Transcript e-Learning

การพัฒนาบทเรียน e-Learning
วิชาคณิตศาสตร์ คอมพิวเตอร์ หลักสู ตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสู ง
สาขาคอมพิวเตอร์ ธุรกิจ วิทยาลัยเทคนิคราชบุรี
Creating of e-Learning on Computer Mathematics, Higher Diploma Level
Department of Business Computer, Ratchaburi Technical College
นฤมล นวลผกา
รศ.สุ วรรณา สมบุญสุ โข
สาขาวิชาคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
บทนา
การจัดการเรี ยนการสอนของวิทยาลัยเทคนิ คราชบุรีในปั จจุบ ันนั้น
มี ก ารเรี ยนการสอนโดยเน้ น ผู ้เ รี ยนเป็ นส าคัญ แต่ ย ัง มี ปั ญ หาและ
อุปสรรค์ในการเรี ยนการสอน คือขาดแคลนสื่ อการเรี ยนรู ้ และบุคลากร
ที่เชี่ ยวชาญในสายวิชาต่าง ๆ ซึ่ งในการสอนจะเป็ นการสอนที่ถ่ายทอด
จากครู ไ ปสู่ นัก เรี ย น โดยการบรรยายหรื อสาธิ ต ให้ดู ด้ว ยการปฏิบ ัติ
ซึ่ งนักเรี ยนจะฟั งครู อธิ บายแล้วปฏิบตั ิตามเท่านั้น แต่เมื่อนักเรี ยนเกิ ด
ข้อสงสัยครู ก็ตอ้ งอธิ บายเนื้ อหาใหม่หรื อสาธิ ตให้ดูอีกรอบ ในขณะที่
ครู ผสู ้ อนเองก็มีจานวนชัว่ โมงในการสอนอยูเ่ ป็ นจานวนมาก จึงอาจทา
ให้ประสิ ทธิภาพในการสอนมีศกั ยภาพลดน้อยลง
บทนา(ต่ อ)
จากที่กล่าวมาข้างต้น จะเห็นได้ว่าการเรี ยนการสอนของรายวิชา
บางเนื้ อหาก็ยากเกินกว่าที่จะอธิ บายให้นกั เรี ยนเข้าใจได้งา่ ย เพราะการ
เรี ยนการสอนที่ถ่ายทอดจากครู ไปสู่ นักเรี ยน ไม่ว่าจะเป็ นการบรรยาย
หรื อสาธิ ตด้วยการปฏิบตั ิให้ดูก็ตาม การจัดการเรี ยนการสอนที่จะให้ได้
ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนที่สูงนั้น จะต้องประกอบด้วยปั จจัยหลายด้าน
ด้วยเหตุน้ ี การมีสื่อการสอนที่ดีจึงเป็ นสิ่ งสาคัญ ในการที่จะทาให้ผเู ้ รี ยน
มีความสนใจในการเรี ยนรู ้ เกิดความเข้าใจและจดจาได้ง่าย
บทนา(ต่ อ)
ดังนั้น ผูว้ ิจยั จึงมีความต้องการที่จะพัฒนาบทเรี ยน e-Learning
วิชาคณิ ตศาสตร์คอมพิวเตอร์ เพื่อให้ผเู ้ รี ยนสามารถเรี ยนรู ้ได้ดว้ ยตนเอง
อย่างเป็ นลาดับขั้นตอน และสร้างความเข้าใจให้แก่ผเู ้ รี ยน อันจะนาไปสู่
การศึ ก ษา และการน าความรู ้ ไ ปใช้อ ย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ และเพื่อ
ประโยชน์ ด้า นการเรี ย นการสอนในวิ ช าคณิ ต ศาสตร์ ค อมพิ ว เตอร์
สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยเทคนิคราชบุรี
วัตถุประสงค์ ของการวิจยั
1) เพือ่ วิเคราะห์ ออกแบบและพัฒนาบทเรียน e-Learning
วิชาคณิตศาสตร์ คอมพิวเตอร์
2) เพือ่ หาประสิ ทธิภาพของบทเรียน e-Learning
วิชาคณิตศาสตร์ คอมพิวเตอร์
