สมาธิสั้น ADHD สมาธิสั้น ADHD - สถาบันวิจัยและพัฒนาการศึกษาพิเศษ

Download Report

Transcript สมาธิสั้น ADHD สมาธิสั้น ADHD - สถาบันวิจัยและพัฒนาการศึกษาพิเศษ

การจัดการศึกษา
สาหรับบุคคลที่มีความบกพร่องการเรียนรู ้
รองศาสตราจารย์ ดร.ดารณี ศักดิ์ศิริผล
ผูอ้ านวยการสถาบันวิจยั และพัฒนาการศึกษาพิเศษ
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
rise.swu.ac.th
หลายคา
เด็กทีม่ ปี ัญหาในการเรียนรู้
เด็กทีม่ ปี ัญหาทางการเรียนรู้
เด็กทีม่ ีความบกพร่ องทางการเรียนรู้
Learning Disabilities (LD)
Learning Difficulty
Learning Disorders
Specific Learning Disabilities
เด็กที่มีปัญหาทางการเรียนรู ้
เด็กที่มีความบกพร่องหรือผิดปกติเกีย่ วกับกระบวนการพื้นฐาน
ทางจิตวิทยา ที่แสดงให้เห็นถึงความบกพร่องทางด้านการฟั ง การคิด
การพูด การอ่าน การเขียน การสะกดคา และการคิดคานวณในการ
เรียนคณิตศาสตร์
LEARNING DISABILITIES
Reading
Disability
(Dyslexia)
Written Expression
Disorder
(Dysgraphia)
Mathematics
Disorder
(Dyscalculia)
Mathematical
Difficulties
Reading
Difficulties
Writing
Difficulties
Handwriting
Difficulties
Spelling
Difficulties
Nonverbal
Learning
Disability
Visual
Spatial
Social
Difficulties
Skill
Receptive
and
Expressive
language
Areas
Associated
with
Social Skills
Learning
Auditory/
Phonological
Processing
Disabilities
Study and
Organizational
Skills
Learning
Disabilities
Visual
Processing
Visual Motor
Processing
Metacognition
Memory
Attention
การแสดงออก
การรับรู้
ภาษา
คณิตศาสตร์
การเคลือ่ นไหว
กระบวนการเรียนรู้ ของมนุษย์

ทัง้ นี้ไม่ได้เกิดจาก
ความบกพร่องทางสติปัญญา
ความบกพร่องทางประสาทสัมผัส
(การได้ยนิ การเห็น การเคลือ่ นไหว)
ปั ญหาทางพฤติกรรม
ความแตกต่างทางวัฒนธรรม
วิช
ๆ
าอนื่
ห้เห
ตุผ
ล
คณ
ติ ศ
าสต
ร์
การ
ใ
น
การ
เขีย
การ
พูด
การ
อ่าน
การ
ฟัง
เปอร์เซ็นต์ไทล์
100
75
MR
50
SL
25
LD
0
สาเหตุของปั ญหาทางการเรียนรู ้
จาแนกเป็ นประเภทใหญ่ๆได้ 3 ประเภทคือ
1. การได้รบั บาดเจ็บทางสมอง
ทาให้ระบบประสาทส่วนกลางทางานได้ไม่เต็มที่
2. ปั จจัยทางพันธุกรรม
3. ปั จจัยสิง่ แวดล้อม
สภาพมลพิษ
สภาพแวดล้อมภายในครอบครัว
ลักษณะของเด็กที่มีปัญหาทางการเรียนรู ้
ด้านการอ่าน
อ่านไม่ออก
อ่านตกหล่น
อ่านเรียงลาดับคาผิด
อ่านสับสนระหว่างอักษรหรือคาที่คล้ายคลึงกัน
อ่านเอาเรือ่ งไม่ได้
ฯลฯ
ด้านการเขียน
การประสานงานระหว่างกล้ามเนื้อมือกับสายตาไม่ดี
บกพร่องของการจาสิง่ ที่มองเห็น
เขียนอักษรผิดทิศทาง
เว้นระยะไม่ถูกต้อง
ลายมืออ่านยาก
ฯลฯ
ด้านคณิตศาสตร์
จาแนกตัวเลขบางตัวไม่ได้ เช่น 6 - 9 , 17-71
เขียนตัวเลขจากหลังมาหน้า ขวามาซ้าย
มีปัญหาในการลอกรูปทรงและโจทย์ปัญหา
ไม่เข้าใจเกีย่ วกับความคิดรวบยอด
ฯลฯ
เด็ก LD ส่วนใหญ่พบในระดับชัน้ ประถมศึกษา ~ 75 %
 เป็ นชายมากกว่าหญิง 3 :1
 ระดับสติปัญญาปกติหรือสูงกว่าปกติ
 ปั ญหาทางการอ่านการเขียนจะมีมากกว่าคณิตศาสตร์
 รูปร่างหน้าตาเหมือนเด็กปกติ
 เกิดได้กบั ทุกชาติทุกภาษา
 ความสามารถ.....จะตา่ กว่ าประมาณสองระดับชัน้

