มิติที่ 4 ของอำนาจ

Download Report

Transcript มิติที่ 4 ของอำนาจ

อำนำจและกำรเสริมสร้ ำงอำนำจ
Power and Empowerment
รศ.ดร.เอก ตั้งทรัพย์วฒั นา
ภาควิชาการปกครอง
คณะรัฐศาสตร์ จุฬาฯ
มิติที่ 1 ของอำนำจ: Dahl
►A มีอานาจเหนื อ B ตราบเท่าที่ A สามารถทาให้ B ทาใน
สิ่ งที่ A ต้องการได้
►เกี่ยวกับการที่ A ประสบความสาเร็ จในการพยายามให้ B
ทาในสิ่ งที่ A ต้องการ = มีการใช้อานาจที่เกิ ดขึ้นจริ ง
(exercise of actual power) ที่ประสบความสาเร็ จ ซึ่ ง
แตกต่างจากการครอบครองอานาจ (possession of power]
►ดังนั้น การที่ A มีอานาจเหนือ B หมายถึง การที่พฤติกรรม
หรื อการกระทาของ A จะเป็ นแบบสม่าเสมอและคาดเดา
ได้วา่ จะทาให้ B ทาตามแม้ B จะไม่ตอ้ งการทาก็ตาม
►มีพฤติกรรมที่เกิดขึ้นจริ งสังเกตเห็นได้
การศึกษาการใช้อานาจในทางการเมือง
► เพื่อที่จะศึกษาถึงการกระทาที่เป็ นรู ปธรรมของการที่ใครทาอะไรและมี
ผลต่อผูใ้ ดนั้น เราจะต้องไปดูที่สถานการณ์ของการตัดสิ นใจที่จะยอมรับ
หรื อไม่ยอมรับ (จากการใช้อานาจ)
► การที่เราดูว่าบุคคลใดที่สามารถควบคุมการตัดสิ นใจในเรื่ องต่างๆได้น้ น
ั
เป็ นวิธีการที่ ดีที่สุด ที่ จ ะบอกว่าคนๆใดหรื อกลุ่ มๆใดเป็ นผูท้ ี่ มีอานาจ
เหนือผูอ้ ื่น
► ในทางการเมื อง เราสามารถไปดู ที่การตัดสิ นใจในนโยบายสาธารณะ
ของรัฐบาล
่ ี่ การตัดสิ นใจที่เกิดขึ้น
► ดังนั้นมิติที่ 1 ของอานาจนั้นจากัดตัวมันเองอยูท
จริ ง
►ประเด็ น ที่ ขั ด แย้ ง จะ เป็ นการทดสอบที่ ดี ของขี ด
ความสามารถในการใช้อานาจเพื่อให้ได้มาในสิ่ งที่ตนเอง
ต้องการ
►ดัง นั้น “การตัด สิ น ใจ” จะเกี่ ย วข้อ งกับ ความขัด แย้ง ที่
เกิดขึ้น “โดยตรง” อย่าง “ชัดแจ้ง” และ “สังเกตเห็นได้”
โดยมี “ประเด็นสาคัญๆ” ที่เป็ นกรณี พิพาทที่ไปเกี่ยวข้อง
กับความขัดแย้งที่เกิดขึ้น
►ความขั ด แ ย้ ง จะเกิ ดขึ้ นท่ า มกลางความต้ อ งการ
(preferences) ที่แตกต่างของแต่ละคน ดังนั้นแต่ละคนจะ
ตระหนักในความต้องการของตนเอง
มิติที่ 2 ของอำนำจ: Bachrach and Baratz
 กำรไม่ ตัดสิ นใจในฐำนะที่เป็ นกำรตัดสิ นใจแบบหนึ่ ง (non-
decision making as decision-making) = กำรกลบควำม
ขั ด แย้ ง ที่ จ ะเกิด ขึ้น โดยป้ องกัน และกีด กัน ไม่ ใ ห้ ประเด็ น
ต่ ำงๆ เข้ ำมำสู่ วำระของกำรตัดสิ นใจ
 ถ้าบุคคลใดหรื อกลุ่มใด สามารถกี ดกันไม่ให้การตัดสิ นใจ
ในความขัด แย้ง ทางนโยบายเข้ า มาเป็ นวาระของการ
ตัดสิ นใจได้ คนหรื อกลุ่มนั้นๆจะถือว่ามีอานาจ
►การไม่ตดั สิ นใจ (non-decision) คือ “การตัดสิ นใจในรู ปแบบ
หนึ่ งที่ ทาให้เกิ ดการกี ดกันไม่ให้เกิ ดการท้าทาย ทั้งทางตรง
และทางอ้อมต่อผลประโยชน์ของผูท้ ี่ทาการตัดสิ นใจ”
►ดังนั้นการไม่ตดั สิ นใจคือ วิธีการที่ จะทาให้ความต้องการที่
จะเปลี่ยนแปลงหยุดก่อนที่มนั จะเกิด ซึ่ งก็คือการกันประเด็น
แห่งความขัดแย้งไม่ให้เข้ามาเกี่ยวข้องกับเวทีการตัดสิ นใจ
►การที่ A ป้ องกันความขัดแย้งโดยกันไม่ให้ความต้องการของ
B กลายมาเป็ นประเด็นทางการเมืองที่ ตอ้ งมีการตัดสิ นใจ
เท่ากับ A ประสบความสาเร็ จในการทาให้ตนเองไม่ถูกท้า
ทายหรื อสูญเสี ยผลประโยชน์ของตน
►มิติแรกจะเน้นที่ความขัดแย้งแบบชัดแจ้ง แต่ในมิติที่สอง
นี้จะครอบคลุมไปถึงความขัดแย้งที่ซ่อนเร้นด้วย เท่ากับว่า
มิติที่สอง
►ซ่อนเร้นเพราะอะไร?