3) เพือ่ หาประสิ ทธิผลการเรียนรู้ ของผู้เรียนทีไ่ ด้ จากการเรียน
บทเรียน e-Learning วิชาคณิตศาสตร์ คอมพิวเตอร์
4) วิเคราะห์ ความพึงพอใจของผู้เรียนทีเ่ รียนบทเรียน
e-Learning วิชาคณิตศาสตร์ คอมพิวเตอร์
5) ทดสอบความคงทนต่ อการเรียนรู้ ของผู้เรียนทีม่ ีต่อบทเรียน
e-Learning วิชาคณิตศาสตร์ คอมพิวเตอร์
ประโยชน์ ที่คาดว่ าจะได้ รับ
1) ได้ บทเรียน e-Learning วิชาคณิตศาสตร์ คอมพิวเตอร์
ทีม่ คี ุณภาพตามเกณฑ์ ทกี่ าหนด 80/80 และสามารถนาไปใช้
เป็ นสื่ อการเรียนการสอน
2) บทเรียน e-Learning ทีพ่ ฒ
ั นาขึน้ ช่ วยให้ ผ้ เู รียนมีประสิ ทธิผลการเรียนรู้
เพิม่ ขึน้ มากกว่ าร้ อยละ 60
3) ส่ งเสริมให้ ผ้ เู รียนเกิดการเรียนรู้ ด้วยตนเอง
4) เป็ นแนวทางในการสร้ างบทเรียน e-Learning ในรายวิชาอืน่ ๆ
ทีเ่ หมาะสมเป็ นผลในเกิดการส่ งเสริมการวิจัยด้ านบทเรียน e-Learning
ในระบบการศึกษามากขึน้
สมมติฐานการวิจยั
1) บทเรียน e-Learning วิชาคณิตศาสตร์ คอมพิวเตอร์ ที่พฒ
ั นาขึน้
มีประสิ ทธิภาพตามเกณฑ์ กาหนด 80/80
2) ประสิ ทธิผลทางการเรียนรู้ ของนักเรียนทีไ่ ด้ จากการเรียนด้ วย บทเรียน
e-Learning วิชาคณิตศาสตร์ คอมพิวเตอร์ สูงกว่ าผลสั มฤทธิ์ทางการเรี ยน
ก่อนเรียนไม่ น้อยกว่ า 60%
3) ความพึงพอใจของผู้เรียนทีม่ ีต่อบทเรียน e-Learning วิชาคณิตศาสตร์
คอมพิวเตอร์ มีความพึงพอใจต่ อบทเรียน e-Learning ทีอ่ ยู่ในเกณฑ์ ดี
4) ความคงทนในการเรียนรู้ ของนักเรียน ทีเ่ รียนจากบทเรียน
และผู้เรียนมีผลการเรียนรู้ สูงขึน้ มากกว่ าร้ อยละ 30 จากการใช้ บทเรียน
e-Learning ในครั้งแรก
ขอบเขตของการวิจยั
บทเรี ยน e-Learning วิชาคณิ ตศาสตร์ คอมพิวเตอร์ รหัสวิชา
3204-2002 สาหรั บ นัก เรี ย นหลัก สู ต รประกาศนี ย บัต รวิ ช าชี พ ชั้น สู ง
(ปวส.) ปี ที่ 1 สาขาคอมพิวเตอร์ ธุรกิ จ วิทยาลัยเทคนิ คราชบุรี ตาม
หลัก สู ต รการศึ ก ษาขั้น พื้น ฐาน พุทธศัก ราช 2546 สาขาคอมพิว เตอร์
ธุรกิจของสานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษากระทรวงศึกษาธิการ
ประกอบด้วยเนื้อหา 7 หน่วยเรี ยน ได้แก่
ขอบเขตของการวิจยั (ต่ อ)
หน่วยการเรี ยนที่
หน่วยการเรี ยนที่
หน่วยการเรี ยนที่
หน่วยการเรี ยนที่
หน่วยการเรี ยนที่
หน่วยการเรี ยนที่
หน่วยการเรี ยนที่
1
2
3
4
5
6
7
ระบบจานวน
ระบบเลขฐาน
การคานวณเกี่ยวกับระบบเลขฐาน
โมดูลสั และวิธีการเลขคณิ ตในคอมพิวเตอร์
ตรรกศาสตร์
พีชคณิ ตแบบบูลีน
เมตริ กซ์
วิธีดาเนินการวิจยั
1) ประชากร
ประชากร คือ นักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสู งชั้น
ปี ที่ 1 สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยเทคนิคราชบุรี
2) กลุ่มตัวอย่ าง
สามารถแยกได้เป็ น 2 ส่ วนดังนี้
ก. กลุ่มตัวอย่ างสาหรับหาคุณภาพเครื่องมือ
ข. กลุ่มตัวอย่ างสาหรับทดสอบหาประสิ ทธิภาพของบทเรียน
ประสิ ทธิผลทางการเรียนรู้และความพึงพอใจของผู้เรียน
วิธีดาเนินการวิจยั (ต่ อ)
3) แบบแผนการวิจัย
ในการวิจยั ครั้งนี้ ใช้แบบแผนการวิจยั แบบ กลุ่มทดลองกลุ่มเดี่ยว
วัดผลก่อนทดลองและหลังการทดลอง
(One Group Pretest–Posttest Design)
O1
X
O2
O1 : การวัดผลก่อนการทดลองใช้บทเรี ยน e-Learning
: บทเรี ยน e-Learning
O2 : การวัดผลหลังการทดลองใช้บทเรี ยน e-Learning
X
วิธีดาเนินการวิจยั (ต่ อ)
4) เครื่องมือใช้ ในการวิจัย
4.1) บทเรี ยน e-Learning วิชาคณิ ตศาสตร์ คอมพิวเตอร์
ระดับประกาศนียบัตรวิชาชี พชั้นสูง ชั้นปี ที่ 1
4.2) แบบประเมินเพื่อใช้ ในการเก็บข้ อมูล ได้ แก่
• แบบประเมินความเหมาะสม และความสอดคล้ องการสร้ างและ
หาประสิ ทธิ ภาพของบทเรี ยน e-Learning
• แบบประเมินผลการเรี ยนรู้ ท้ายหน่ วยเรี ยน เป็ นแบบเลือกตอบ 4
ตัวเลือก จานวน 7 แบบประเมิน รวม 105 ข้ อ
วิธีดาเนินการวิจยั (ต่ อ)
• แบบทดสอบก่ อนเรี ยนและหลังเรี ยน เป็ นแบบเลือกตอบ 4 ตัวเลือก
จานวน 70 ข้ อ โดยใช้ วิธีการคัดเลือกจากแบบประเมินผลการเรี ยนรู้
ทั้ง 7 แบบประเมิน ที่ครอบคลุมเนือ้ หาหลักสู ตร
• แบบประเมินความพึงพอใจของนักเรี ยนที่มีต่อการเรี ยนรู้ ด้ วย
บทเรี ยน e-Learning
4.3) เครื่ องมือในการวัดผลสัมฤทธิ์ ความก้ าวหน้ าทางการเรี ยน
และความคงทนในการเรี ยนรู้
ผลการวิเคราะห์ ข้อมูล
1) ผลการหาคุณภาพแบบประเมินจากผู้เชี่ยวชาญด้ านบทเรียน e-Learning
แสดงได้ ดงั ตารางที่ 1
จากตารางที่ 1 สรุ ปได้ดงั นี้ ดัชนีความสอดคล้องของแบบประเมินความคิดเห็นและข้อเสนอแนะ
ของผูเ้ ชี่ยวชาญแต่ละคน มีค่าเท่ากับ 0.78 แปลผลได้วา่ แบบประเมินแสดงความคิดเห็นและ
ข้อเสนอแนะต่อบทเรี ยน e-Learning ของผูเ้ ชี่ยวชาญโดยรวมสามารถนาไปใช้ได้
ผลการวิเคราะห์ ข้อมูล(ต่ อ)
2) ผลการหา ความยากง่ าย และอานาจจาแนก ของแบบประเมินผล
การเรียนรู้ แสดงได้ ดงั ตารางที่ 2
จากตารางที่ 2 พบว่าค่ าความยากง่ าย และค่าอานาจจาแนก ของประเด็นคาถามในแบบ
ประเมินผลการเรี ยนรู้ รวมทั้ง 7 หน่ วยเรี ยน ทุกหน่ วยการเรี ยนและประเด็นคาถามทุกข้อ
อยูใ่ นเกณฑ์ที่จะนาไปใช้ในการประเมินได้ โดยมีค่าความยากง่ายเฉลี่ย 0.64 และค่าอานาจ
จาแนก 0.43 สามารถนาไปใช้ทดสอบกับนักเรี ยนได้
ผลการวิเคราะห์ ข้อมูล(ต่ อ)
3) ผลการหาคุณภาพบทเรียนแบบ e-Learning
จากผลการวิ จ ัย พบว่า ผูเ้ ชี่ ย วชาญด้า นบทเรี ย น e-Learning