การคัดแยกเด็กที่มีปัญหาทางการเรียนรู ้
1. การคัดแยกอย่างไม่เป็ นทางการ
ด้ านการเรียน
วิธีสงั เกตพฤติกรรม
ด้ านคณิตศาสตร์
ด้ านพฤติกรรม
2. การคัดแยกอย่างเป็ นทางการ
แบบทดสอบ
แบบคัดแยกเด็กเล็ก / อนุบาล
ศ. ศรียา นิยมธรรม
ได้พฒ
ั นาแบบคัดแยกเด็กที่มีปัญหา
ทางการเรียนรู ้
โดยปรับปรุงจากเครือ่ งมือของ McCarthy Screening Test
ใช้กบั เด็กที่มีอายุระหว่าง 4 – 6. 5 ปี
ใช้ทดสอบความสามารถของเด็กใน 6 ด้าน
ผลการคัดแยก :
เสี่ ยง
ไม่ เสี่ ยง
แบบคัดแยกเด็กระดับเด็กเล็ก / อนุบาล
รศ. ดร. ดารณี ศักดิศ์ ริ ผิ ล
ใช้สาหรับเด็กอายุ 5 – 6 ปี
ใช้ทดสอบความสามารถของเด็กใน 6 ด้าน
ทิศทาง
การจาจากการฟัง การจาจากการเห็น
การเขียน การจัดหมวดหมู่ การเคลือ่ นไหว
แบบคัดแยกเด็กระดับประถมศึกษา
ศาสตราจารย์ ดร. ผดุง อารยะวิญญู
รศ. ดร. ดารณี อุทยั รัตนกิจ และคณะ
กระทรวงศึกษาธิการ
ขั้นตอน
การคัดแยก
1. ซักประวัติ
2. คัดแยกโดยใช้ แบบคัดแยก
3. ประเมินเด็กเป็ นรายบุคคล
- การฟัง การพูด
- การอ่ าน การเขียน
- คณิตศาสตร์
- สติปัญญา
- อืน่ ๆ
4. ตัดสิ นใจจากข้ อมูลที่ได้ รับ
แนวโน้มการคัดแยกเด็ก
วิธี RtI
Responsiveness to Intervention
Tier 3
Tier 2
Tier 1
เพราะอะไรต้องช่วยเหลือ
ปั ญหาการอ่าน การเขียน
ขั้นที่ 1 อ่ านไม่ ออก เขียนไม่ ได้
ขั้นที่ 2 อ่ านไม่ คล่ อง เขียนไม่ คล่ อง
ขั้นที่ 3 อ่ านแล้ วไม่ เข้ าใจ จับใจความไม่ ได้
เขียนเพือ่ ตอบคาถามไม่ ได้
ขั้นที่ 4 อ่ านแล้ วไม่ มคี วามซาบซึ้ง
นาไปใช้ ในชีวติ ประจาวันไม่ ได้ เขียนเพือ่ สื่ อสารไม่ ได้
หลักการใช้ประสาทสัมผัสหลายด้าน
การรับรู้ สิ่งเร้ าต่ างๆ เข้ าสู่ กระบวนการแปลผลข้ อมูล และ
เก็บเป็ นความจา
วิธี VAKT เป็ นการใช้ ประสาทสั มผัสหลายด้ าน ได้ แก่
การเห็น (Visual) การได้ ยนิ (Auditory) การเคลือ่ นไหว
ร่ างกาย (Kinesthetic) และการสั มผัสภายนอก (Tactile)
กิจกรรม
การเล่าเรือ่ ง
เพลง
เกม
บทกลอน
P - LIPS
การเขียน
การใช้สี
การใช้สญั ลักษณ์
วิธีการสอน
เลือกคาที่อ่านไม่ได้/ไม่คล่องออกมาฝึ กอ่านก่อน
Highlight ด้วยสีต่างๆบนคาที่อ่านไม่ได้ /ไม่คล่อง
อ่านด้วยกันกับครู
บ้ านของกระต่ ายป่ าอยู่ในโพรงดินกลางสวนมะพร้ าว
แม่ กระต่ ายมีลูกสองตัว ตัวหนึ่งสี ดาเหมือนสี ท้องฟ้ า
ยามคา่ คืน ตัวหนึ่งสี ขาวเหมือนปุยฝ้ าย แม่ กระต่ ายรัก
ลูกกระต่ ายทั้งสองมาก และสอนให้ ลูกๆ ร้ องเพลง
ขัน้ ที่ 3 อ่านแล้วไม่เข้าใจ จับใจความไม่ได้ เขียนเพือ่ ตอบคาถามไม่ได้
เพิม่ พูนคาศัพท์
(ค้ นหาจากพจนานุกรม ถามครู ถามเพือ่ น)
ใช้ วธิ ีก้างปลา
ใช้ แผนผัง
No
single reading method will be
effective for all students with
learning disabilities.
Most individuals with learning
disabilities will benefit from the
application of a variety of methods.
กิจกรรมอืน่ ๆ
1. เขียนในอากาศ
2. เขียนในทราย
3. เขียนบนฝ่ ามือ
4. เขียนบนแผ่นหลังของกันและกัน
5. เขียนโดยใช้ pointer
6. เอานิ้วลากทับตัวอักษร สระ หรือวรรณยุกต์ต่างๆ
เด็กที่มีความบกพร่องทางการเรียนรูด้ า้ นคณิตศาสตร์
ปัญหา
จาตัวเลขไม่ได้
เขียนตัวเลขไม่ถกู วิธี
ไม่เข้าใจค่าของจานวน
ไม่เข้าใจขัน้ ตอนในการคานวณ
สับสนเกี่ยวกับสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์
ไม่เข้าใจโจทย์ปัญหาทางคณิตศาสตร์ ฯลฯ
ชุดบวกลบคูณหารผ่ านหลักเม็ดนับ
หลักเม็ดนับ
แสดงจานวน
CD-ROM คณิตศาสตร์ กบ
ั หลักเม็ดนับ