►แม้ค วามขัดแย้ง จะซ่ อนเร้ น แต่ ก็ส ามารถสังเกตเห็ นได้
(observable) เพราะแม้วา่ จะไม่มีความขัดแย้งที่เกิดขึ้นจริ ง
เพราะความขั ด แย้ง ได้ ถู ก กี ด กั น ไปก่ อ นจากการไม่
ตัดสิ นใจ แต่การไม่ตดั สิ นใจที่ทาให้เกิ ดผลในการกี ดกัน
ความขัดแย้งไม่ให้เกิดขึ้นมานั้นก็เป็ น “เหตุการณ์ที่เกิดขึ้น
จริ ง”
 ความไม่ เ ปลี่ ย นแปลงก็ ส ามารถถู ก สั เ กตเห็ น ได้ว่า มัน ไม่
เปลี่ยนแปลง
►เหมือนกับมิติแรก เพราะเชื่ อว่าผลประโยชน์จะถูกเรี ยกร้อง
โดยผูเ้ รี ยกร้องมีความตระหนักในสิ่ งที่ตนเองต้องการ
มิติที่ 3 ของอำนำจ: Lukes
►การสร้างอุดมการณ์หรื อความคิดความเชื่อเพื่อครอบงา
►A
อาจมีอานาจเหนือ B โดยทาให้ B ทาในสิ่ งที่ตวั เองไม่
อยากทา (มิ ติที่ 1) หรื อกี ดกันเรื่ องต่ า ง ๆ ออกไปจากการ
ตัดสิ นใจ (มิติที่ 2) แต่ที่เหนือไปกว่านั้นคือ A สามารถที่จะมี
อิทธิ พล หล่อหลอม และกาหนด ความคิดความต้องการของ
B
►การใช้อ านาจในขั้น สู ง สุ ด คื อ การท าให้ ค นอื่ น ๆมี ค วาม
ต้องการตรงกับสิ่ งที่เราต้องการ ซึ่ งก็คือการควบคุมความคิด
และความต้องการของคนนัน่ เอง
►การป้ องกันไม่ให้ผูอ้ ื่ นขัดแย้งกันตนโดยการหล่อการรั บรู ้
และความต้อ งการของผู ้อื่ น เพื่ อ ให้ ย อมรั บ ในสิ่ ง ที่ เ รา
ต้องการนั้น อาจทาได้โดย
 ทาให้รู้สึกว่าไม่มีทางเลือกอื่น
 ทาให้รู้สึกว่ามันเป็ นเรื่ องปกติตามธรรมชาติและเปลี่ยนแปลง
ไม่ได้
 ทาให้รู้สึกว่าเป็ นสิ่ งที่มีคุณค่าและมีประโยชน์
►ในมิ ติ ที่ 3 ต้อ งศึ ก ษาความขัด แย้ง ไปถึ ง ความขัด แย้ง ที่
ซ่ อนเร้ นและแฝงฝั งอยู่ ซึ่ งไม่ได้เกิ ดขึ้ นเป็ นเหตุการณ์ ที่
สังเกตเห็นได้
►ทาไมถึงแฝงฝังอยูแ่ ละสังเกตเห็นไม่ได้?