มีความคิดเห็นเกี่ยวกับการประเมินคุณภาพความเหมาะสมของ
บทเรี ยน e-Learning วิชาคณิ ตศาสตร์ คอมพิวเตอร์ ระดับ
ประกาศนี ยบัตรวิชาชีพชั้นสู ง ชั้นปี ที่ 1 โดยรวมทั้ง 6 ด้าน
มีระดับความเหมาะสมอยูใ่ นระดับดีมาก มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.08
ผลการวิเคราะห์ ข้อมูล(ต่ อ)
4) ผลการหาประสิ ทธิภาพของบทเรียน e-Learning
จากผลการวิ จ ัย พบว่ า คะแนนรวมระหว่ า งเรี ยน มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ
กระบวนการ (E1) มีค่าเท่ากับ 2,909 คะแนน จากคะแนนรวม (A) 3,570
คะแนน คิดเป็ นร้อยละ 81.48 และคะแนนรวมหลังเรี ยนมีประสิ ทธิ ภาพ
ผลลัพธ์ (E2 ) เท่ากับ 1,958 คะแนน จากคะแนนรวม (B) 2,380 คะแนน
คิดเป็ นร้อยละ 82.27 ประสิ ทธิภาพของบทเรี ยน e-Learning
E1 / E2 = 81.48 / 82.27
ผลการวิเคราะห์ ข้อมูล(ต่ อ)
5) ผลความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อบทเรียน
จากผลการวิจยั พบว่าผลการประเมินความพึงพอใจของนักเรี ยนกลุ่มเป้ าหมาย ซึ่ งเป็ น
นักเรี ยนระดับประกาศนี ยบัตรวิชาชีพชั้นสู ง ชั้นปี ที่ 1 สาขาคอมพิวเตอร์ ธุรกิจที่มีต่อ
บทเรี ยน e-Learningโดยรวมมีความพึงพอใจในระดับมาก มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.24
6) ผลสั มฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน
จากผลการวิจยั พบว่า
คะแนนเฉลี่ยก่อนเรี ยนของนักเรี ยนระดับประกาศนี ยบัตร
วิชาชีพชั้นสู ง ชั้นปี ที่ 1 สาขาคอมพิวเตอร์ ธุรกิจเท่ากับ 14.24 และคะแนนเฉลี่ยหลัง
เรี ยนเท่ากับ 57.59 คะแนนเฉลี่ยเพิ่มขึ้น 43.35 แสดงว่านักเรี ยนที่เรี ยนโดยใช้บทเรี ยน
e-Learning เป็ นสื่ อประกอบการเรี ยนตามแผนการเรี ยนรู ้ มีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยน
สู งขึ้นตามเกณฑ์ ที่ต้ งั ไว้
ผลการวิเคราะห์ ข้อมูล(ต่ อ)
7) ความคงทนต่ อการเรียนรู้ ของนักเรียนด้ วยบทเรียน
จากการวิจยั พบว่า ค่าคะแนนเฉลี่ยที่ได้ จากการทาแบบทดสอบหลังเรี ยนครั้งแรก
เท่ากับ 57.59 และค่าคะแนนเฉลี่ยที่ได้ จากการทาแบบทดสอบหลังเรี ยนครั้ งที่ 2
หลังผ่านไป 1 เดือน เท่ากับ 60.21 พบว่า ผลการเปรี ยบเทียบคะแนนทดสอบหลัง
เรี ยนของนักเรี ยน ที่เรี ยนโดยใช้บทเรี ยน e-Learning มีค่าคะแนนเฉลี่ยหลังเรี ยน
ผ่านไป 1 เดื อน ไม่แตกต่างกันโดยมี ค่าคะแนนเฉลี่ยใกล้เคียงกัน จึ งสรุ ปได้
ว่า นักเรี ยนมีความคงทนในการเรี ยนรู ้ ซึ่ งสอดคล้องตามสมมติฐานทีต่ ้ งั ไว้ ข้อ 4.4
กล่าวว่า ความคงทนในการเรี ยนรู ้ ของนักเรี ย นที่ เรี ยนด้วยบทเรี ยน e-Learning
และผูเ้ รี ยนมีผลการเรี ยนรู ้สูงขึ้นมากกว่าร้อยละ 30 จากการใช้บทเรี ยนในครั้งแรก
