาและดาเนินการ
โครงการด้วยนอกเหนือจากการก่อสร้าง
โดยภาคเอกชนจะทาสัญญากับภาครัฐ
เมือ่ เอกชนก่อสร้างเสร็จและดาเนินงานไป
จนถึงระยะเวลาหนึง่ แล้วจะต้องโอนกรรมสิทธิ์
ให้ภาครัฐ อย่างรถไฟฟ้ า BTS ก็เป็ นสัญญาในแบบ
BOT คือ พอครบ 30 ปี ก็ตอ้ งคืนเสาให้กทม.
(ย้ าว่า เสา) ถ้าอยากให้ BTS วิ่งอยู่บนเสาต่อไป
ทาง BTS ก็ตอ้ งเช่าเสากับกทม.ต่อ
Contract:ความร่วมมือในลักษณะนี้ ภาครัฐจะเป็ นผูค้ วบคุมโครงการ
โดยในสัญญานี้ เอกชนจะได้สิทธิในการดาเนินงานและรับผิดชอบหน้าที่ของโครงการ
ที่สญ
ั ญาได้กาหนดไว้ เช่น การเรียกเก็บค่าธรรมเนียมจากผูใ้ ช้บริการ เป็ นต้น
ซึ่งจะช่วยให้งานบริการดังกล่าวมีคุณภาพมากขึ้ นจากการทางานของเอกชนและ
ยังช่วยลดภาระต้นทุนบางส่วนของภาครัฐได้
Lease:ความร่วมมือแบบสัญญาเช่านี้ ภาครัฐจะให้เอกชนเป็ นผูเ้ ช่าไปดาเนินการ
ตัวอย่างความร่วมมือ
สาหรับโครงการที่มีอยู่เดิม
และดูแลรักษาโครงการ โดยที่การลงทุนใหม่จะยังคงเป็ นความรับผิดชอบ
ของภาครัฐซึ่งเป็ นเจ้าของกรรมสิทธิ์โครงการอยู่ ขณะที่เอกชนผูเ้ ช่า
จะรับผิดชอบดูแลบารุงรักษาเท่าที่มีสิทธิในสัญญาเช่า ตัวอย่างที่เห็นคือ
ศูนย์ประชุม และศูนย์กีฬา เป็ นต้น
Concession (สัมปทาน):ภาครัฐจะให้ เอกชนมีกรรมสิทธิ์พิเศษ
ในการดาเนินการบารุงรักษา และบริหารโครงการทั้งระบบ
ภายในช่วงระยะเวลาที่กาหนดไว้ โดยสัมปทานนี้
การกาหนดอัตราราคาค่าบริการจะต้ องอยู่ภายใต้ การควบคุมของภาครัฐ
Partial/Full Divestiture:ความร่วมมือนี้ ภาครัฐจะขายโครงการให้แก่เอกชน
ซึ่งจะทาให้ภาครัฐหมดอานาจในการควบคุมอย่างถาวร ลักษณะดังกล่าวจะทาให้
โครงการดังกล่าวกลายเป็ นเอกชนอย่างเต็มตัว การกระทาดังกล่าวจะเป็ นประโยชน์ต่อ
ภาครัฐเมือ่ ภาครัฐมีเงินทุนไม่เพียงพอในการบริหาร เพราะการขายให้เอกชน จะทาให้
ธุรกรรมทางการเงินทั้งหมดอยู่ในความรับผิดชอบของเอกชน อย่างไรก็ตาม
สัญญาการขายอาจจะกาหนดให้เอกชนรับรองว่าจะทาไปเพือ่ ประโยชน์ของประชาชน
การใช้ PPP ของประเทศต่างๆนั้นมีเหตุผลที่ไม่เหมือนกัน
โดยเหตุผลหลักนั้นมีอยู่ 2 ประการได้แก่
ภาคเอกชนทางานมีประสิทธิภาพ
มากกว่ารัฐฉะนั้นให้ภาคเอกชน
ดาเนินโครงการก็น่าจะทาให้
มีประสิทธิภาพมากกว่าค่าบริการ
ที่เก็บจากประชาชนก็น่าจะตา่ กว่า
การที่รฐั จะดาเนินการเอง
รัฐขาดงบประมาณลงทุน
หรือมีงบประมาณแต่น่าจะนาไปใช้
ในการลงทุนด้านอื่นๆที่
ไม่สามารถให้ภาคเอกชนมาลงทุนได้
อาทิ ด้านการศึกษา
ด้านความมันคง
่ ฯลฯ
โครงการการร่วมมือ
ของ บ ไบโอเนท เอเชีย
จก ถือว่ายังไม่เข้าข่าย
PPP เต็มรูปเนือ่ งจาก
โครงการ aP กับคณะ
วิทย์ ม มหิดล เป็ น
โครงการกึง่ รับจ้างตาม
วิธีการของผูจ้ า้ ง (แต่
ถือสิทธิบตั รร่วมหาก
พบวิธีการใหม่ร่วมกัน)
โครงการ dengue
เป็ นการได้สิทธิ
การพัฒนาต่อ
ยอดจาก สวทช
และ ม มหิดล ซึ่งมี
ขอบเวลาและ
เงือ่ นไข
จากการมีประสบการณ์
การพัฒนา วัคซีนตั้งแต่
ต้นน้ าโดยเริม่ จาก Hib
วัคซีน เมือ่ ปี คศ 2003 ที่
ประเทศ South Africa บ
ไบโอเนท ได้ลงทุนสร้าง
pilot plant ในปี คศ
2007 ทีอ่ ยุธยา ในการ
วิจยั -พัฒนา aP และ
พัฒนา conjugate
technique จากวัคซีน
polysaccharide ตัวอืน่ ๆ
เช่น Men ACWY,
Pneumo
จากความสาเร็จในการ
พัฒนา aP โดย technology
recombinant detoxified ซึ่ง
เป็ นหนึง่ ใน component ที่
สาคัญของ วัคซีนรวม
aPenta บริษทั จึ งเพิม่ การ
พัฒนา D-T, Hep B เพือ่
จะใด้มี antigen ครบทุกตัว
แล๋ะจะเริม่ การพัฒนาการ
ผลิต JE vaccines เพือ่ โดย
ร่วมมือกับ CVD และยัง
ขยายการลงทุนในการสร้าง
production and filling
plant ปลายปี 2555
บริษัท ไบโอเนท-เอเชีย จำกัด ได้ มกี ำรร่ วมมือกับหน่ วยงำนภำครัฐฯอืน่ ๆในประเทศไทยใน
กำรพัฒนำเทคโนโลยีชีวภำพเพือ่ นำมำผลิตวัคซีน
คณะวิทยำศำสตร
ม. มหิดล
มหำวิทยำลัยพระจอม
เกล้ ำธนบุรี
• พัฒนำ aP &
Protein
Carrier เพือ่
นำมำเป้น base
Conjugation
• พัฒนำ
ห้ องวิจัย
Quality
Control
มหำวิทยำลัยเชียงใหม่
• พัฒนำ
Monoclonal
Antibody
สวทช กระทรวง
วิทย์ฯ
คณะเภสัชจุฬำลงกรณ์
มหำวิทยำลัย
มหาวิทยาลัย
เกษตรศาสตร์
สถำนเสำวภำ
สภำกำชำดไทย
• สิทธิบัตร
พัฒนำ
Dengue
vaccine
• ร่ วมมือ
พัฒนำ
บุคคลำกรด้ ำน
วัคซีน
• พัฒนำ
• ร่ วมมือ
พัฒนำกำรแบ่ ง
บรรจุวคั ซีน
CHO cell