►มิ ติที่ 3
พิจารณาว่าผลประโยชน์ยงั มี ในรู ปแบบของ
ผลประโยชน์ที่แท้จริ ง ซึ่ งแม้แต่ตวั ผูไ้ ด้รับผลประโยชน์
เองอาจจะไม่ แ สดงออก เรี ยกร้ อ ง หรื อตระหนั ก ใน
ผลประโยชน์ที่แท้จริ งนั้นๆ (ต่างกับ 2 มิติแรกที่เราจะ
ตระหนักในผลประโยชน์ของตนเอง)
และเปลีย่ นควำมคิดเห็นประสบกำรณ์ ที่
ได้ สัมผัสกับกำรใช้ อำนำจตำมมิตทิ ี่ 1 2
และ 3
มิติที่ 4 ของอำนำจ: Foucault
 อานาจ การต่อต้าอานาจ และการเสริ มสร้างอานาจ (Power,
Resistance, and Empowerment)
 2 ด้านของเหรี ยญเดี ยวกันระหว่างอานาจและการต่อต้าน
อานาจ การเสริ มสร้างอานาจ
 วาทกรรม (Discourse) = การสื่ อสารภายใต้ภาษา/การรับรู ้ที่
ถูกสร้างขึ้น
 การผสมผสานระหว่างการสร้างความรู ้ (Knowledge) และ
ความจริ ง (Truth) ให้คนรับรู ้ + เครื อข่ายสถาบันทางในการ
ใช้อานาจของรัฐ  อานาจ/ความรู ้ (Power/knowledge)
มิติที่ 4 ของอำนำจ: Foucault
 การสถาปนาวาทกรรมลงในตัว บุ ค คลที่ ท าให้บุ ค คลเป็ น
ตัวตน (Subject) ที่ทุกกระทา (โดยตัวเอง) = การสร้างวาท
กรรมเพื่อให้คนที่อยูใ่ ต้วาทกรรมทาการกากับตัวเอง = เรา
เป็ นตัวตนที่ ถูกกระทาโดยตัวเราเอง (จากวาทกรรมที่ ถูก
สร้างขึ้นมา)
 อำนำจ = กำรผสำนระหว่ ำงวำทกรรม ควำมรู้ ควำมจริ ง
และตัวอำนำจเอง
 แต่ อ ำนำจเกิ ด ขึ้น ได้ จ ำกขั้ ว ที่ แ ตกต่ ำ งเพรำะอ ำนำจเกิ ด
ขึน้ มำพร้ อมกับกำรต่ อต้ ำนอำนำจ
 ในขณะที่ มีอานาจเกิ ดขึ้ นจะมี การกดทับผูท
้ ี่/สิ่ งที่มีอานาจ
น้อยกว่าไปด้วยในตัว เช่น สิ่ งที่ถูกคิดว่าดีจะกดทับสิ่ งที่ถูก
คิดว่าเลว
 ในวาทกรรมหลักครอบงาจะมีวาทกรรมรองซึ่ งถูกกดทับอยู่
และจาทาให้เกิดการการต่อต้านขึ้นมา เพราะฉะนั้นอานาจ
และการต่ อ ต้า นก็ คื อ 2 ด้า นของเหรี ย ญเดี ย วกัน เพราะ
อานาจ/วาทกรรมถูกสร้างขึ้นมาจากการต่อต้าน
 การต่อต้านอานาจ (จากวาทกรรมรอง) ที่มีต่ออานาจ (วาท
กรรมหลัก) ในลักษณะ 2 ด้านของเหรี ยญ ทา
 การต่อต้านอานาจ (จากวาทกรรมรอง) ที่มีต่ออานาจ (วาท
กรรมหลัก) ภายใต้ 2 ด้านของเหรี ยญเดียวกัน ทาให้อานาจ
มีลกั ษณะที่ลื่นไหลและเปลี่ยนแปลงจากการต่อต้านอานาจ
อยูต่ ลอดเวลา
 การสะสมการเปลี่ ย นแปลงความสั ม พัน ธ์ ร ะหว่ า งผู ้ใ ช้
อานาจกับผูถ้ ูกใช้อานาจที่มีอยู่ตลอดเวลา จะทาให้อานาจ
ของผูม้ ีอานาจสัน่ คลอนลง  Empowerment (ที่มาจากการ
ต่อต้าน)
 ตัวอย่างของ Micro-politics + อาวุธของผูท
้ ี่อ่อนแอกว่า
 ปั ญหาระหว่าง Empowerment กับ Mob rule
แลกเปลีย่ นควำมคิดเห็นประสบกำรณ์
จำกกำรกำรต่ อต้ ำนอำนำจ