สรุปผล
1) ดัชนีความสอดคล้องของแบบประเมินความคิดเห็นและข้ อเสนอแนะของ
ผู้เชี่ยวชาญแต่ ละคน มีค่าเท่ ากับ 0.78
2) ผลการประเมินคุ ณภาพความเหมาะสมของบทเรี ยน e-Learning
วิชา
คณิตศาสตร์ คอมพิวเตอร์ ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสู ง ชั้นปี ที่ 1 โดยรวม
ทั้ง 6 ด้ าน มีระดับความเหมาะสมอยู่ในระดับดีมาก มีค่าเฉลีย่ เท่ ากับ 4.08
3) ประสิ ท ธิ ภ าพของบทเรี ย นกระบวนการ (E1 ) มี ค่ า เท่ า กั บ 2,909 คะแนน
จากคะแนนรวม (A) 3,750 คะแนน คิดเป็ นร้ อยละ 81.48 และคะแนนรวม
หลังเรียนมีประสิ ทธิภาพผลลัพธ์ (E2 ) เท่ ากับ 1,958 คะแนน จากคะแนนรวม
(B) 2,380 คะแนน คิดเป็ นร้ อยละ 82.27 สรุ ปประสิ ทธิภาพของบทเรียน
e-Learning E1 / E2 = 81.48 / 82.27
สรุปผล(ต่ อ)
5)
6)
ผลการประเมินความพึงพอใจของนักเรียนทีม่ ีต่อบทเรียน e-Learning
โดยรวมมีความพึงพอใจในระดับมาก มีค่าเฉลีย่ เท่ ากับ 4.26
การศึ ก ษาความคงทนในการเรี ย นรู้ ของนั ก เรี ย นด้ ว ยบทเรี ย น e-Learning
พบว่ า ผลการเปรี ยบเทียบคะแนนการทดสอบหลังเรี ยน หลังการเรี ยนผ่ านไป
1
เดือน มีค่าคะแนนเฉลี่ยใกล้ เคียงกัน มีคะแนนหลังเรี ยนเฉลี่ยเท่ ากั บ 60.21
จึงสรุ ปได้ ว่า นั กเรี ยนมีค วามคงทนในการเรี ย นรู้ ซึ่ งสอดคล้ องตามสมมติฐาน
ข้ อ 4.4
กล่ าวว่ า บทเรี ยน e-Learning
ที่พัฒนาขึ้นมีความคงทนใน
การเรี ย นรู้ ของนั ก เรี ย น และผู้ เ รี ย นมี ผ ลการเรี ย นรู้ สู ง ขึ้น มากกว่ าร้ อยละ 30
จากการใช้ บทเรียน e-Learning
อภิปรายผล
1) จากการศึ ก ษาผลสั มฤทธิ์ ทางการเรี ย นของผู้ เรี ย นที่ เ รี ย นด้ วยบทเรี ย น
e-Learning พบว่ าผลสั มฤทธิ์ ทางการเรี ย นของผู้ เรี ย นที่ เ รี ย นด้ วยบทเรี ย น
e-Learning สู งขึน
้ ซึ่ งผลการวิจัยนีส้ อดคล้ องกับ กิดานันท์ มะลิทอง (2548: 220)
ได้ ก ล่ า วเกี่ย วกับ บทเรี ย นคอมพิว เตอร์ ช่ ว ยสอน ดัง นี้ “คอมพิว เตอร์ ช่ วยสอน”
เป็ นการนาคอมพิวเตอร์ มาใช้ เป็ นสื่ อในการสอนเพื่อให้ มีการโต้ ตอบกันได้ ในระหว่ าง
ผู้เรี ยนกับเครื่ องคอมพิวเตอร์ รวมถึงการตอบสนองต่ อข้ อมูลที่ผ้ ูเรี ยนป้ อนเข้ าไปได้
ในทันที ซึ่ งเป็ นการช่ วยเสริ มแรงให้ แก่ ผ้ ูเรี ยน เช่ นเดียวกับการเรี ยนการสอนระหว่ าง
ผู้สอนกับผู้เรี ยนในห้ องเรี ยนปกติ บทเรี ยนจะมีรูปแบบต่ างๆ ในแต่ ละบทเรี ยนจะมี
ตัวอักษร ภาพกราฟิ ก ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว และเสี ยงประกอบด้ วย ในลักษณะ
ของสื่ อประสม ทาให้ ผ้ เู รียนสนุกไปกับการเรียนไม่ ร้ ู สึกเบื่อหน่ าย
อภิปรายผล(ต่ อ)
การสร้ างบทเรียนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนอาศัยแนวความคิดจากทฤษฎีการเชื่ อมโยง
ระหว่ างสิ่ งเร้ ากับการตอบสนอง โดยการออกแบบบทเรียนจะเริ่มจากการให้ สิ่ งเร้ า
แก่ ผ้ ูเรียน ประเมินการตอบสนองของผู้เรียน ให้ ข้อมูลป้ อนกลับเพือ่ การเสริมแรง
และให้ ผ้ ู เ รี ย นเลื อ กสิ่ ง เร้ าตามล าดั บ ต่ อ ไป สอดคล้ อ งกั บ การเรี ย นรายบุ ค คล
บทเรียน คอมพิวเตอร์ ช่วยสอนเป็ นสื่ อการเรี ยนการสอนที่มีหลายประเภท ในการ
ดาเนินการวิจัยครั้งนีผ้ ้ วู จิ ัยได้ ใช้ บทเรียน e-Learning ทั้งนีเ้ พือ่ ต้ องการให้ ผ้ ูเรียนมี
ทักษะกระบวนการทาง วิทยาศาสตร์ การคิดวิเคราะห์ สามารถสร้ างองค์ ความรู้
ด้ วยตัวเอง และมีความคงทนในการเรียนรู้ อย่ างมีประสิ ทธิภาพ
อภิปรายผล(ต่ อ)
2) จากการศึ ก ษาเปรี ย บเที ย บความก้ า วหน้ าของผลสั ม ฤทธิ์ ท างการเรี ย น
ก่ อ นเรี ย นและหลั ง เรี ย น เที ย บค่ า ร้ อยละของผู้ เ รี ย นที่ เ รี ย นด้ ว ยบทเรี ย น
e-Learning
พบว่ าผู้เรี ยนที่เรี ยนด้ วยบทเรี ยน e-Learning มีคะแนนพัฒนา
การเพิม่ ขึน้ เฉลีย่ ร้ อยละ 43.35 มีความก้าวหน้ าของผลสั มฤทธิ์ทางการเรียนสู งขึน้
3) จากการศึ กษาความพึ ง พอใจของผู้ เรี ยนในการเรี ยนด้ วยบทเรี ยน
e-Learning
มีความพึงพอใจอยู่ในระดับพึงพอใจมาก เนื่องจากการเรี ยน
ด้ วยบทเรี ยน e-Learning โดยผู้เรี ยนสามารถเข้ าสู่ บทเรี ยนได้ ทุกที่ ทุกเวลา
สามารถเรี ยนซ้าได้ ทุกครั้ งตามความต้ องการ อีกทั้งผู้เรี ยนยังสามารถประเมินผล
ความก้ าวหน้ าทางการเรี ยนของตนเองได้ ทาให้ เกิดประสิ ทธิภาพในการเรีย นการ
สอนมากขึน้
อภิปรายผล(ต่ อ)
4) จากการศึ กษาความคงทนในการเรี ยนรู้ ของผู้เรี ยนในการเรี ยนด้ วยบทเรี ยน eLearning พบว่ า ผู้เรี ยนมีความคงทนในการเรี ยนรู้ ไม่ แตกต่ างจากหลังเรี ยน เมื่อ
ระยะเวลาผ่ านไปแล้ ว 1 เดือน ซึ่งผลการวิจัยนีส้ อดคล้ องทฤษฎีเรื่อง ความคงทน
ในการเรียนรู้ (Boonchom Srisaard, 1998) กล่ าวคือ การเรียนรู้ ที่ดีย่อมต้ องก่ อ
ให้ ผ้ ูเรี ยนเกิดความจาที่มากขึน้ และส่ วนหนึ่งที่ส่งผลให้ ผ้ ูเรี ยนเกิดความคงทนใน
การเรี ยนรู้ คือ การที่ผ้ ูเรี ยนมีส่วนร่ วมการเรี ยนรู้ โดยการลงมือกระทาปฏิบัติ และ
แก้ ปั ญ หา หรื อศึ ก ษาค้ น คว้ าด้ ว ยตนเองโดยยึด ตามความสนใจ ทาให้ ผ้ ู เ รี ย นมี
ความสุ ขในการเรียน ซึ่งส่ งผลต่ อความสามารถในการสะสม (Retention) สามารถ
ระลึกถึงเนือ้ หาหรื อสิ่ งต่ าง ๆ ที่ตนได้ รับการเรี ยนรู้ หรื อได้ รับประสบการณ์ มาก่ อน
ในระยะเวลาทีท่ งิ้ ช่ วงห่ างกันออกไประยะหนึ่ง